The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปณาลี คำมณี, 2019-09-06 01:10:43

แบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ชั้น ม.1

เรื่อง-จุดและเส้น

คำนำ

แบบฝกึ ทกั ษะการวาดภาพระบายสี ชดุ ทัศนธาตุในงานทัศนศลิ ป์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เรื่อง
จดุ และเส้นนี้ จัดทาข้นึ ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา
ทัศนศิลป์ โดยจัดทาให้สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และตาม
แนวทาง การจดั การเรยี นร้ทู เ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ในพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

แบบฝกึ ทกั ษะการวาดภาพระบายสี ชดุ ทัศนธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เรื่อง
จดุ และเส้น น้ี นอกจากจะใช้ประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในห้องเรียนแลว้ ยงั ใชเ้ ป็นแบบฝกึ
เสรมิ สาหรับนักเรยี นทีเ่ รยี นศิลปะในระดบั ดี และใช้สาหรับสอนซ่อมเสริมนักเรียนทีเ่ รียนออ่ นไดอ้ ีกดว้ ย
เพราะแบบฝกึ นม้ี ลี ักษณะเป็นแบบฝกึ ที่สามารถเรยี นได้ด้วยตนเอง แบบฝึก แต่ละชดุ จะกาหนดเนอ้ื หา
จดุ ประสงค์ และสรปุ แนวคิดของแต่ละเน้ือหา มแี นวการฝึกแสดงใหผ้ ูเ้ รียนได้ศกึ ษาก่อน เม่ือเขา้ ใจดีแลว้
จงึ ลงมือทาแบบฝึกแต่ละสว่ นทก่ี าหนดไว้

แบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตุในงานทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เร่ือง
จุดและเส้น ประกอบด้วย

๑. จดุ ในธรรมชาตแิ ละการสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยจุด
๒. เสน้ และความหมายของเสน้
๓. หนา้ ทขี่ องเสน้
๔. ลักษณะของเส้น
๕. ทิศทางของเสน้ กบั ความรู้สึก

หวงั วา่ แบบฝกึ ทักษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทัศนธาตุในงานทศั นศลิ ป์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑
เรือ่ ง จุดและเสน้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ครแู ละนักเรยี น ตลอดถงึ บคุ คลผู้สนใจทไ่ี ด้นาไปประกอบการเรียน
การสอนและฝกึ ฝนเพ่ิมเติม อันจะมีผลโดยตรงต่อการพฒั นาการเรยี นการสอนวชิ าศลิ ปะให้มีประสทิ ธภิ าพ
และบรรลุผลสาเรจ็ มากยง่ิ ขนึ้ ขอขอบพระคุณผทู้ ีม่ สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง ทกุ ทา่ นท่ีทาให้แบบฝึกทักษะการวาด
ภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เรอ่ื ง จุดและเส้น นี้ บรรลุผลสาเรจ็ ดงั
ปรากฏเปน็ อย่างสูง

ปณาลี คามณี

สำรบัญ หนา้

คานา ๑
คาแนะนาสาหรับครผู สู้ อน ๒
คาแนะนาสาหรบั ผ้เู รียน ๓
แบบบันทึกคะแนนก่อนเรยี น หลงั เรียน ๔
แบบทดสอบก่อนเรยี น ๖
แนวคิด จุดประสงค์ เนอ้ื หา เร่ืองจดุ และเสน้ ๗
แนวทางการเรยี นรู้ เรือ่ ง จุดและเสน้ ๙
บัตรความรู้ศิลปะ เรื่องท่ี ๑ จดุ ในธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ๑๒
บัตรกจิ กรรมท่ี ๑ สรา้ งสรรค์ภาพจากจดุ ๑๓
บัตรความรศู้ ิลปะ เรอ่ื งท่ี ๒ เสน้ และความหมายของเส้น ๑๖
บตั รกจิ กรรมท่ี ๒ เส้นสวยดว้ ยมอื เรา ๑๗
บัตรความรศู้ ิลปะ เร่อื งท่ี ๓ หนา้ ทข่ี องเสน้ ๑๙
บัตรความรศู้ ลิ ปะ เรื่องที่ ๔ เสน้ กับความร้สู ึก ๒๒
บตั รกิจกรรมที่ ๓ เสน้ บอกความรสู้ กึ ๒๓
บตั รกิจกรรมท่ี ๔ จุดและเสน้ เป็นรปู ภาพ ๒๔
แบบทดสอบหลงั เรยี น ๒๖
เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน ๒๗
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก ๓๑
๓๒
แบบประเมนิ ทักษะทางทัศนศลิ ป์ ๓๓
เกณฑ์การให้คะแนน ๓๕
ตวั อย่างผลงานนกั เรยี นหลงั การพฒั นา
ตวั อย่างภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

คำแนะนำสำหรบั ครูผ้สู อน

แบบฝกึ ทกั ษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทัศนธาตุในงานทัศนศลิ ป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑
เร่อื ง จดุ และเสน้ น้ี เปน็ ชดุ แบบฝึกที่เน้นใหผ้ ้เู รียนเรียนรดู้ ้วยตนเอง โดยการช่วยเหลอื แนะนาจากครูผ้สู อน
และกระบวนการกลุ่ม พร้อมกับการปฏิบตั ิจริง ผู้เรียนจะสามารถสรา้ งภาพความคดิ เก่ียวกบั ศิลปะใหเ้ ปน็
รูปธรรมซ่ึงจะชว่ ยให้เกิดการเรียนรูด้ ้วยตนเองอยา่ งรวดเร็ว ได้ทากจิ กรรมท่ที ้าทายและประสบความสาเรจ็
ดงั นั้นจงึ ควรดาเนินการตามคาแนะนา ดงั น้ี

๑. กอ่ นศึกษาแบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี นี้ ควรให้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและ
บนั ทึกผลลงในแบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ในชอ่ งผลการประเมินคะแนนกอ่ นเรยี น เพอ่ื ใช้เปน็
ขอ้ มูลตรวจสอบความกา้ วหน้าและความสาเรจ็ ในการเรียนรขู้ องผู้เรียน และใช้ในการ
เปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น

๒. ใหผ้ ูเ้ รียนเตรียมอุปกรณต์ ามคาแนะนาของครแู ละอา่ นบัตรความร้ศู ลิ ปะ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจใน
ความหมายและข้อความท่ีมีในบัตรความรศู้ ลิ ปะ

๓. การศึกษาแบบฝึกทกั ษะการวาดภาพระบายสี ให้ดาเนนิ การตามลาดับในแต่ละสว่ นท่กี าหนด
ไว้ โดยศกึ ษาเนื้อหา หรอื ตัวอย่างที่กาหนดในบัตรความรู้ศลิ ปะจนเข้าใจดีแล้วจึงลงมือทา
บตั รกิจกรรม ในขณะท่ีผเู้ รยี นปฏบิ ัติงานตามบัตรกิจกรรม ครูผูส้ อนควรดแู ลอย่างใกล้ชิด
และให้คาปรึกษาเมอ่ื ผ้เู รียนไมเ่ ขา้ ใจ

๔. ตัวอยา่ งงานศิลปะในบัตรความร้ศู ลิ ปะน้ี แสดงไว้สาหรบั เป็นแนวทางความเข้าใจเท่านน้ั
ไม่ควรลอกเลยี นแบบและควรให้ผู้เรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานของตนเอง

๕. การศกึ ษาแบบฝึกทกั ษะการวาดภาพระบายสีน้ีจะประสบผลสาเรจ็ หากผู้เรยี นปฏิบตั ติ าม
คณุ ธรรมในคุณสมบัตทิ ่ีตอ้ งการเนน้ ตามทเ่ี สนอแนะในแบบฝึกทกั ษะเลม่ นี้

๖. เมื่อทาบัตรกจิ กรรมครบทุกส่วนแล้ว ให้ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นและให้ครูผู้สอนตรวจ
แลว้ นาคะแนนทีไ่ ด้ไปบนั ทึกลงในแบบบนั ทึกผลการประเมินในชอ่ งผลการประเมินคะแนนหลัง
เรียน

คำแนะนำสำหรับผู้เรียน

แบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ชดุ ทัศนธาตใุ นงานทัศนศิลป์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑
เรือ่ ง จุดและเส้นน้ี เปน็ ชดุ แบบฝกึ ที่เนน้ ให้เรยี นรู้ด้วยตนเอง ผู้เรยี นควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

๑. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและบนั ทกึ ผลลงในแบบบนั ทึกผลการประเมนิ ในชอ่ งผลการประเมนิ
คะแนนก่อนเรยี น

๒. เตรียมอปุ กรณต์ ามคาแนะนาของครแู ละอา่ นบตั รความรูศ้ ิลปะ
๓. ศกึ ษาเน้ือหา และตัวอย่างที่กาหนดใหจ้ นเข้าใจดีแลว้ จงึ ลงมือทาตามบตั รกิจกรรมเมื่อพบ

ปัญหาให้ปรึกษาครูผูส้ อนทันที
๔. ไมค่ วรลอกเลียนแบบตวั อย่างงานในบัตรความรู้และควรสร้างสรรคผ์ ลงานของตนเอง
๕. ควรปฏิบัตติ ามคณุ ธรรมตามทเี่ สนอแนะในแบบฝึกทกั ษะเล่มน้ี
๖. เมอ่ื ทาบตั รกิจกรรมครบแลว้ ให้ทาแบบทดสอบหลงั เรียนและให้ครผู ู้สอนตรวจ แลว้ นา

คะแนนท่ีได้ไปบนั ทึกลงในแบบบนั ทึกผลการประเมนิ ในช่องผลการประเมนิ คะแนนหลังเรยี น

แบบบนั ทึกผลกำรเรียนรู้ศิลปะ ก่อนเรยี น หลังเรียน
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๑ เรือ่ ง จุดและเสน้

คาแนะนา ใหน้ าคะแนนจากการทดสอบกรอกลงในชอ่ งคะแนน

ผลกำรประเมิน หมำยเหตุ
คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนหลังเรียน คะแนนความก้าวหน้า

ให้นกั เรียนนำคะแนนก่อนเรียนและหลังเรยี น
เติมลงในช่องทีก่ ำหนดให้นะคะ

คะแนนควำมกำ้ วหน้ำคอื ผลจำกคะแนนหลงั เรยี น
ลบดว้ ยคะแนนก่อนเรยี นคะ่

แบบทดสอบก่อนเรยี น

ให้นกั เรยี นเลอื กคำตอบทต่ี อ้ งกำรลงในกระดำษคำตอบ

๑. จุดใดไม่ใช่จดุ ท่ีปรากฏอยู่ในธรรมชาติ ค. ๓ คือ เสน้ ตรง เส้นโค้ง เสน้ หยัก
ก. จุดบนตวั สัตว์ ง. ๔ คือ เสน้ ตรง เสน้ โคง้ เสน้ หยัก เส้นประ
ข. จุดในภาพวาด ๗. ถ้าต้องการวาดภาพให้เกิดความรู้สึกน่ากลัว
ค. จดุ บนทอ้ งฟ้ายามค่าคืน ควรใช้เส้นในลกั ษณะใด
ง. จดุ บนดอกไม้ ก. เสน้ ตรงแนวนอน
ข. เส้นโค้งขน้ึ
๒. ข้อใดคอื ความหมายของจุดในทางศิลปะ ค. เส้นหยกั
ก. ลักษณะความเข้มของจุดแสงท่ีปรากฏแก่ ง. เสน้ ตรงแนวตง้ั
สายตา ๘. เสน้ ในขอ้ ใดท่ีใหค้ วามร้สู ึกของการเจรญิ เตบิ โต
ข. รอ่ งร่อยทีป่ รากฏบนส่วนตา่ งๆของพชื ก. เสน้ โค้งลง
ค. รอยแต้มที่มลี ักษณะกลมๆท่ปี รากฏบน ข. เสน้ โคง้ ข้ึน
พ้นื ผวิ ค. เส้นหยัก
ง. รูปทรงเลก็ ๆที่มีความกว้างและความยาว ง. เสน้ ตรงแนวนอน
๙. เสน้ ท่ใี หค้ วามร้สู ึกม่งั คง แขง็ แรง คือเสน้ ใด
๓. ขอ้ ใดไม่ใช่ลักษณะสาคัญของจุด ก. เส้นหยกั
ก. สามารถเคล่ือนไหวไปในท่ีว่างได้ ข. เส้นเฉียง
ข. เปน็ ทัศนธาตุเร่ิมแรกทท่ี าใหเ้ กิดธาตุอนื่ ๆ ค. เสน้ ตรงแนวตั้ง
ค. จุดสามารถสร้างเปน็ กลุม่ รปู ร่างได้ ง. เส้นโค้งขึ้น
ง. มีความกว้าง ความยาว ความหนา ๑๐.ข้อใดตอ่ ไปนเี้ ป็นความรสู้ ึกท่เี กดิ การการใช้เส้น
โคง้ อสิ ระ
๔. ข้อใดคือวามหมายของเสน้ ก. ความรูส้ ึกอ่อนโยน เคลื่อนไหวเปน็ จงั หวะ
ก. จุดทตี่ อ่ กนั เปน็ สายไปในแนวเดยี วกัน
ข. จุดทกี่ ระจายตวั กนั อยา่ งต่อเน่อื ง
ค. ทศิ ทางของการเคล่ือนทข่ี องสี ข. ความรูส้ ึกเคล่อื นไหวอยา่ งแขง็ แรง เชือ่ ม่นั
ง. ทศิ ทางของแสงท่ีไปในแนวเดยี วกนั ค. ความรูส้ กึ เคล่อื นไหวอย่างต่อเน่อื งเหมือน

๕. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หนา้ ท่ขี องเส้น คล่ืนในทะเล
ก. แบง่ ระนาบออกเปน็ สว่ นๆ ง. ความรสู้ ึกเคลื่อนไหวไม่มีทศิ ทางวนุ่ วายไม่
ข. แสดงนา้ หนกั ความอ่อนเข้มของสี
ค. แสดงอารมณ์ความรู้สึก เปน็ ระเบียบ
ง. แสดงการเคล่อื นไหว

๖. เส้นสามารถแบ่งเป็นก่ีลักษณะ และลักษณะ
ใดบ้าง

ก. ๑ คอื เส้นที่เกิดจากการเคลอ่ื นท่ีของจุด
ข. ๒ คือ เส้นตรงและเส้นโค้ง

แบบฝกึ ทกั ษะกำรวำดภำพระบำยสี
ชุด ทศั นธำตใุ นงำนทศั นศิลป์

ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี ๑ เรื่อง จุดและเสน้

๑. แนวคิด
จดุ หมายถงึ รอยหรือแต้มท่มี ลี ักษณะกลมๆ ปรากฏทีพ่ ืน้ ผิว ไม่มขี นาด ความกว้าง ความยาว

ความหนา เป็นทัศนธาตหุ นว่ ยทเ่ี ลก็ ท่สี ุดและไมส่ ามารถแบ่งแยกไดอ้ ีกและเปน็ ทศั นธาตเุ รมิ่ แรกท่ีทาใหเ้ กิด
ทศั นธาตอุ น่ื ๆขึน้

เส้น หมายถึง รอยหรือรอ่ งรอยท่ปี รากฏบนระนาบ ทเี่ กิดข้ึนจากการเคลื่อนทข่ี องจดุ จานวน
มากไปในทิศทางที่ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานกาหนด และประกอบกนั ขน้ึ เปน็ รปู รา่ ง รปู ทรงหรือแสดงขอบเขต
ระนาบตา่ งๆในทางทัศนศลิ ป์

๒. จดุ ประสงค์
๑. บอกความหมายของจดุ และเส้นได้
๒. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งจดุ และเส้น
๓. ช่ืนชมผลงานการใชส้ ใี นภาพวาดของตนเองและผู้อนื่

๓. เนอ้ื หำ
๑. จุดในธรรมชาติและการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยจุด
๒. เส้นและความหมายของเส้น
๓. หนา้ ท่ขี องเส้น
๔. ลกั ษณะของเส้น
๕. ทิศทางของเสน้ กบั ความรู้สกึ

๔. คุณธรรมที่ต้องกำรเนน้
๑. ความมน่ั ใจในตนเอง
๒. ความขยันหมน่ั เพยี ร
๓. ความใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น
๔. ความรบั ผิดชอบ
๕. ความละเอยี ดและประณีต
๖. ความรักธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

แนวทำงกำรเรยี นรูเ้ ร่ือง จุดและเสน้

ศกึ ษำแนวคิด ตัวชว้ี ัด ศึกษำ เรื่องจดุ และเสน้
เนือ้ หำ ตำ่ งๆ

ศกึ ษำ ค้นคว้ำ วธิ ีกำรเรยี นรู้ ฝึกทกั ษะกำรใช้
เร่ืองจดุ และ เสน้ จดุ และเส้น

ศกึ ษำ ค้นคว้ำ ประเมนิ ผลงำนของ
ฝกึ ทกั ษะเพ่ิมเตมิ ตนเอง ปรับปรงุ เพ่อื
ปรึกษำครผู ูส้ อน
พฒั นำตนเอง

นำควำมรู้เรอ่ื งจุดและเส้น
ไปใชใ้ นกำรวำดภำพระบำยสีใน

ชวี ติ ประจำวนั

ทัศนธำตุ
ทัศนะ หมำยถงึ กำรเห็น สง่ิ ทม่ี องเหน็
ธำตุ หมำยถึง สิง่ ทถ่ี อื วำ่ เปน็ สว่ นสำคัญทีร่ วมกัน เปน็ รปู ร่ำงของสิง่ ทัง้ หลำย
ทศั นธำตุ หมำยถึง ส่วนสำคัญท่รี วมกนั เป็นรปู ร่ำงของส่ิงทั้งหลำยตำมทีต่ ำ

มองเห็น
ทศั นธำตุ จึงสำมำรถหมำยควำมไดว้ ำ่ ธำตแุ หง่ กำรมองเหน็ หรือส่วนประกอบต่ำงๆ

ทปี่ ระกอบกนั ในงำนศลิ ปะหรืองำนออกแบบ ได้แก่ จุด เสน้ สี แสงเงำ รปู รำ่ ง รูปทรง
พ้ืนผวิ เป็นตน้ ซ่ึงทัศนธำตุเหล่ำนี้ จะมีอยู่แล้วในธรรมชำติ เช่นจำกพืชและสตั วต์ ำ่ งๆ
เรำสำมำรถนำทัศนธำตุเหล่ำนั้นมำสร้ำงสรรค์เป็นงำนศลิ ปะหรืองำนออกแบบได้หลำกหลำย
รปู แบบ ซ่งึ กลวิธีในกำรนำมำใช้กจ็ ะให้ควำมรสู้ ึกทแ่ี ตกต่ำงกนั ออกไป ทศั นธำตจุ งึ เปน็
ควำมร้พู ้นื ฐำน ทผี่ สู้ รำ้ งสรรคง์ ำนศลิ ปะและงำนออกแบบควรศึกษำใหเ้ ข้ำใจอยำ่ งถอ่ งแท้
ซง่ึ มรี ำยละเอียดทเี่ รำจะศึกษำต่อไปน้คี ะ่

ก่อนอน่ื เรำมำศึกษำเรอ่ื งจุดก่อนนะคะ
เพรำะจดุ เป็นทศั นธำตุทส่ี ำคญั และเป็นองคป์ ระกอบศิลปเ์ บือ้ งต้น

ที่สำมำรถสรำ้ งเสน้ รูปร่ำง รปู ทรง ลวดลำย พ้นื ผิว
นำ้ หนกั อ่อนเข้ม และกำรเคล่อื นไหวในกำรวำดภำพคะ่

บัตรควำมรศู้ ลิ ปะ
เร่อื งที่ ๑ จุดในธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

จุด หมายถึง รอยหรือแต้มทมี่ ีลักษณะกลมๆ ปรากฏที่พืน้ ผวิ ไม่มขี นาด ความกว้าง ความยาว
ความหนา เปน็ ทัศนธาตุหนว่ ยทเี่ ลก็ ท่ีสดุ และไม่สามารถแบ่งแยกไดอ้ ีกและเป็นทศั นธาตุเรมิ่ แรกท่ีทาใหเ้ กิด
ทศั นธาตุอื่นๆขึ้น

จุด เป็นองคป์ ระกอบศลิ ป์เบ้ืองต้นที่สามารถสรา้ งเส้น รูปร่าง รูปทรง ลวดลาย พ้นื ผวิ น้าหนักอ่อน
เข้ม การเคล่อื นไหวในการออกแบบ เช่น การจดั วางเรียงจุดขนาดและสีที่แตกต่างกนั ให้เกิดเปน็ ภาทีม่ ีมิติ
ระยะใกลไ้ กล ความวูบวาบตาและจังหวะทีส่ วยงาม จดุ เกิดข้นึ ได้ 2 ลักษณะ ดังนี้

๑. จดุ ท่เี กิดจากธรรมชาติ จุดปรากฏอยตู่ ามธรรมชาตมิ ากมายในส่งิ ตา่ งๆในธรรมชาติ เช่น จุด
ต่างๆของพืชและสัตว์ จดุ ทมี่ องเห็นบนวัตถบุ างชนดิ เช่น ดนิ หนิ แร่ หรือ จุดทม่ี องเห็นตามหม่ดู าวบน
ทอ้ งฟ้ายามกลางคืน เปน็ ตน้

จุดท่เี กิดจำกหมู่ดำวบนทอ้ งฟ้ำยำมกลำงคนื จุดจำกลำยของเสือดำว

จุดจำกลวดลำยของดอกไม้
ทมี่ า : www.picpost.postjung.com , 2556.

จุดของหนิ จุดบนตัวปลำ

ทมี่ า : www.ausaqua.net , 2556.

๒. จุดทีเ่ กิดจากฝีมอื มนุษย์ โดยเกิดข้ึนจากการที่มนษุ ยใ์ ชเ้ ครอื่ งมือต่างๆ เชน่ ดินสอ ปากกา
หรือส่งิ แหลมคมตา่ งๆ กด จม้ิ ใหเ้ กิดร่องรอยกลมๆลงบนพื้นผิวตา่ งๆ เช่น กระดาษ ผ้าใบ แผน่ เหล็ก
แผ่นไม้ เป็นต้น

จดุ ทเี่ กดิ จำกกำรจมิ้ ดนิ และทำเปน็ เคร่ืองปั้นดินเผำ
ท่มี า : www.thaitambon.com , 2556.

จุดในผลงำนทำงศลิ ปะ
ทม่ี า : www.huahinartistvillage.wordpress.com , 2556.

การใช้จดุ มาสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรม สามารถทาได้โดยวิธีการใช้เครอ่ื งมือ เช่น ดนิ สอ ปากกา
จ้ิม ให้เกิดร่องรอยบนพ้ืนผวิ ต่างๆ เชน่ กระดาษ ซ่งึ วธิ ีการจ้ิมจะเป็นตวั กาหนดน้าหนกั ความเขม้ ความอ่อน
ของจดุ ดว้ ย เช่น เมอ่ื ตอ้ งการให้มนี ้าหนักเขม้ ก็กดจุดให้มีความแรงข้ึน ใชเ้ ครื่องมือท่ีทาใหเ้ กิดเปน็ จุดขนาด
ใหญ่ขึ้นหรอื จุดให้ชิดๆกันมากๆ ถ้าตอ้ งการใหน้ า้ หนักอ่อนก็กดจดุ ใหเ้ บาลง ใชเ้ ครื่องมือท่ีทาให้ขนาดของ
จดุ เล็กลงหรอื ให้จดุ แตล่ ะจดุ อย่หู ่างกัน ซง่ึ การใชจ้ ดุ ให้เกดิ ผลสาเรจ็ น้ัน ต้องใช้ความเข้าใจ ความชานาญ
และการฝกึ ฝนจงึ จะเกิดเปน็ ผลงานทด่ี ีได้

กำรสร้ำงน้ำหนกั เขม้ อ่อนจำกกำรใช้จุด

กำรใช้จุดมำสร้ำงเป็นรปู ทรงตำ่ งๆ

บตั รกจิ กรรมท่ี ๑ สรำ้ งสรรคภ์ ำพจำกจดุ

คำช้ีแจง ให้นักเรยี นนำดนิ สอ หรอื ปำกกำ หรอื ปำกกำสี จดุ เป็นภำพ เช่น

ดอกไม้ สงิ่ ของ หรอื สตั ว์ และแสดงน้ำหนักออ่ น เขม้ จำกกำรใช้จุด โดยทำลงในช่องว่ำงหรอื
กระดำษท่นี กั เรียนเตรยี มมำ (สรำ้ งสรรคผ์ ลงำนเอง ห้ำมลอกจำกแบบ)

ตัวอย่ำง

บัตรควำมรศู้ ลิ ปะ เร่ืองท่ี ๒ เส้นและควำมหมำยของเส้น

ชื่อ…………..………………………………………………………….ช้นั …………………เลขท่ี…………………..

บตั รควำมรูศ้ ิลปะ เรอ่ื งท่ี ๒ เสน้ และควำมหมำยของเส้น

เมอื่ เราลากจดุ สองจุดใหเ้ ชือ่ มกัน เส้นทางการเคลอ่ื นทรี่ ะหวา่ งจดุ ทเี่ คลอื่ นไปคือเสน้ ซง่ึ เสน้ เป็น
หนึ่งในองคป์ ระกอบสาคญั ทางศิลปะและการออกแบบ เน่ืองจากเสน้ เปน็ พนื้ ฐานของโครงสร้างของทกุ สิ่ง
ในจกั รวาล เสน้ แสดงความรู้สึกได้ด้วยตวั ของมันเอง และดว้ ยการสร้างเป็นรูปทรงต่างๆขึ้น
ตามประวัติศาสตร์บง่ วา่ งานทศั นศิลป์ชน้ิ แรกๆของมนุษย์น้นั เรมิ่ จากเสน้ ดงั ท่เี ราจะเห็นไดจ้ ากภาพเขยี น
ตามผนังถา้ ของคนสมัยด้งั เดิม

ควำมหมำยของเส้น
มีนกั ศลิ ปะและนักวิชาการหลายทา่ นไดใ้ ห้คาจากัดความและความหมายของเสน้ ดังน้ี

-เสน้ หมายถึง สง่ิ ท่ีประกอบขึ้นเปน็ รปู รา่ ง รปู ทรงหรอื แสดงขอบเขตในทางทัศนศลิ ป์
-เส้น คอื เครอ่ื งหมายท่ีทาใหป้ รากฏบนระนาบผวิ อย่างตอ่ เน่ืองกนั ด้วยจุดท่ีเคลอื่ นท่ี หรอื คือรอย
ทางท่ขี ีดดว้ ยเครือ่ งมือทีม่ ีปลายแหลม เช่น ปากกา ดนิ สอ สเี ทยี น กิ่งไม้
โดยสรุปแล้ว เสน้ หมายถงึ รอยหรือร่องรอยที่ปรากฏบนระนาบ ท่เี กิดขึน้ จากการเคล่ือนทข่ี องจดุ
จานวนมากไปในทศิ ทางท่ีผูส้ ร้างสรรค์ผลงานกาหนด และประกอบกันข้ึนเป็นรูปร่าง รูปทรงหรอื แสดง
ขอบเขตระนาบต่างๆในทางทัศนศลิ ป์
ลกั ษณะของเส้น

เส้นมมี ิตเิ พยี งมิตเิ ดียว คือ ความยาว มลี ักษณะต่างๆ เช่น ตรง โค้ง เป็นคลน่ื ประ กน้ หอย เสน้
ไมม่ ีความกว้าง มีแต่เส้นหนา เสน้ บาง เส้นใหญ่ เส้นเลก็ ความหนาของเส้นจะต้องพจิ ารณาเปรยี บเทียบกบั
ความยาว ถา้ เส้นสั้นแตม่ ีความหนามากจะหมดคณุ ลักษณะของความเปน็ เสน้ กลายเป็นรูปร่าง
ส่ีเหลย่ี มผืนผ้า

เส้นในขนำดต่ำงๆ เมอ่ื เส้นมีควำมหนำมำก ควำมเปน็ เส้นจะหำยไป
กลุ่มของเสน้ ตรง

เสน้ ตรง แนวนอน เส้นตรงแนวต้ัง

เสน้ ซกิ แซก (เสน้ หยัก) เสน้ ประ
กลุ่มของเส้นโค้ง

เสน้ โคง้ ข้ึน เสน้ โค้งลง

เส้นโคง้ กน้ หอย เสน้ คล่ืน

เสน้ โค้งวงแคบ เสน้ โคง้ อสิ ระ

ท่มี า : www.prc.ac.th , 2556.

บตั รกจิ กรรมที่ ๒ เสน้ สวยดว้ ยมือเรำ

คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นนำเส้นต่ำงๆ เชน่ เส้นตรง เสน้ โคง้ มำสร้ำงเป็นภำพ โดย

เลอื กเสน้ เพียงชนิดเดยี ว ดังตัวอยำ่ ง (สร้ำงสรรค์ผลงำนเอง ห้ำมลอกจำกแบบ)

ตัวอยำ่ ง

ชือ่ …………..………………………………………………………….ชั้น…………………เลขที่…………………..

บัตรควำมรศู้ ิลปะ เรอ่ื งที่ ๓ หน้ำทข่ี องเสน้

เส้นเปน็ พื้นฐานท่ีสาคญั ของงานศลิ ปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรสู้ ึก
และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรปู ทรงต่าง ๆ ข้ึน โดยท่ัวไปแล้ว เส้นมหี นา้ ที่ ดงั นี้

๑. แบ่งระนาบออกเป็นสว่ นๆ

๒. สรา้ งรปู ร่างหรือรปู ทรง กาหนดขอบเขตของรปู รา่ งหรือรูปทรง

๓. ทาหนา้ ทเี่ ปน็ น้าหนกั ออ่ นแก่ของแสงเงา
๔. ให้อารมณ์ความรู้สกึ ด้วยตัวเอง

ท่ีมา : www.nonamethassasa.blogspot.tcom , 2557.

บัตรควำมรศู้ ิลปะ เรอ่ื งท่ี ๔ เสน้ กบั ควำมรู้สึก

หนา้ ทีข่ องเส้นในผลงานทัศนศลิ ป์นอกจากจะทาหนา้ ทป่ี ระกอบกนั ขน้ึ เป็นรปู รา่ ง รูปทรงหรือแสดง
ขอบเขตของระนาบต่างๆแลว้ เส้น ยังใหค้ วามหมายทบ่ี ง่ บอกถึงความรู้สึกตอ่ ผู้พบเห็น ซึ่ง อารมณ์
ความรสู้ กึ ทเี่ กดิ จากเส้น มีที่มาจากสองแหลง่ คอื

๑. ความรสู้ ึกทเ่ี กดิ จากลักษณะของเส้น
เสน้ มลี กั ษณะใหญ่ๆ ๒ ลักษณะ คือ เส้นตรงและเส้นโคง้ ซ่งึ เส้นทง้ั ๒ ลักษณะกจ็ ะแบ่งได้

เปน็ ลกั ษณะเฉพาะต่างๆ และจะสง่ ผลให้เกดิ ความรสู้ ึกทีแ่ ตกตา่ งกนั ดังนี้

ลักษณะของเสน้ ควำมรสู้ กึ ท่เี กดิ จำกเส้น

เส้นตรง ให้ความรู้สึกมนั่ คง ตรง แน่นอน เข้ม ไม่
ประนีประนอม

เสน้ โคง้ ให้ความรู้สกึ นุ่มนวล สบาย มีการ
เคลือ่ นไหว เปลี่ยนแปลง อ่อนชอ้ ย

เสน้ โค้งวงแคบ เคล่ือนไหวอย่างรนุ แรง เปล่ยี น
ทศิ ทางอยา่ งรวดเร็ว

เส้นโค้งวงกลม ใหค้ วามรสู้ ึกซ้าๆ มีทศิ ทางที่ตายตวั
ไมเ่ ปลีย่ นแปลง

เส้นโคง้ ก้นหอย ให้ความรู้สกึ เคลอื่ นไหว หมุนวน
ขยายตัวอย่างไม่มีจดุ จบ

เส้นฟนั ปลา ให้ความรูส้ กึ หักเหอยา่ งกะทนั หัน
รวดเร็ว ให้ความร้สู ึกเคลือ่ นไหวรนุ แรง อนั ตราย

๒. ควำมรู้สกึ ทีเ่ กดิ จำกทศิ ทำงของเสน้
เสน้ แต่ละเสน้ ในงานศลิ ปะมีทิศทางของตวั เสน้ เอง ซง่ึ แตล่ ะทิศทางกจ็ ะให้ความร้สู ึกแกผ่ ู้ดู

แตกต่างกนั ไป โดยสามารถอธิบายไดด้ ังนี้
เสน้ นอน ใหค้ วามรู้สกึ พักผ่อน เงยี บ สงบ ผอ่ นคลาย

เส้นต้ัง ใหค้ วามสมดลุ มั่นคง แขง็ แรง พุง่ ขนึ้ สง่า ทะเยอทะยานและร่งุ เรือง

เสน้ เฉียง ให้ความรู้สกึ เคลื่อนไหว ไม่มน่ั คง
เส้นโค้งลง ใหค้ วามรสู้ ึกเสร้า ความทุกข์ อ่อนน้อม คารวะ

เสน้ โคง้ ขึน้ ให้ความรูส้ กึ เจรญิ เติบโต

บตั รกิจกรรมท่ี ๓ เส้นบอกควำมร้สู ึก

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนนาเสน้ มาสร้างเป็นภาพและส่อื ความหมายตามลักษณะของเส้น

นน้ั ๆ พร้อมอธิบายดังตัวอย่าง (สร้ำงสรรค์ผลงำนเอง ห้ำมลอกจำกแบบ)

เส้นหยัก สอ่ื ถงึ ความอนั ตราย แหลมคม

เส้นโคง้ ให้ความรูส้ กึ เคล่ือนไหว เปน็ ต้น

ตวั อยำ่ ง

ชอ่ื …………..………………………………………………………….ชน้ั …………………เลขท่ี…………………..

บตั รกิจกรรมท่ี ๔ จุดและเส้นเป็นรูปภำพ

คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นนำจุดและเสน้ มำสร้ำงเป็นภำพในจนิ ตนำกำร ดงั ตัวอย่ำง

(สร้ำงสรรค์ผลงำนเอง ห้ำมลอกจำกแบบ)

ตวั อย่ำง

ช่ือ…………..………………………………………………………….ช้นั …………………เลขท่ี………………….

แบบทดสอบหลงั เรียน

ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทต่ี ้องการลงในกระดาษคาตอบ

๑. จุดใดไม่ใช่จดุ ท่ีปรากฏอยู่ในธรรมชาติ ค. ๒ คือ เส้นตรงและเส้นโค้ง
ก. จดุ บนตวั สตั ว์ ง. ๑ คือ เสน้ ทเ่ี กดิ จากการเคลอ่ื นท่ขี องจุด
ข. จุดบนท้องฟา้ ยามคา่ คืน ๗. ถ้าต้องการวาดภาพให้เกิดความรู้สึกน่ากลัว
ค. จดุ ในภาพวาด ควรใช้เส้นในลักษณะใด
ง. จุดบนดอกไม้ ก. เสน้ ตรงแนวนอน
ข. เส้นโค้งขนึ้
๒. ขอ้ ใดคอื ความหมายของจดุ ในทางศิลปะ ค. เสน้ ตรงแนวต้งั
ก. รอยแต้มที่มีลักษณะกลมๆที่ปรากฏบน ง. เสน้ หยกั
พื้นผิว ๘. เส้นในขอ้ ใดทใ่ี ห้ความรู้สึกของการเจริญเติบโต
ข. ร่องรอ่ ยทีป่ รากฏบนสว่ นต่างๆของพชื ก. เสน้ โค้งลง
ค. ลกั ษณะความเข้มของจุดแสงที่ปรากฏแก่ ข. เส้นโคง้ ข้นึ
สายตา ค. เสน้ หยกั
ง. รปู ทรงเลก็ ๆทมี่ คี วามกวา้ งและความยาว ง. เสน้ ตรงแนวนอน
๙. เส้นที่ใหค้ วามร้สู กึ มั่งคง แข็งแรง คือเสน้ ใด
๓. ขอ้ ใดไม่ใช่ลักษณะสาคัญของจุด ก. เส้นตรงแนวตง้ั
ก. สามารถเคลื่อนไหวไปในท่ีว่างได้ ข. เสน้ เฉียง
ข. เป็นทศั นธาตุเร่ิมแรกทท่ี าให้เกดิ ธาตอุ น่ื ๆ ค. เส้นหยกั
ค. จดุ สามารถสรา้ งเป็นกลุ่มรปู ร่างได้ ง. เส้นโค้งขนึ้
ง. มีความกว้าง ความยาว ความหนา ๑๐. ข้อใดต่อไปน้เี ป็นความรู้สึกท่เี กดิ การการใชเ้ ส้น
โคง้ อสิ ระ
๔. ขอ้ ใดคอื วามหมายของเส้น ก. ความรูส้ กึ อ่อนโยน เคลื่อนไหวเป็นจังหวะ
ก. จดุ ท่ีกระจายตัวกัน
ข. จดุ ที่ตอ่ กันเป็นสายไปในแนวเดียวกัน อยา่ งต่อเนือ่ ง
ค. ทิศทางของการเคล่ือนทข่ี องสี ข. ความรสู้ ึกเคล่ือนไหวไมม่ ีทศิ ทางวุน่ วายไม่
ง. ทศิ ทางของแสงท่ไี ปในแนวเดยี วกนั
เปน็ ระเบยี บ
๕. ข้อใดไม่ใช่หนา้ ที่ของเสน้ ค. ความร้สู ึกเคลอ่ื นไหวอยา่ งต่อเนื่องเหมือน
ก. แสดงน้าหนักความออ่ นเข้มของสี
ข. แบ่งระนาบออกเป็นสว่ นๆ คลืน่ ในทะเล
ค. แสดงอารมณ์ความรู้สึก ง. ความรสู้ ึกเคล่ือนไหวอย่างแข็งแรง เชอ่ื มน่ั
ง. แสดงการเคลอื่ นไหว

๖. เส้นสามารถแบ่งเป็นกี่ลักษณะ และลักษณะ
ใดบ้าง

ก. ๔ คือ เสน้ ตรง เส้นโค้ง เส้นหยัก เส้นประ
ข. ๓ คือ เส้นตรง เสน้ โคง้ เสน้ หยัก

นักเรียน อย่ำลมื นำคะแนนท่ไี ด้ไปเขยี นลงแบบบันทกึ
ผลกำรประเมนิ ในชอ่ งประเมนิ ตนเองหลังเรยี นนะคะ
จะได้เปรียบเทียบคะแนนของตนเองว่ำมีกำรพัฒนำขึน้
หรอื ไม่ และอย่ำลมื ฝกึ เขยี นผสมสีในแบบตำ่ งๆ เพอ่ื จะไดใ้ ช้

เป็นพน้ื ฐำนในกำรสรำ้ งสรรค์ผลงำนในขัน้ ตอ่ ไปคะ่

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

๑. ข ๒. ค ๓. ง ๔. ก ๕. ข
๖. ข ๗. ค ๘. ข ๙. ค ๑๐. ง

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

๑. ค ๒. ก ๓. ง ๔. ข ๕. ก
๖. ค ๗. ง ๘. ข ๙. ก ๑๐. ข

บรรณำนกุ รม

ฉตั รช์ ยั อรรถปกั ษ์. องค์ประกอบศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : วิทยพฒั น,์ ๒๕๕๐.
ชะลูด นม่ิ เสมอ. องคป์ ระกอบของศลิ ปะ . กรงุ เทพฯ : อมรินทร์,๒๕๕๓.
ธวชั ชานนท์ ตาไธสง. หลักกำรศิลปะ. กรุงเทพฯ : วาดศลิ ป์, ๒๕๔๙.
สมภพ จงจติ ตโ์ พธา. จิตรกรรมสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, ๒๕๕๒.
______. ทศั นธาตุในงานทศั นศลิ ป.์ กรงุ เทพฯ : วาดศลิ ป์, ๒๕๕๖.
อนนั ต์ ประภาโส. ทัศนธาตใุ นงานทัศนศิลป์. ปทมุ ธานี : สิปประภา, ๒๕๕๗.

www.picpost.postjung.com , 2556.
www.ausaqua.net , 2556.
www.thaitambon.com , 2556.
www.huahinartistvillage.wordpress.com , 2556.
www.prc.ac.th , 2556.
www.nonamethassasa.blogspot.tcom , 2557.


Click to View FlipBook Version