คำนำ
แบบฝกึ ทกั ษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตุในงานทัศนศลิ ป์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เรื่อง
สสี นั ในงานทัศนศิลป์นี้ จัดทาขึน้ ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
รายวิชาทศั นศิลป์ โดยจดั ทาใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
และตามแนวทาง การจดั การเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั ในพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒
แบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ชดุ ทัศนธาตใุ นงานทัศนศิลป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ เรื่อง
สสี ันในงานทัศนศลิ ป์น้ี นอกจากจะใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในห้องเรยี นแลว้ ยังใชเ้ ป็น
แบบฝึกเสริมสาหรับนักเรียนที่เรียนศิลปะในระดบั ดี และใชส้ าหรบั สอนซ่อมเสรมิ นักเรียนทีเ่ รยี นอ่อนได้อีก
ดว้ ย เพราะแบบฝึกนีม้ ีลกั ษณะเป็นแบบฝกึ ทีส่ ามารถเรียนได้ด้วยตนเอง แบบฝึกแต่ละชุดจะกาหนดเนื้อหา
จุดประสงค์ และสรุปแนวคิดของแตล่ ะเน้ือหา มีแนวการฝกึ แสดงให้ผู้เรียนได้ศึกษาก่อน เมอื่ เข้าใจดีแล้ว
จงึ ลงมือทาแบบฝกึ แต่ละสว่ นทก่ี าหนดไว้
แบบฝกึ ทักษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เร่อื ง
สีสันในงานทัศนศลิ ป์ประกอบดว้ ย
๑. ความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับสแี ละความหมายของสี
๒. หน้าที่ของสี
๓. ทฤษฎีสี
๔. วรรณะของสี
๕. สีกลมกลนื
๖. สกี บั ความรสู้ ึก
หวังวา่ แบบฝกึ ทักษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตุในงานทัศนศิลป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง สสี ันในงานทัศนศลิ ป์จะเป็นประโยชน์ต่อครแู ละนกั เรียน ตลอดถึงบุคคลผู้สนใจทีไ่ ด้นาไป
ประกอบการเรยี นการสอนและฝกึ ฝนเพ่ิมเตมิ อนั จะมผี ลโดยตรงตอ่ การพฒั นาการเรียนการสอนวิชาศิลปะ
ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและบรรลุผลสาเรจ็ มากยิง่ ข้นึ ขอขอบพระคณุ ผทู้ ่ีมสี ่วนเกีย่ วข้องทุกท่านทที่ าให้แบบฝกึ
ทักษะการวาดภาพระบายสี ชดุ ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เร่ือง สีสนั ในงาน
ทศั นศลิ ป์น้ี บรรลผุ ลสาเร็จดงั ปรากฏเปน็ อยา่ งสงู
ปณาลี คามณี
สำรบัญ หน้า
คานา ๑
คาแนะนาสาหรบั ครูผสู้ อน ๒
คาแนะนาสาหรับผู้เรยี น ๓
แบบบนั ทึกคะแนนก่อนเรียน หลงั เรียน ๔
แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๕
แนวคดิ จุดประสงค์ เน้ือหา เรอื่ งสีสันในงานทศั นศิลป์ ๖
แนวทางการเรยี นรู้ เร่อื ง เร่ืองสสี นั ในงานทัศนศิลป์ ๙
บตั รความรู้ศลิ ปะ เรื่องที่ ๑ ความรคู้ วามเข้าใจและความหมายของสี ๑๔
บัตรกจิ กรรมที่ ๑ สร้างวงลอ้ สี ๑๕
บตั รความรู้ศลิ ปะ เร่ืองท่ี ๒ ทฤษฎีสี ๑๘
บัตรกจิ กรรมท่ี ๒ สร้างสรรคง์ านหลากสี ๑๙
บัตรความร้ศู ลิ ปะ เร่อื งที่ ๓ วรรณะของสี ๒๒
บตั รกจิ กรรมท่ี ๓ สีสนั ตา่ งวรรณะ ๒๓
บัตรความร้ศู ิลปะ เรื่องท่ี ๔ ค่าน้าหนกั สี ๒๕
บตั รกจิ กรรม ท่ี ๔ ระยะค่าน้าหนกั ๒๖
บตั รความรู้ศลิ ปะ เรื่องที่ ๕ สีกลมกลืน ๒๙
บัตรกิจกรรมที่ ๕ สร้างสรรค์งานกลมกลนื ๓๐
บตั รความรศู้ ิลปะ เรอ่ื งที่ ๖ สีกับความรู้สึก ๓๒
บัตรกิจกรรมที่ ๖ รับรู้ได้ในสีสนั ๓๓
แบบทดสอบหลงั เรียน ๓๕
เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน ๓๖
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ๓๗
๓๙
แบบประเมนิ ทักษะทางทัศนศลิ ป์ ๔๒
เกณฑก์ ารให้คะแนน ๔๕
ตัวอย่างผลงานนกั เรยี นหลงั การพฒั นา
ตัวอย่างภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
คำแนะนำสำหรับครูผสู้ อน
แบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตใุ นงานทศั นศิลป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เรอื่ ง
สีสนั ในงานทศั นศลิ ป์นี้ เปน็ ชุดแบบฝกึ ท่เี นน้ ให้ผเู้ รยี นเรียนรดู้ ้วยตนเอง โดยการชว่ ยเหลอื แนะนาจาก
ครผู ู้สอนและกระบวนการกลุ่ม พรอ้ มกับการปฏิบตั ิจรงิ ผูเ้ รยี นจะสามารถสรา้ งภาพความคดิ เก่ียวกับ
ศิลปะใหเ้ ปน็ รูปธรรมซ่ึงจะช่วยให้เกิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองอย่างรวดเรว็ ไดท้ ากิจกรรมทที่ า้ ทายและ
ประสบความสาเรจ็ ดงั นั้นจึงควรดาเนนิ การตามก่อนศึกษาแบบฝกึ ทักษะการวาดภาพระบายสนี ้ี ควรให้
ผ้เู รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนและบนั ทึกผลลงในแบบบันทกึ ผลการประเมินในช่องผลการประเมิน
คะแนนก่อนเรยี น เพอ่ื ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ตรวจสอบความก้าวหน้าและความสาเรจ็ ในการเรียนร้ขู องผ้เู รียนและใช้
ในการเปรียบเทยี บประสทิ ธภิ าพการเรียนรู้ของผู้เรียน
๑. ให้ผู้เรียนเตรียมอปุ กรณต์ ามคาแนะนาของครแู ละอ่านบตั รความรศู้ ลิ ปะ เพ่อื ใหเ้ ข้าใจใน
ความหมายและข้อความท่มี ีในบัตรความรูศ้ ิลปะ
๒. การศกึ ษาแบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ให้ดาเนนิ การตามลาดบั ในแตล่ ะสว่ นท่กี าหนด
ไว้ โดยศึกษาเนื้อหา หรือตัวอยา่ งท่ีกาหนดในบัตรความรู้ศิลปะจนเขา้ ใจดีแล้วจงึ ลงมือทา
บัตรกิจกรรม ในขณะท่ผี เู้ รียนปฏบิ ตั ิงานตามบัตรกิจกรรม ครผู ู้สอนควรดแู ลอย่างใกล้ชิด
และใหค้ าปรึกษาเมื่อผ้เู รียนไม่เขา้ ใจ
๓. ตวั อย่างงานศิลปะในบตั รความรศู้ ิลปะนี้ แสดงไวส้ าหรบั เปน็ แนวทางความเข้าใจเท่านั้น
ไมค่ วรลอกเลียนแบบและควรใหผ้ ู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง
๔. การศึกษาแบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสนี ้ีจะประสบผลสาเร็จหากผเู้ รยี นปฏิบตั ติ าม
คุณธรรมในคุณสมบตั ทิ ี่ตอ้ งการเนน้ ตามทีเ่ สนอแนะในแบบฝกึ ทกั ษะเล่มนี้
๕. เม่อื ทาบัตรกจิ กรรมครบทุกส่วนแลว้ ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นและให้ครูผู้สอนตรวจ
แลว้ นาคะแนนทีไ่ ด้ไปบันทึกลงในแบบบนั ทึกผลการประเมินในช่องผลการประเมนิ คะแนนหลงั
เรยี น
คำแนะนำสำหรบั ผ้เู รยี น
แบบฝึกทักษะการวาดภาพระบายสี ชุด ทศั นธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เรื่อง
สสี ันในงานทัศนศิลป์น้ี เป็นชดุ แบบฝึกท่ีเนน้ ให้เรยี นร้ดู ้วยตนเอง ผู้เรยี นควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๑. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนและบนั ทึกผลลงในแบบบันทึกผลการประเมนิ ในชอ่ งผลการประเมนิ
คะแนนกอ่ นเรยี น
๒. เตรยี มอุปกรณต์ ามคาแนะนาของครูและอา่ นบัตรความรูศ้ ิลปะ
๓. ศึกษาเนื้อหา และตวั อยา่ งทกี่ าหนดใหจ้ นเขา้ ใจดีแลว้ จึงลงมอื ทาตามบตั รกจิ กรรมเมื่อพบ
ปญั หาให้ปรกึ ษาครูผสู้ อนทันที
๔. ไม่ควรลอกเลียนแบบตวั อย่างงานในบตั รความรู้และควรสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง
๕. ควรปฏิบัติตามคณุ ธรรมตามทเี่ สนอแนะในแบบฝึกทักษะเลม่ น้ี
๖. เมือ่ ทาบตั รกิจกรรมครบแลว้ ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรยี นและให้ครูผสู้ อนตรวจ แลว้ นา
คะแนนที่ได้ไปบันทึกลงในแบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ในช่องผลการประเมนิ คะแนนหลังเรยี น
แบบบนั ทึกผลกำรเรยี นรศู้ ลิ ปะ กอ่ นเรยี น หลงั เรยี น
ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๑ เร่ือง สสี ันในงำนทศั นศลิ ป์
คาแนะนา ใหน้ าคะแนนจากการทดสอบกรอกลงในชอ่ งคะแนน หมำยเหตุ
ผลกำรประเมนิ
คะแนนกอ่ นเรียน คะแนนหลงั เรยี น คะแนนควำมกำ้ วหน้ำ
ใหน้ กั เรียนนาคะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
เตมิ ลงในชอ่ งทีก่ าหนดใหน้ ะคะ
คะแนนความก้าวหนา้ คอื ผลจากคะแนนหลังเรยี น
ลบดว้ ยคะแนนกอ่ นเรยี นค่ะ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบที่ต้องกำรลงในกระดำษคำตอบ
๑. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชนข์ องสี ง. เหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีเขียว สีม่วงและ
ก. ใช้ในการแบง่ กลุ่ม แบ่งคณะ สีมว่ งนา้ เงนิ
ข. ใช้ในการสื่อความหมาย ๖. ภาพเขียนทแี่ สดงออกมาในลกั ษณะให้ความรูส้ ึก
ค. ใชเ้ พ่อื ส่ือถงึ รสนิยมส่วนบุคคล ทผี่ อ่ นคลาย มกั จะใชส้ ใี นวรรณะใด
ง. ใชเ้ พ่อื ความสวยงาม
ก. วรรณะเยน็
๒. ข้อใดคือความหมายของแมส่ ี ข. วรรณะรอ้ น
ก. สที เี่ กิดจากการผสมกนั ทางเคมี ค. ใช้ทัง้ ๒ วรรณะในสัดสว่ นเทา่ กัน
ข. สใี ดสหี นงึ่ ซง่ึ ไม่สามารถนาสีอ่ืนมาผสมกนั ง. ใชต้ ามความรู้สกึ ของศิลปินขณะสร้างงาน
๗. ข้อใดคือประโยชน์ของการตัดเส้นในสีคู่ตรง
แลว้ ได้สนี ั้น ข้าม
ค. สีใดสีหนง่ึ ซ่งึ สามารถนาสีอนื่ มาผสมกนั ก. ชว่ ยใหส้ ีคตู่ รงข้ามมีความเด่นชัดมากขึน้
ข. ชว่ ยใหส้ ีคู่ตรงข้ามมคี วามสดใสมากข้ึน
แลว้ ไดส้ นี ้ัน ค. ช่วยให้สีคู่ตรงข้ามมีระยะห่างกัน ลดการ
ง. สีที่ไดม้ าจากธรรมชาติโดยตรง ตดั กันอย่างรุนแรง
ง. ชว่ ยให้สีคตู่ รงขา้ มมคี วามสวยงามมากขนึ้
๓. ข้อใดกล่าวถงึ สขี ั้นที่ ๒ ได้ถูกต้อง ๘. ข้อใดไม่ใช่หลักการใช่สีคตู่ รงข้าม
ก. สีที่เกิดจากการนาแม่สีแต่ละสีมาผสมโดย ก. การตดั เส้น
ข. การลดความสดใส
วิธสี ลับคู่และใหม้ ีอัตราส่วนเท่าๆกนั ค. การผสมดว้ ยสีเทา หรอื สดี า
ข. สีที่เกิดจากการนาแม่สีผสมโดยวิธีสลับคู่ ง. การใชค้ สู่ ตี รงขา้ มในอตั ราสว่ น ๘๐ : ๒๐
๙. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็นสกี ลมกลืน
และใหม้ ีสใี ดสหี นึ่งมอี ัตราส่วนมากกวา่ ก. สเี ขยี ว สีน้าเงนิ สีม่วงน้าเงิน สีม่วงแดง
ค. สีท่เี กดิ จากการนาแม่สีมาผสมกนั ทัง้ ๓ สี ข. สีเขียว สีเขยี วเหลือง สสี ม้ สีม่วงน้าเงนิ
ง. สีท่ีเกิดจากการนาแม่สีแต่ละสีมาผสมโดย ค. สเี ขียว สีน้าเงิน สมี ่วง สีสม้ สแี ดง
ง. สเี ขียว สีเขยี วน้าเงนิ สีนา้ เงิน สมี ว่ งนา้ เงนิ
วิธสี ลับคู่และเพิ่มความเข้มดว้ ยสดี า ๑๐. ขอ้ ใดกล่าวถึงสเี ขียวในเชิงสัญลักษณไ์ ด้ถูกตอ้ ง
๔. สีท่ีเกิดจากการผสมของสีเป็นสีข้ันท่ี ๓ มี ก. แสดงถึง ความรักความปรารถนา
ทง้ั หมด กีส่ ี ข. แสดงถึงความมืด ความลึกลับ ความตาย
เปน็ ท่ีสิน้ สุดของทกุ ส่งิ
ก. ๒ สี ค. แสดงถงึ ความรงุ่ เรืองมง่ั คั่ง
ข. ๔ สี ง. ส่ือความหมายเก่ียวกับการเกษตร การ
ค. ๖ สี เพาะปลูก การเกิดใหม่ สงบ รม่ เย็น
ง. ๘ สี
๕. ข้อใดเป็นสีวรรณะรอ้ นทงั้ หมด
ก. เหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง
และสีน้าเงนิ
ข. เหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง
และมว่ งแดง
ค. เหลือง สีเขียวเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง
และมว่ งแดง
แบบฝกึ ทักษะกำรวำดภำพระบำยสี
ชุด ทศั นธำตุในงำนทศั นศิลป์
ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๑ เร่ือง สีสนั ในงำนทัศนศลิ ป์
๑. แนวคดิ
สี คือ ลกั ษณะความเข้มของแสงทป่ี รากฏแก่สายตาใหเ้ ห็นเปน็ สโี ดยผ่านกระบวนการรบั รูด้ ว้ ยการ
มองเหน็ ในทางศิลปะ คาวา่ สี หมายถึง เนือ้ สแี ท้ๆหรือสวี ัตถธุ าตทุ ส่ี ามารถนามาผสมกนั ตามวธิ รี ะบายสไี ด้
สเี ป็นองคป์ ระกอบสาคญั ในการสร้างสรรคศ์ ิลปะและการออกแบบ ผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งสีและ
ฝกึ ฝนจนมที ักษะความชานาญในการใช้สี จะสามารถใช้สีได้อย่างถูกต้องตามหลกั การ สามารถสร้างสรรค์
ผลงานทเี่ ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะตน และส่ือสารกบั ผู้ชมผลงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ สามารถโนม้ นา้ ว
อารมณ์ความร้สู ึกของผู้ชมให้คล้อยตามไปในทศิ ทางทตี่ ้องการ หรอื ดงึ ดดู ความสนใจของลกู ค้าและสร้าง
ความแปลกใหม่ในผลงานได้เป็นอยา่ งดี
๒. จุดประสงค์
๑. ระบคุ วามสาคญั ของการใชส้ ใี นงานทัศนศิลป์ได้
๒. มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งการใช้สีและวรรณะสีในงานทัศนศิลป์
๓. สามารถใชส้ ไี ด้อย่างเหมาะสมเพอื่ ส่ือความหมายในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทัศนศลิ ป์
๓. เนอ้ื หำ
๑. ความรู้ความเขา้ ใจและความหมายของสี
๒. หนา้ ทขี่ องสี
๓. ทฤษฎสี ี
๔. วรรณะของสี
๕. สกี ลมกลนื
๖. สีกับความรู้สกึ
๔. คณุ ธรรมที่ตอ้ งกำรเน้น
๑. ความมัน่ ใจในตนเอง
๒. ความขยันหมนั่ เพียร
๓. ความใฝ่รู้ ใฝเ่ รียน
๔. ความรับผดิ ชอบ
๕. ความละเอยี ดและประณีต
๖. ความรักธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
แนวทำงกำรเรียนรู้เรื่อง สสี ันในงำนทัศนศิลป์
ศึกษำแนวคดิ ตวั ชีว้ ดั ศกึ ษำ เรอื่ ง สสี นั ในงำน
เนอ้ื หำ ทัศนศิลป์
ต่ำงๆ
ศกึ ษำ ค้นคว้ำ วธิ ีกำรเรียนรู้ ฝึกทักษะกำรวำด
เร่ืองสสี ันในงำน ภำพ และกำรใช้
ทัศนศลิ ป์ สีสนั ในงำน
ทศั นศลิ ป์
ศึกษำ คน้ ควำ้ ประเมนิ ผลงำนของ
ฝกึ ทกั ษะเพิม่ เตมิ ตนเอง ปรบั ปรงุ เพอ่ื
ปรกึ ษำครผู ูส้ อน
พัฒนำตนเอง
นำควำมรู้เร่ือง สีสันในงำนทศั นศลิ ป์
ไปใช้ในกำรวำดภำพใน
ชวี ิตประจำวนั
ทศั นธาตุ
ทศั นะ หมายถึง การเหน็ ส่ิงทมี่ องเห็น
ธาตุ หมายถงึ สิ่งทีถ่ ือว่าเปน็ สว่ นสาคญั ท่ีรวมกนั เป็นรปู ร่างของส่งิ ท้ังหลาย
ทศั นธาตุ หมายถงึ ส่วนสาคัญท่รี วมกันเปน็ รูปรา่ งของสิ่งทัง้ หลายตามท่ตี า
มองเห็น
ทัศนธาตุ จึงสามารถหมายความไดว้ ่า ธาตุแหง่ การมองเหน็ หรอื สว่ นประกอบต่างๆท่ี
ประกอบกนั ในงานศลิ ปะหรอื งานออกแบบ ไดแ้ ก่ จุด เส้น สี แสงเงา รูปรา่ ง รปู ทรง พนื้ ผิว เปน็
ต้น ซ่ึงทศั นธาตุเหล่านี้ มอี ยแู่ ล้วในธรรมชาติ เชน่ จากพืชและสัตว์ต่างๆ เราสามารถนาทัศนธาตุ
เหล่าน้ันมาสรา้ งสรรค์เปน็ งานศลิ ปะได้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งวธิ ีในการนามาใชก้ จ็ ะให้
ความรู้สึกทแ่ี ตกตา่ งกันออกไป ทศั นธาตจุ งึ เปน็ ความรพู้ ื้นฐาน ทผ่ี ู้สรา้ งสรรคง์ านศิลปะควร
ศกึ ษาใหเ้ ข้าใจอยา่ งลกึ ซึ้ง เล่มนี้เราจะศึกษาเรือ่ ง สสี ันในงานทัศนศิลป์ ซึง่ มีรายละเอียดที่เราจะ
ศกึ ษาตอ่ ไปน้ีค่ะ
ในเล่มนี้เรามาศกึ ษาเรือ่ ง สีสันในงานทศั นศลิ ป์นะคะ
ผู้ที่มคี วามรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งสีและฝึกฝนจนมีทักษะความชานาญในการใชส้ ี จะใช้
สไี ด้อย่างถกู ต้องตามหลักการ สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานที่เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตน
และสื่อสารกับผชู้ มผลงานไดต้ รงตามความต้องการ สามารถโนม้ น้าวอารมณ์
ความรสู้ กึ ของผ้ชู มใหค้ ล้อยตามไปในทศิ ทางท่ตี ้องการ หรือดงึ ดูดความสนใจของ
ผู้ชมและสร้างความแปลกใหมใ่ นผลงานได้เป็นอยา่ งดคี ะ่
บัตรควำมร้ศู ลิ ปะ เร่อื งที่ ๑
ควำมรู้ควำมเขำ้ ใจและควำมหมำยของสี
สีเปน็ องคป์ ระกอบสาคญั ในการสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะและการออกแบบ มีความเกี่ยวขอ้ งกบั องค์ความรู้
ทางศิลปะทุกๆแขนง ศลิ ปนิ หรอื นักออกแบบท่ีมคี วามเข้าใจเร่ืองสีอยา่ งถอ่ งแท้จะสามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงาน
ที่มคี ุณค่าและตอบสนองความต้องการได้อยา่ งสมบรู ณ์
ธรรมชาตริ อบตัวเรามสี ีปรากฏอยู่มากมาย ไม่วา่ จะเป็นสีของสง่ิ มชี ีวิต เชน่ สขี องตน้ ไม้ ดอกไม้
สตั วต์ า่ งๆ หรือสีของส่ิงไม่มีชีวติ เชน่ สขี องอัญมณี แร่ธาตุตา่ งๆ เปลวไฟ ตลอดจนสีทเ่ี กิดจากปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติ เชน่ สขี องท้องฟ้า รงุ้ กินนา้ เปน็ ต้น
สสี ันในธรรมชาติ ทีม่ า : http://www.oknation.net,2554.
สที ี่พบเห็นไดจ้ ากธรรมชาตเิ หลา่ น้ีล้วนเปน็ แรงบนั ดาลใจให้ศิลปนิ หรือนกั ออกแบบนามาใช้ในการ
สร้างสรรคผ์ ลงานของตนเองแทบทั้งสิน้
ควำมหมำยของสี
พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ไดใ้ หค้ วามหมายว่า สี คอื ลักษณะของแสงสวา่ ง ปรากฏแกต่ า
ให้เหน็ เป็นสขี าว ดา แดง เขียว เป็นตน้
สี คอื ลกั ษณะความเข้มของแสงทป่ี รากฏแก่สายตาใหเ้ หน็ เปน็ สี โดยผ่านกระบวนการรับรู้ด้วยตา
มอง จะรับรู้ขอ้ มลู จากตา
ดงั นั้น ผทู้ ีม่ ีความรู้ ความเข้าใจในเรอื่ งสแี ละฝึกฝนจนมีทักษะความชานาญในการใชส้ ีอย่างลกึ ซึ้ง
จะสามารถใชส้ ไี ด้อย่างถูกต้องตามหลกั การ สามารถสร้างสรรค์ผลงานท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน และ
สือ่ สารกับผชู้ มงานได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ สามารถโนม้ น้าวอารมณ์ความรสู้ กึ ของผชู้ มให้คลอ้ ยตามไปใน
ทิศทางที่ตอ้ งการได้ หรอื ดึงดูดความสนใจของลกู ค้าและสร้างความแปลกใหมใ่ นผลงานออกแบบไดเ้ ปน็
อย่างดี
หนำ้ ที่ของสี
ศลิ ปินหรอื นกั ออกแบบใชส้ ใี นการสร้างสรรค์ผลงานท่ีมีความหลากหลายทง้ั ในดา้ นเทคนิค ซง่ึ
เหตุผลในการนาสมี าใช้ในผลงานกแ็ ตกต่างกนั ไป ตามวตั ถุประสงค์ของผสู้ ร้างสรรค์ผลงานไดต้ ัง้ ไว้ ซ่งึ หน้าที่
ของสใี นงานศลิ ปะและงานออกแบบสามารถสรปุ ไดด้ งั นี้
๑. บอกชนดิ และประเภทของวัสดุ สิง่ ของ เชน่ เราสามารถบอกความแตกตา่ งของนา้ แครอทกบั
นา้ มะเขอื เทศไดด้ ้วยสี
ที่มา : http://frynn.com/health,2556.
๒. บอกสภาพของวตั ถุ เชน่ สีเขียวของใบไมส้ ด สนี ้าตาลของใบไมแ้ ห้ง
ทีม่ า : http://www.siamfishing.com,2556.
๓. บอกมิติ สเี ดยี วกนั เมื่ออยใู่ นระนาบที่ตา่ งกนั จะรบั แสงและสะทอ้ นสีออกมาไม่เท่ากัน ทา
ใหเ้ กิดมิติความกวา้ ง ยาว หนาของวัตถุได้
ท่ีมา : http://www.pantip.com,2556.
๔. บอกระยะ วัตถุชนิดเดยี วกนั สีเหมือนกนั เมอื่ อยใู่ นระยะท่ตี ่างกนั ความเขม้ ข้นของคล่นื สีท่ี
สะทอ้ นกลบั เข้าตาเราจะต่างกัน ทาให้บอกระยะของวัตถุได้ เชน่ วัตถทุ ีอ่ ยูใ่ กล้จะมีความเข้มของสีมากกว่า
วัตถุท่ีอยู่ไกล เป็นตน้
๕. ดงึ ดดู ความสนใจ สสี ด สีตดั กัน จะดึงดดู ความสนใจมากกว่าสีหมน่ หรอื สที ี่กลมกลนื กนั
เนอ่ื งจากสีเหล่านี้มอี ิทธิพลตอ่ การมองเหน็ ท่แี ตกตา่ งกนั
๖. สรา้ งอารมณ์ความรู้สึก ในทางจติ วทิ ยา สมี ีอิทธิพลตอ่ อารมณค์ วามรูส้ ึกของคน เชน่ สโี ทน
ร้อนให้ความรสู้ ึก อุ่น ร้อน กระตุน้ รนุ แรง สีโทนเยน็ ให้ความรสู้ กึ สงบ ร่มเยน็ เป็นตน้
ทมี่ า : http://www.bloggang.com,2556.
๗. ใชส้ อ่ื ความหมายต่างๆ เชน่ สขี าว แสดงถงึ ความบริสุทธิ์ สีดาแสดงถงึ ความทุกข์ ความเศรา้
สที อง อานาจ บารมี เปน็ ต้น
จิตแหง่ ความมุ่งม่นั : ผลงานของ อาจารยเ์ ฉลิมชัย โฆษติ พิพฒั น์
ท่มี า : http://www.pantip.com,2556.
บัตรกจิ กรรมท่ี ๑ สรำ้ งวงลอ้ สี
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนสรำ้ งวงล้อสวี ัตถธุ ำตุขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง ๖ น้วิ ดว้ ย
กำร ระบำยสีนำ้ หรอื สีโปสเตอร์ โดยผสมสีใหใ้ กลเ้ คียงกับตวั อยำ่ งมำกท่ีสุด
ตัวอยำ่ ง
ชอ่ื …………..………………………………………………………….ชั้น…………………เลขที่…………………..
บตั รควำมรูศ้ ิลปะ เรอื่ งที่ ๒ ทฤษฎสี ี
แมส่ ี คอื สเี บ้ืองตน้ ที่ไมส่ ามารถนาสีอน่ื มาผสมใหก้ ลายเป็นแมส่ ไี ด้ โดยแบง่ ออกเปน็ ๒
ประเภท คอื ๑. แม่สแี สง (ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย แสงสีแดง แสงสนี ้าเงิน แสงสเี ขยี ว โดยเม่ือนาแสงของแมส่ ี
ทง้ั ๓ มาผสมกันจะเกดิ เป็นแสงสขี าว) ๒. แมส่ วี ตั ถุธาตุ
ในแบบฝึกน้จี ะกลา่ วถึงเฉพาะทฤษฎวี ัตถุธาตหุ รอื ทฤษฎขี องศลิ ปินเท่านั้นเพราะเกย่ี วเนอื่ ง
กบั การสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะและผลงานการออกแบบโดยตรง แต่แม่สีแสงก็มีความสัมพนั ธ์กับทฤษฎแี ม่สี
วตั ถุธาตุในแง่ของการสะท้อนและดูดกลืนแสงของวตั ถุตา่ งๆ เชน่ เมือ่ แสงสขี าว(ทเ่ี กิดจากการผสมของแมส่ ี
แสง) ส่องมายังวตั ถุหน่งึ ๆ วัตถนุ ้ันจะดดู กลนื แสงที่มีความยาวคลืน่ บางระดับไว้ และสะท้อนแสงท่มี คี วาม
ยาวคลื่นทเ่ี หลือมากระทบเข้าตาเราทาใหเ้ รามองเหน็ สีทวี่ ตั ถุนนั้ ๆสะท้อนออกมา
เมอ่ื นาแมส่ วี ัตถุธาตทุ ง้ั สามสี คือ สีแดง สเี หลอื ง และสนี ้าเงินมาผสมกันเปน็ คูๆ่ กจ็ ะเกิด
เป็นสตี ่างๆ โดยเมื่อผสมกนั กันไปเร่อื ยๆในขั้นสดุ ท้าย จะทาให้ไม่มีแสงสีใดสามารถสะท้อนกลบั ออกมาได้ ก็
จะกลายเป็นสดี า ซ่ึงอาจเรียกวา่ เปน็ การผสมสแี บบลบ (Subtractive Mixing) หรือทฤษฎีวัตถุธาตกุ ารผสม
สใี นทฤษฎีวัตถธุ าตุมีขน้ั ตอนและรายละเอียดในการทา ดงั น้ี
สขี ัน้ ท่ี ๑ แมส่ ีวตั ถธุ าตุ ประกอบไปด้วย สแี ดง(red) สีเหลอื ง(yellow) และสีนา้ เงิน
(blue)
สขี ้ันท่ี ๒ เกดิ จากการผสมกนั ระหว่างสขี องแม่สี ในปริมาณเท่าๆกัน สีขน้ั ทส่ี องมี ๓ สี คือ
สีแดง(red) + สนี ้าเงิน(blue) = สมี ่วง(violet)
สนี า้ เงนิ (blue) + สีเหลือง(yellow) = สเี ขยี ว(green)
สเี หลอื ง(yellow)+ สีแดง(red) = สีส้ม(orange)
+=
+=
+=
สขี น้ั ที่ ๓ เกิดจากการผสมกันระหว่างสขี นั้ ท่ี ๑ กับสีขนั้ ที่ ๒ ในปรมิ าณเท่าๆกัน มี ๖ สี คือ
สีน้าเงนิ (blue) + สีเขยี ว(green) = สีเขียวนา้ เงิน(blue-green)
สเี หลือง(yellow)+ สีเขียว(green) = สีเขียวเหลือง(yellow-green)
สีแดง(red) + สสี ม้ (orange) = สีส้มแดง(orange-red)
สีเหลือง(yellow)+ สีสม้ (orange) = สีสม้ เหลือง(yellow-orange)
สีแดง(red) + สมี ว่ ง(violet) = สมี ่วงแดง(red-violet)
สนี ้าเงิน(blue) + สมี ่วง(violet) = สมี ว่ งนา้ เงนิ (blue-violet)
+=
+=
+=
+=
+=
+ =สขี น้ั ที่ ๓
สที เี่ กดิ จากสีขัน้ ที่ ๑ สีข้นั ท่ี ๒ และสีขั้นท่ี ๓ มจี านวนรวมกนั ท้ังสิน้ ๑๒ สี เมอ่ื นามาวางเรยี งเปน็
วงกลมจะเรียกวา่ วงลอ้ สวี ัตถุธาตุ สีทง้ั ๑๒ สนี จี้ ะเป็นสแี ท้ (hue) คือไม่มกี ารผสมสดี าสีขาว หรอื สีอ่ืนๆ
ลงไป
ทีม่ า : http://www.englishaec.com,2557.
บัตรกิจกรรมที่ ๒ สรำ้ งสรรค์งำนหลำกสี
คำชี้แจง ให้นกั เรยี นสร้ำงสรรคผ์ ลงำนภำพวำดระบำยสีขนำด ๑๐x๑๒ นิ้ว ใน
หัวข้ออสิ ระ แตใ่ ห้ใชส้ ี ๑๒ สใี นวงล้อสวี ตั ถธุ ำตุในกำรระบำยสีเทำ่ นนั้ โดยห้ำมผสมสขี ำว
เทำ ดำ แต่สำมำรถนำสีดำมำตดั เส้นได้ดังตวั อยำ่ ง
ตวั อยำ่ ง
ชื่อ…………..………………………………………………………….ชั้น…………………เลขที่…………………..
บัตรควำมรู้ศลิ ปะ เรอ่ื งท่ี ๓ วรรณะของสี
วรรณะของสี คือ สภาพสีส่วนรวมทีส่ ่งผลให้เกดิ ความรู้สกึ ในด้านอุณหภมู ิ ทาให้ผดู้ ูรสู้ ึก ร้อน
อบอุ่น เย็น ฯลฯ เม่ือนาวงลอ้ สมี าตดั แบง่ ครึ่งวงล้อ โดยจุดตัดจะอยู่ทส่ี ีเหลืองและสีมว่ ง เราก็จะไดส้ ี ๒ กลุม่
ซึ่งสี ๒ กลุ่มนี้ กค็ ือชนดิ ของวรรณะของสี ซงึ่ อธิบายไดด้ ังนี้
ท่ีมา : http://www.baandothosana.com,2556.
วรรณะรอ้ น หมายถงึ สที ี่อยใู่ นกลมุ่ สแี ดงและสีเหลืองเป็นหลกั เมื่อนามาสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะหรอื
งานออกแบบจะให้ความร้สู ึกไปในทางอบอนุ่ ร้อนแรง สะดุดตา โกรธ รุนแรง สวี รรณะร้อน ประกอบไป
ดว้ ย สีเหลอื ง สีส้มเหลอื ง สสี ม้ สสี ้มแดง สแี ดง และสีมว่ งแดง สวี รรณะร้อนอาจไม่ใชส่ ีท่ีอยู่ในวงสีก็ได้
เพราะในธรรมชาตจิ รงิ ๆแลว้ ยอ่ มมสี ที ่ีอ่อนแกจ่ ากวงสีอีกมาก ถา้ หากสีใดค่อนไปทางสแี ดงหรอื มสี ว่ นผสม
ของสตี า่ งๆในวรรณะรอ้ นเป็นสว่ นใหญ่ก็จดั เปน็ สรี ้อน เช่นสีนา้ ตาล สีเทาอมแดง สีชมพู เป็นตน้
วรรณะเย็น หมายถงึ กลุ่มสที ี่ใหค้ วามรูส้ ึกเยือกเยน็ สงบ เรียบ ซงึ่ จะมีสีน้าเงนิ เป็นสีหลกั ประกอบ
ไปด้วย สีเขยี วเหลอื ง สเี ขยี ว สเี ขยี วน้าเงิน สีน้าเงนิ มว่ งและสีมว่ ง เชน่ เดยี วกันกบั วรรณะร้อน ยังมีสีอีก
มากมายท่ไี มอ่ ยู่ในวงสีแตเ่ ปน็ สวี รรณะเย็นโดยสงั เกตไดจ้ ากสีทคี่ อ่ นไปทางสนี า้ เงนิ หรือมสี ่วนผสมของสี
ต่างๆในวรรณะเย็นเปน็ ส่วนใหญก่ ็จดั เปน็ สเี ยน็ เช่น สีเทาอมเขยี ว สีเทาอมน้าเงิน เป็นต้น
การใชส้ วี รรณะร้อน หรือวรรณะเย็น ไม่จาเป็นต้องใชส้ ที ม่ี ีอยู่ในวงล้อสีเสมอไป เพราะในธรรมชาติมสี ตี ่างๆ
อีกมากมายและสามารถลงรายละเอียดไปได้อีก เช่น ร้อนจดั หรือร้อนอยา่ งรนุ แรง ร้อนแบบอบอุ่น เยน็ จัด
หรอื เยน็ สบาย ซึ่งข้ึนอยกู่ ับความเข้มขน้ ในการใช้สแี ท้ การลดความสดของสี นนั่ เอง
สตี า่ งๆทีอ่ ยูน่ อกเหนอื จากวงสี
หลกั กำรใชว้ รรณะของสี
ในการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ ศลิ ปินหรือนักออกแบบมักจะเลือกวรรณะของสีทีจ่ ะแสดงออก
อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเป็นหลักเพียงวรรณะเดยี ว แตไ่ มไ่ ด้หมายความวา่ เราจะใช้สอี ีกวรรณะหน่งึ ไม่ได้ เรา
สามารถใช้สีวรรณะร้อนและวรรณะเย็นได้ ๒ แบบ ดงั น้ี
๑. การใชส้ วี รรณะเดยี ว คือการใชส้ ีวรรณะใดวรรณะหน่ึงเท่านั้นข้อดีคอื จะทาใหผ้ ลงานมี
เอกภาพ กลมกลืน แต่ภาพจะขาดความหลากหลายของอารมณค์ วามรู้สึกและขาดความน่าสนใจในภาพ
ภาพตัวอย่างการใช้สวี รรณะเดยี ว
๒. การใชส้ ี ๒ วรรณะ คือการนาเอาสที ัง้ ๒ วรรณะมาใช้รว่ มกัน เพ่อื สรา้ งจดุ สนใจหรือจุดเด่นใน
ภาพผลงาน โดยใชส้ วี รรณะหลกั ในพน้ื ท่ีมากกวา่ วรรณะตรงกนั ข้าม โดยส่วนใหญ่จะมีสดั สว่ นท่ี ๘๐:๒๐
เช่น ใชส้ วี รรณะรอ้ น ๘๐% ใชส้ วี รรณะเยน็ ๒๐% เป็นตน้
ท่ีมา:http//site.google.com,2557.
ภาพตวั อย่างการใช้สี ๒ วรรณะ สัดส่วนการใช้สใี นภาพวรรณะเยน็ ๘๐% วรรณะร้อน ๒๐%
วรรณะของสีมบี ทบาทสาคญั ในการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะ ศิลปนิ และนักออกแบบใช้วรรณะของสี
สือ่ สารแสดงออกหรือสร้างอารมณ์ความรู้สกึ ให้กับผลงานเพือ่ ใหผ้ ู้ชมงานไดร้ บั รู้แนวความคดิ หรอื ความรู้สกึ
ทีผ่ ู้สร้างผลงานต้องการสื่อ ผลงานทด่ี ีมักจะเลอื กใช้วรรณะของสีได้ตรงกบั อารมณ์ความรู้สกึ ท่ตี ้องการได้
อย่างกลมกลนื และเป็นเอกภาพ
ภาพเปรียบเทียบสวี รรณะร้อนและวรรณะเยน็ จะพบว่า เมือ่ องคป์ ระกอบภาพมคี วามคลา้ ยคลึงกนั
แตเ่ มื่อใช้สตี า่ งวรรณะจะทาใหไ้ ด้อารมณ์ความร้สู กึ ท่ีตา่ งกันออกไป
บตั รกจิ กรรมที่ ๓ สสี นั ตำ่ งวรรณะ
คำชแ้ี จง ให้นักเรียนสร้ำงผลงำนภำพวำด โดยเลือกใชส้ วี รรณะรอ้ นหรอื วรรณะเยน็
มำ ๑ ชิ้น ดงั ตัวอย่ำง
ตัวอยำ่ ง
ช่ือ…………..………………………………………………………….ชั้น…………………เลขที่…………………..
บัตรควำมรู้ศลิ ปะ เร่ืองที่ ๔ คำ่ นำ้ หนักสี
ค่านา้ หนักของสี หมายถึง ความสว่างหรือความมดื สแี ทใ้ นวงล้อสี จะมีค่าความสว่างของตวั เองใน
ระดบั หน่งึ เม่ือเราผสมสขี าวลงไปในสที ลี ะน้อย สนี ัน้ จะมคี ่าน้าหนักอ่อนลงจนถงึ ขาวทสี่ ุด หรือเราเรยี กวา่
สว่างขึน้ ในทานองเดียวกันหากเราผสมสดี าลงไปในสแี ทท้ ีละนอ้ ย สนี น้ั จะมีน้าหนกั เข้มขึ้นจนถงึ ดาในท่สี ุด
หรือเรยี กวา่ มืดลง ค่าน้าหนกั ของสีสามารถแบ่งไดเ้ ป็น ๒ ประเภท คือ
๑. คา่ น้าหนกั ของสีหลายสี หมายถึงคา่ น้าหนักท่ีเรยี งจากอ่อนไปหาเขม้ ในวงลอ้ สวี ัตถุธาตุ ซึ่ง
สามารถแยกออกเป็นคา่ น้าหนักของวรรณะร้อนคือ สเี หลอื ง - สสี ม้ เหลอื ง - สสี ม้ - สสี ้มแดง
สแี ดง - สมี ่วงแดง และค่าน้าหนกั ของสวี รรณะเย็น คือ สเี หลือง - สเี หลืองเขยี ว - สีเขยี ว - สี
เขียวนา้ เงิน - สมี ่วงนา้ เงนิ และ สีนา้ เงนิ
สวี รรณะร้อน
แสดงคา่ นา้ หนกั ของสหี ลายสีในวรรณะร้อน
สวี รรณะเย็น
แสดงค่าน้าหนกั ของสหี ลายสีในวรรณะรอ้ นและวรรณะเยน็
๑. ค่านา้ หนักของสีสีเดยี ว หรือค่านา้ หนกั ของเสียงเงา หมายถึงคา่ น้าหนกั ที่เรยี งจากอ่อนไปหา
เขม้ ของสสี เี ดยี ว โดยการนาเอาสีแทใ้ นวงลอ้ สีวัตถมุ าผสมด้วยสีขาวทีละนิดจนไดค้ ่าน้าหนักทส่ี วา่ งที่สุด
และนาเอาสดี าผสมลงไปในสีแทท้ ลี ะนดิ จนได้คา่ นา้ หนักทีเ่ ข้มทีส่ ุด
แสดงค่าน้าหนักของสีสีเดียว
ประโยชน์ของค่านา้ หนักคือการสร้างมิติลวงตาให้เกดิ ข้ึนในผลงาน ทาใหเ้ ราสามารถมองเหน็ ความ
กว้าง ความยาว ความหนาหรือความลกึ ของวตั ถุในผลงานสองมติ ิได้
ภาพตัวอย่างของการใชค้ า่ น้าหนักสรา้ งมิติลวงตาให้กบั รูปทรงเรขาคณติ
บัตรกจิ กรรมที่ ๔ ระยะค่ำน้ำหนกั
คำช้แี จง ให้นักเรยี นฝกึ ระบำยค่ำน้ำหนักของสสี เี ดียว จำนวน ๙ ระยะ โดยใหส้ ีแท้
ตัวอยำ่ ง อยตู่ รงกลำง แล้วเพม่ิ สขี ำวไปทำงซำ้ ย ๔ ระยะ และเพมิ่ สดี ำไปทำงขวำ ๔
ระยะ โดยใหเ้ ลือกสีแท้ จำนวน ๔ สีจำก ๑๒ สใี นวงลอ้ สีวัตถธุ ำตุ ดงั ตวั อยำ่ ง
ชอ่ื …………..………………………………………………………….ช้ัน…………………เลขท่ี…………………..
บัตรควำมรศู้ ลิ ปะ เรอื่ งท่ี ๕ สกี ลมกลืน
สีกลมกลืน หมายถึงการใช้สีที่อยใู่ กลเ้ คียงกันหรือการใช้สที ี่อยใู่ นวรรณะเดยี วกนั ในวงลอ้ สวี ตั ถุธาตุ
ซง่ึ สีกลมกลืนมหี ลักในการใช้ ดังนี้
๑. ใชส้ กี ลมกลนื แบบข้างเดยี ว โดยกาหนดสีหนกั ขึ้นมา ๑ สี และสถี ดั ไปก็เรียงไปขา้ งใดข้าง
หนึง่ แตไ่ ม่ขา้ มวรรณะ เชน่ กาหนดให้สเี ขยี วเปน็ สเี ด่น สีถัดไปจะเป็นสเี ขยี วเหลอื ง หรือใช้สใี กล้เคยี งอีกฝ่ัง
หนึ่งก็จะเปน็ สเี ขียวนา้ เงนิ สีน้าเงนิ สมี ว่ งนา้ เงิน เป็นต้น
ภาพแสดงการใชส้ กี ลมกลืนแบบขา้ งเดยี วโดยใชส้ เี ขียวเป็นหลกั
ที่มา : http//www.oknation.net,2554.
๒. ใช้สกี ลมกลืนแบบขนาบข้าง โดยกาหนดสหี ลักขนึ้ มา ๑ สี แลว้ ใชส้ ีใกล้เคยี งดา้ นข้างทั้ง
สองข้างของสีหลักเป็นสีประกอบโดยไม่ขา้ มวรรณะ เช่น กาหนดให้สเี ขยี วเป็นสหี ลัก สปี ระกอบคือสีเขียว
นา้ เงิน สีน้าเงิน สีเขยี วเหลอื ง สีเหลือง เป็นตน้
ภาพแสดงการใชส้ กี ลมกลืนแบบขนาบขา้ งโดยใชส้ ีเขยี วเป็นหลกั
สีตรงกนั ขำ้ ม
สตี รงข้าม หมายถึง คสู่ ที ่ีอยู่ตรงขา้ มกันในวงลอ้ สีวัตถธุ าตุ มีท้งั หมด ๖ คู่ คือ
สีเหลอื ง สีม่วง
สีส้มเหลอื ง สีมว่ งน้าเงนิ
สีสม้ สีนา้ เงนิ
สีสม้ แดง
สีแดง สเี ขยี วน้าเงิน
สีม่วงแดง
สีเขยี ว
สีเขยี ว
เหลอื ง
เมือ่ นาสีค่ตู รงข้ามมาผสมกันในอัตราสว่ นที่เท่ากนั จะได้สดี าหรอื สกี ลาง เนือ่ งจากทั้งสองสีจะประกอบดว้ ย
แม่สที ้ัง ๓ สใี นอตั ราสว่ นทเ่ี ท่ากนั การใชส้ ตี รงกันขา้ มในงานศิลปะมีหลักการใชด้ ังน้ี
๑. หลกั ๘๐-๒๐ โดยใชส้ ีตดั กนั แบบคสู่ ตี รงข้าม เช่น สแี ดงกับสเี ขยี ว ผู้สร้างสรรค์จะใชส้ ี
เขยี ว ๘๐% ของพ้ืนท่ี และใช้สีแดง ๒๐% ของพื้นที่ หรือในทางกลับกันอาจใชส้ แี ดง ๘๐% สเี ขยี ว ๒๐%
กไ็ ด้ เหตผุ ลท่ีใหส้ ใี ดสีหนึง่ กนิ พ้ืนที่ ๘๐% เพราะสีท่มี ีปรมิ าณมากกวา่ จะมีอิทธิพลครอบงาผลงานท้ังหมดไว้
ไม่ให้สที ต่ี ดั กนั มีอิทธิพลมากเกนิ ไป ผลงานจะเกิดความกลมกลนื เป็นเอกภาพ
ภาพตวั อยา่ งการใชส้ ตี รงข้ามในหลัก ๘๐ - ๒๐
๒. การตดั เสน้ กรณีการใช้สตี รงข้ามท่ีมกี ารใช้พ้ืนท่ที ่ีใกลเ้ คยี งกันในผลงาน อาจแก้ปญั หาโดยการ
ตดั ขอบดว้ ยเสน้ สีดาหรือสเี ขม้ ในบางกรณีอาจจะตดั เสน้ ด้วยสขี าวหรือสีอ่อนขนึ้ อยกู่ บั ความเหมาะสม การ
ตดั เส้นจะชว่ ยทาให้คสู่ ีตรงข้ามมรี ะยะห่างกนั ทาให้ลดการตัดกนั อยา่ งรุนแรงลง
ภาพตวั อย่างการใชส้ ีตรงขา้ มโดยใชห้ ลักการตดั เส้น
บตั รกจิ กรรมท่ี ๕ สร้ำงสรรคง์ ำนกลมกลืน
คำชแ้ี จง ให้นักเรียนสรำ้ งสรรค์ผลงำนจิตรกรรม ขนำด ๘x๑๐ นิว้ โดยเลอื ก
ระหว่ำงกำรใชส้ ีกลมกลนื แบบขำ้ งเดียว หรอื กำรใชส้ กี ลมกลืนแบบขนำบขำ้ ง
ตัวอยำ่ ง
บตั รควำมรู้ศลิ ปะ เร่อื งท่ี ๖ สกี บั ควำมรสู้ กึ
ชอ่ื …………..………………………………………………………….ชน้ั …………………เลขท่ี…………………..
ในดา้ นจิตวิทยา สี เปน็ ตวั กระตุ้นใหเ้ กิดอารมณค์ วามรูส้ กึ และมีผลตอ่ จิตใจของมนุษย์ สตี ่างๆจะ
ใหค้ วามร้สู กึ ที่แตกต่างกนั ดงั นั้นเราจงึ มกั ใชส้ ีเพ่ือส่ือความรูส้ ึกและความหมายตา่ งๆไดแ้ ก่
สีแดง ใหค้ วามรู้สึกเรา่ ร้อน รุนแรง ตนื่ เตน้ อนั ตราย
สเี หลือง ให้ความรสู้ ึก สวา่ ง แจม่ แจง้ สวา่ ง อบอุ่น ศรัทธา ม่ังคงั่
สีน้ำเงนิ ให้ความร้สู ึก เงียบขรึม สงบ มีสมาธิ จรงิ จงั
สสี ้ม ให้ความรู้สกึ สดใส ร้อนแรง เจดิ จ้า มีพลงั อานาจ
สเี ขียว ให้ความรสู้ กึ สดใส สดช่ืน เยน็ ปลอดภัย สบายตา มงุ่ หวงั
สีม่วง ให้ความรสู้ กึ เศรา้ หม่นหมอง ลกึ ลับ
สฟี ำ้ ใหค้ วามรู้สึกปลอดโปร่ง แจ่มใส กวา้ ง ปราดเปร่ือง
สเี ทำ ให้ความรสู้ กึ เศร้า เงียบขรึม สงบ แกช่ รา
สนี ำ้ ตำล ให้ความรสู้ ึก แห้งแห้ง ไม่สดช่นื น่าเบือ่
สชี มพู ให้ความรู้สึก อ่อนหวาน เป็นผหู้ ญิง รา่ เริง
สีขำว ใหค้ วามรูส้ ึก บรสิ ทุ ธิ์ สะอาด ผุดผอ่ ง ว่างเปล่า
สดี ำ ใหค้ วามรสู้ กึ มืดมดิ เศรา้ นา่ กลัว หนักแน่น
นอกจากจะเปน็ ใหเ้ กดิ อารมณ์ความรู้สึกและมผี ลต่อจิตใจของมนุษยแ์ ล้ว สีต่างๆยังมคี วามหมาย
ในเชิงสญั ลักษณ์ที่สอ่ื ถึงสงิ่ อ่นื ๆเร่ืองราวอื่นๆอีกดว้ ย เช่น
สแี ดง มีความอบอุน่ ร้อนแรง เปรียบดงั ดวงอาทิตย์ นอกจากนย้ี ังแสดงถึง ความ
รกั ความปรารถนา เช่น ดอกกุหลาบวนั วาเลนไทน์ ในทางจราจรสแี สดงยังเปน็ เครื่องหมาย
ประเภทห้ามหรือเตือนแสดงถึงสิ่งท่ีเปน็ อันตราย เปน็ สีที่ต้องระวงั เปน็ สีของเลือด ในประเทศจีน
แสดงถึงความม่งั คงั่ อดุ มสมบูรณแ์ ละอานาจ
สเี ขยี ว แสดงถงึ ธรรมชาติ สีเขียวรม่ เยน็ มักใชส้ ่อื ความหมายเกยี่ วกบั การ
อนุรักษ์ธรรมชาติเกีย่ วกบั สงิ่ แวดล้อม การเกษตร การเพาะปลกู การเกิดใหม่ สงบ ร่มเย็น
สีเหลอื ง แสดงถงึ ความสดใส ความเบิกบาน แสดงถงึ ความรุ่งเรอื งมงั่ คัง่ ในทาง
ศาสนาแสดงถึงความเจดิ จ้า ปัญญา
สนี ้ำเงนิ แสดงถึงความเปน็ เพศชาย มคี วามสขุ ุม หนักแน่น และยังสอื่ ความ
หมายถงึ ผสู้ ูงศักดิ์
สฟี ำ้ แสดงถงึ ความสวา่ ง ความปลอดโปรง่ เปรยี บเสมือนท้องฟ้า เปน็ อิสรเสรี
เปน็ สีของความสะอาด ปลอดภยั
สที อง มกั ใช้กับส่งิ ที่มีคณุ ค่า ราคา ส่ิงของหายาก ความสูงศักดิ์ ความศรัทธา
สูงสดุ
สดี ำ แสดงถงึ ความมืด ความลกึ ลับ ความตายเปน็ ส่งิ ส้นิ สดุ ของทุกสงิ่ นอกจากน้ี
ยงั แสดงถงึ ความชัว่ ร้าย
สีชมพู แสดงถงึ ความอบอุ่น ออ่ นโยน ความอ่อนหวาน น่มุ นวล ความนา่ รกั
ความเปน็ วยั รุน่ หญิงสาว
สตี า่ งๆมอี ิทธพิ ลต่อผูช้ มงานศิลปะ สามารถสือ่ สารและทาให้เกดิ ความรู้สึกคล้อยตามได้ การ
สรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ผสู้ รา้ งสรรคจ์ ะต้องเลือกใช้โครงสีหรอื เลือกใช้สีให้ตรงกับอารมณ์ความรู้สึกที่
ตอ้ งการแสดงออกในผลงาน
บัตรกจิ กรรมท่ี ๖ รับร้ไู ด้ในสีสัน
คำช้ีแจง ให้นักเรียนสร้ำงสรรค์ผลงำนศลิ ปะ ๑ ชิน้ งำน ตัง้ ช่ืองำน
และใชส้ เี พ่อื สอื่ ควำมรสู้ กึ ให้สอดคลอ้ งกบั ผลงำน
ตวั อยำ่ ง
ชอื่ ผลงาน : ตอ่ สู้
ช่ือ…………..………………………………………………………….ชั้น…………………เลขที่…………………..
แบบทดสอบหลงั เรียน
ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ต้องกำรลงในกระดำษคำตอบ
๑. ข้อใดไม่ใชป่ ระโยชน์ของสี ๖. ภาพเขียนท่แี สดงออกมาในลักษณะใหค้ วามรู้สึก
ก. ใช้ในการแบ่งกลุ่ม แบ่งคณะ ท่ีผ่อนคลาย มกั จะใชส้ ีในวรรณะใด
ข. ใช้เพือ่ สือ่ ถึงรสนิยมส่วนบคุ คล
ค. ใช้เพ่อื ความสวยงาม ก. วรรณะเย็น
ง. ใชใ้ นการส่ือความหมาย ข. วรรณะร้อน
ค. ใชท้ งั้ ๒ วรรณะในสัดสว่ นเท่ากัน
๒. ข้อใดคือความหมายของแมส่ ี ง. ใช้ตามความรสู้ กึ ของศิลปินขณะสรา้ งงาน
ก. สที ่ีได้มาจากธรรมชาติโดยตรง ๗. ข้อใดคือประโยชนข์ องการตดั เสน้ ในสีคู่ตรง
ข. สใี ดสหี น่งึ ซึง่ สามารถนาสีอ่นื มาผสมกัน ขา้ ม
ก. ช่วยให้สีคู่ตรงข้ามมีระยะห่างกัน ลดการ
แลว้ ไดส้ นี ั้น ตดั กนั อย่างรนุ แรง
ค. สีใดสหี นึง่ ซึง่ ไม่สามารถนาสอี ่ืนมาผสมกนั ข. ชว่ ยให้สีคตู่ รงขา้ มมคี วามสดใสมากขึ้น
ค. ช่วยให้สคี ตู่ รงขา้ มมีความสวยงามมากขนึ้
แล้วไดส้ ีนนั้ ง. ช่วยใหส้ คี ู่ตรงขา้ มมคี วามเดน่ ชัดมากขนึ้
ง. สที ีเ่ กิดจากการผสมกนั ทางเคมี ๘. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลกั การใช่สคี ูต่ รงขา้ ม
ก. การตดั เสน้
๓. ข้อใดกลา่ วถึง สขี ัน้ ท่ี ๒ ได้ถูกต้อง ข. การลดความสดใส
ก. สีท่ีเกิดจากการนาแม่สีผสมโดยวิธีสลับคู่ ค. การใช้คู่สีตรงขา้ มในอตั ราสว่ น ๘๐ : ๒๐
ง. การผสมด้วยสีเทา หรอื สีดา
และให้มีสีใดสหี นงึ่ มีอัตราส่วนมากกว่า ๙. ข้อใดตอ่ ไปนีเ้ ปน็ สีกลมกลืน
ข. สีท่ีเกิดจากการนาแม่สีแต่ละสีมาผสมโดย ก. สเี ขียว สีนา้ เงนิ สีม่วงน้าเงนิ สีมว่ งแดง
ข. สเี ขยี ว สเี ขียวน้าเงนิ สนี า้ เงนิ สีม่วงน้าเงนิ
วิธีสลบั คู่และเพมิ่ ความเขม้ ดว้ ยสีดา ค. สีเขียว สนี า้ เงิน สมี ่วง สีส้ม สีแดง
ค. สีทเี่ กิดจากการนาแมส่ มี าผสมกันท้ัง ๓ สี ง. สเี ขียว สเี ขยี วเหลอื ง สีสม้ สมี ่วงน้าเงิน
ง. สีท่ีเกิดจากการนาแม่สีแต่ละสีมาผสมโดย ๑๐. ขอ้ ใดกล่าวถงึ สเี ขียวในเชงิ สัญลกั ษณไ์ ดถ้ กู ต้อง
ก. แสดงถงึ ความมืด ความลกึ ลับ ความตาย
วธิ สี ลบั คแู่ ละให้มอี ัตราสว่ นเทา่ ๆกัน เป็นที่ส้นิ สุดของทกุ สิ่ง
๔. สีท่ีเกิดจากการผสมของสีเป็นสีขั้นที่ ๓ มี ข. แสดงถงึ ความรักความปรารถนา
ทง้ั หมด กี่สี ค. สอ่ื ความหมายเกย่ี วกับการเกษตร การ
เพาะปลูก การเกดิ ใหม่ สงบ ร่มเย็น
ก. ๒ สี ง. แสดงถึงความรุ่งเรืองม่ังคั่ง
ข. ๖ สี
ค. ๔ สี
ง. ๘ สี
๕.. ขอ้ ใดเป็นสีวรรณะรอ้ นทัง้ หมด
ก. เหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง
และสนี ้าเงนิ
ข. เหลือง สีเขียวเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง
และม่วงแดง
ค. เหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีเขียว สีม่วงและ
สีมว่ งนา้ เงนิ
ง. เหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง
และม่วงแดง
อย่าลืมนาคะแนนท่ีได้ไปเขียนลงแบบบันทึกผลการประเมิน
ในช่องประเมนิ ตนเองหลงั เรยี นนะคะ จะไดเ้ ปรียบเทียบคะแนนของ
ตนเองวา่ มกี ารพฒั นาข้นึ หรอื ไม่ และอย่าลืมฝึกฝนตนเองเร่ือง การใช้สีใน
งานทศั นศลิ ปน์ ะคะ เพอ่ื จะได้ใชเ้ ปน็ พืน้ ฐานในการสร้างสรรค์ผลงาน
ในข้นั ตอ่ ไปค่ะ
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
๑. ค ๒. ข ๓. ก ๔. ค ๕. ข
๖. ก ๗. ค ๘. ค ๙. ง ๑๐. ง
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
๑. ข ๒. ค ๓. ง ๔. ข ๕. ง
๖. ก ๗. ก ๘. ง ๙. ข ๑๐. ค
บรรณำนกุ รม
ฉตั ร์ชัย อรรถปกั ษ์. องค์ประกอบศลิ ปะ. กรุงเทพฯ : วทิ ยพฒั น,์ ๒๕๕๐.
ชะลดู น่ิมเสมอ. องคป์ ระกอบของศลิ ปะ . กรงุ เทพฯ : อมรินทร์,๒๕๕๓.
เทียนชยั ต้ังพรประเสรฐิ . องค์ประกอบศิลป์ ๑, กรงุ เทพฯ : เฟ่ืองฟ้าพรนิ้ ติ้ง, ๒๕๔๐.
ธวชั ชานนท์ ตาไธสง. หลักกำรศิลปะ. กรงุ เทพฯ : วาดศลิ ป์, ๒๕๔๙.
สมภพ จงจติ ตโ์ พธา. จติ รกรรมสรำ้ งสรรค.์ กรุงเทพฯ : วาดศิลป,์ ๒๕๕๒.
______. ทศั นธำตุในงำนทัศนศิลป.์ กรงุ เทพฯ : วาดศิลป์, ๒๕๕๖.
______. องค์ประกอบศลิ ป์. กรงุ เทพฯ : วาดศลิ ป์, ๒๕๕๗.
อนนั ต์ ประภาโส. ทศั นธำตุในงำนทศั นศลิ ป์. ปทุมธานี : สิปประภา, ๒๕๕๗.