The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวสะตีมศึกษา (STEAM Education) หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ธรณีพิบัติภัย ประกอบไปด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งหมด 3 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
เล่มที่ 2 เรื่อง แผ่นดินไหว
เล่มที่ 3 เรื่อง สึนามิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kru.Sulkeflee Sophan, 2022-07-15 10:45:28

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้หน่วยธรณีพิบัติภัย เล่ม 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวสะตีมศึกษา (STEAM Education) หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ธรณีพิบัติภัย ประกอบไปด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งหมด 3 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
เล่มที่ 2 เรื่อง แผ่นดินไหว
เล่มที่ 3 เรื่อง สึนามิ

แผ่นดนิ ภเู ขาไฟ
ไหว ระเบดิ

สนึ ามิ

เลม่ ท่ี 1 เรื่อง ภเู ขาไฟระเบดิ

นายสลุ กิฟลี โสพันธ์
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชำนาญการ
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสตรียะลา อำเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา ยะลา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) ก
สำหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรอ่ื ง ภูเขาไฟระเบดิ

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวสะตีม
ศึกษา (STEAM Education) หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ธรณีพิบัติภัย ประกอบไปด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ ทงั้ หมด 3 เลม่ ดงั นี้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง ภเู ขาไฟระเบิด
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เล่มท่ี 2 เรอ่ื ง แผ่นดินไหว
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 เรอ่ื ง สนึ ามิ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อการสอนสำหรับครูผู้สอน เป็นสื่อการเรียนรู้
สำหรบั ผูเ้ รยี น และเป็นเคร่ืองมอื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนโดยยึดนักเรยี นเป็นสำคัญ
มงุ่ เนน้ ให้นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย สามารถ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ส่งเสริมกระบวนการคิด การสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ตลอดจนมีจิตวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมอันพงึ ประสงค์ รวมถงึ ทักษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
บทบาทของครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา ชี้แนะ เอื้ออำนวยความสะดวกและกระตุ้นให้นักเรียนประสบ
ความสำเร็จในการเรียนรู้

ผจู้ ัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชดุ กิจกรรมการเรียนร้นู ี้จะช่วยใหน้ ักเรียนเข้าใจเน้ือหาได้ง่ายและ
ชัดเจนขึน้ มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้นึ มเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรียนวิทยาศาสตร์ (โลก ดาราศาสตร์และ
อวกาศ) เป็นแนวทางหนึ่งให้นักเรียนพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ นอกจากจะใช้ประกอบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนแล้ว นักเรียนยังสามารถศึกษาด้วยตนเองเพื่อทบทวนเนื้อหา หรือ
สามารถนำไปใชใ้ นการเรยี นซอ่ มเสริมไดอ้ ีกด้วย

สลุ กิฟลี โสพันธ์
ผจู้ ัดทำ

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) ข
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มท่ี 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบดิ
หน้า
สารบญั

เรอื่ ง ข

คำนำ 1
สารบญั 2
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้/สาระการเรียนร/ู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3
ส่วนประกอบของชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4
คำชีแ้ จงสำหรบั ครู 5
คำชีแ้ จงสำหรบั นกั เรยี น 6
ข้ันตอนการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 7
บทบาทของครู 8
บทบาทของนกั เรียน 9
สงิ่ ที่ครูและนกั เรียนต้องเตรยี ม 12
ใบคำสัง่ 18
แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง ภูเขาไฟระเบิด 21
ใบความรทู้ ี่ 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบดิ 22
ใบกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 1.1 เรื่อง เอะ๊ !!! ภเู ขาไฟระเบดิ คืออะไรน่ะ? 26
ใบกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ 1.2 เร่อื ง เหตกุ ารณ์ภูเขาไฟระเบดิ ท่สี นใจ 29
ใบกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 1.3 เรอ่ื ง แบบจำลองภูเขาไฟระเบดิ 31
แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง ภูเขาไฟระเบิด
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลงั เรยี น
เฉลยใบกิจกรรมการเรียนรู้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) ค
สำหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เร่ือง ภเู ขาไฟระเบิด

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรยี นร/ู้
สาระการเรยี นรู้/จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

สาระและมาตรฐานการเรียนร้/ู ผลการเรยี นรู้

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ : เขา้ ใจกระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัย
และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การศึกษาลำดับชั้นหิน ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนำใช้
ประโยชน์

ผลการเรียนรู้
ม.4/5 อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิดและปัจจัยที่ทำให้เกดิ ความรนุ แรงของการ
ปะทุและรูปร่างของภูเขาไฟแตกต่างกัน รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนำเสนอ
แนวทางเฝา้ ระวงั และปฏบิ ัติตนให้ปลอดภยั ได้

สาระการเรียนรู้

• ภเู ขาไฟระเบิด
• แนวภเู ขาไฟระเบดิ
• รปู ร่างของภูเขาไฟ
• แนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากภเู ขาไฟระเบดิ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1) สามารถอธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบดิ โดยใชแ้ บบจำลองได้
2) สามารถระบุและอธิบายปจั จยั ท่ที ำให้ความรุนแรงของการประทแุ ละรปู ร่างของภูเขาไฟในแต่

ละพนื้ ที่
3) สามารถสืบค้นและนำเสนอข้อมลู พ้ืนท่ีเส่ียงภยั และผลจากการเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ ได้
4) นักเรยี นสามารถสืบค้นขอ้ มูล ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัติตน

ให้ปลอดภัยได้
5) สามารถออกแบบและสรา้ งสรรคแ์ บบจำลองภเู ขาไฟระเบดิ เพ่อื อธบิ ายการเกดิ ภูเขาไฟระเบิด

ได้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 1
สำหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning)

ตามแนวสะตมี ศกึ ษา (STEAM Education) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3

เร่อื ง ธรณีพบิ ตั ภิ ยั รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 (ว30251)

เล่มท่ี 1 เรื่อง ภเู ขาไฟระเบดิ

สว่ นประกอบของชุดกิจกรรมการเรยี นรู้

เนื้อหาภายในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และตรงตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ปรับปรุง
ปี 2564) โรงเรียนสตรียะลา รายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา
ว30251 สำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภายในชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย

1. คำช้ีแจงสำหรบั ครู
2. คำชแ้ี จงสำหรับนักเรียน
3. ขน้ั ตอนการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
4. บทบาทของครู
5. บทบาทของนักเรียน
6. ส่ิงทีค่ รูและนกั เรยี นตอ้ งเตรียม
7. ใบคำส่ัง
8. แบบทดสอบกอ่ น – หลงั เรยี น
9. ใบความรู้
10. ใบกิจกรรมการเรยี นรู้
11. ภาคผนวก

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น – หลังเรียน
เฉลยใบกจิ กรรมการเรียนรู้

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 2
สำหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เรอ่ื ง ภูเขาไฟระเบดิ

คำช้ีแจงสำหรับครู

ครูผใู้ ช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้จะตอ้ งศึกษาขั้นตอนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจ และ
ควรปฏิบตั ิ ดังนี้

1. ครูควรศึกษาการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิธสี อนและวธิ วี ัดผลประเมนิ ผลในแต่ละกิจกรรม
ใหเ้ ขา้ ใจ และควรคน้ ควา้ และอ่านเน้ือหาทีเ่ ก่ยี วข้องเพ่มิ เติม

2. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ใชเ้ วลา 10
นาที

3. ครูอธิบายและชี้แจงวิธีการเรียน บทบาทของตนเองในการดำเนินกิจกรรมในแต่ละชุด
กิจกรรมการเรยี นรู้ให้นักเรียนเข้าใจ

4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรม กลุ่มละ 5–6 คน คละความสามารถ แบ่งหน้าที่
รับผิดชอบภายในกลมุ่ และสลบั กนั ทำหนา้ ทใ่ี นทกุ ครง้ั ท่เี ข้าเรยี น

5. ครูดำเนินการจัดกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน
เกิดความสนใจในเน้อื หาที่กำลังเรยี นโดยคำนงึ ถึงความสามารถในการรับร้ขู องนกั เรียน และ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ ด้วยกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 5 ขน้ั (5E) ดังนี้
5.1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement)
5.2 ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
5.3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
5.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
5.5 ขั้นประเมิน (Evaluation)

6. ขณะปฏิบัติกิจกรรมครูพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือได้ทันที และควรให้คำแนะนำนักเรียน
อย่างใกล้ชิด

7. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ส่ิงท่ไี ด้เรียนมาโดยให้นักเรียนอภิปรายและครคู อยช้ีแนะ
8. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
9. หากมีนักเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครูควรให้นักเรียนนำชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ไม่ผ่าน เกณฑ์

ไปศกึ ษาเองเพม่ิ เตมิ นอกเวลาเรียน
10.ครูควรสรุปผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะหลังจากใช้ชุด

กจิ กรรมการเรียนรู้แต่ละคร้งั เพ่ือนำไปปรับปรุงในการใช้ครัง้ ต่อไป

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 3
สำหรบั นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

คำชแ้ี จงสำหรับนักเรยี น

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วย 3 เล่ม ชุดกิจกรรมการเรียนรูน้ ี้ เป็นชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ เล่มท่ี 1 เรือ่ ง ภเู ขาไฟระเบิด มีสว่ นประกอบดงั นี้
1.1 ใบคำสงั่
1.2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง ภูเขาไฟระเบิด
1.3 กระดาษคำตอบก่อนเรยี น
1.4 ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง ภเู ขาไฟระเบดิ
1.5 ใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 1.1 เรือ่ ง เอ๊ะ!!! ภเู ขาไฟระเบดิ คืออะไรน่ะ?
1.6 ใบกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1.2 เรื่อง เหตกุ ารณภ์ เู ขาไฟระเบิดที่สนใจ
1.7 ใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 1.3 เร่ือง แบบจำลองภเู ขาไฟระเบิด
1.8 แบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง ภูเขาไฟระเบดิ

1.9 กระดาษคำตอบหลังเรียน

2. การทำกิจกรรมโดยใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แต่ละชดุ ใหป้ ฏบิ ัติ ดงั น้ี
2.1 ศึกษาเนื้อหาวิธกี าร ใหเ้ ขา้ ใจหากไม่เข้าใจให้ขอคำแนะนำจากครกู ่อนจะทำชุดกิจกรรม
การเรยี นรู้
2.2 ทำกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เสร็จ แล้วจึงเปิดดูเฉลยชุดกิจกรรม หาก
กิจกรรมใดนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ควรกลับไปศึกษา เนื้อหานั้นซ้ำอีกรอบ
หากยังไม่เขา้ ใจให้ขอคำแนะนำจากครู

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 4
สำหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรื่อง ภเู ขาไฟระเบิด

ข้นั ตอนการใชช้ ุดกรรมการเรียนรู้

ศกึ ษาคำชแี้ จงสำหรับครแู ละนักเรียนในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้

ทำความเข้าใจในบทบาทของครูและนกั เรยี น

ศกึ ษาสิง่ ท่ีครูและนักเรียนต้องเตรยี ม
ทดสอบกอ่ นเรียน

ศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้

ทดสอบหลังเรยี น ไมผ่ า่ น

ผ่าน

ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เล่มต่อไป

ถ้าไม่ผา่ น..ตอ้ งกลบั ไปทบทวน
ใหมอ่ ีกครั้งนะครบั

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 5
สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 เร่ือง ภเู ขาไฟระเบิด

บทบาทของครู

1. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือประเมนิ ความรูเ้ ดิมของนักเรียน ก่อนเริม่ เรียนใน

แตล่ ะชดุ
3. เม่ือนกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเสร็จ ครคู วรตรวจคำตอบแลว้ แจง้ คะแนนให้นักเรียน

ทราบทนั ที
4. แบ่งนักเรียนเป็น 5 กลุ่มๆ ละ 5-6 คน คละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้ เรียนเก่ง 2 คน

ปานกลาง 2 คน และเรียนอ่อน 1-2 คน และเป็นกลุ่มตลอดการใช้ชุดกิจกรรม ตามความ
เหมาะสม
5. ครูแนะนำวธิ ีใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื ให้นักเรยี นปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างถูกต้อง
6. ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูควรให้การดูแลอย่างทั่วถึง และให้คำแนะนำกรณีที่
นักเรียนไม่เข้าใจในกิจกรรมต่างๆ เป็นรายบุคคล และต้องพยายามกระตุ้น ให้นักเรียน
ปฏิบตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเองให้มากทีส่ ุด
7. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จ
เรียบรอ้ ยในแตล่ ะชดุ
8. ครูตรวจคำตอบแบบทดสอบหลังเรียนแล้วแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบ อีกครั้งเพื่อดู
ความกา้ วหนา้ ของตนเอง
9. กรอกคะแนนในแต่ละกลุม่ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ท้งั คะแนนก่อนเรยี น ระหว่างกจิ กรรมการ
เรียน และหลงั เรยี นลงในแบบประเมินประสทิ ธิภาพของชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
10. ครคู วรยำ้ ใหน้ กั เรยี นเกบ็ ชุดกจิ กรรมการเรียนร้แู ละวัสดอุ ุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรียบรอ้ ยหลังเสร็จ
สิน้ การจดั การเรียนรูแ้ ตล่ ะครัง้
11. ครูควรสรปุ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ทุกครั้ง ตลอดจนปัญหาและข้อเสนอแนะไว้ด้วย
หลังจากท่ไี ด้ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรรู้ ายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 6
สำหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรอื่ ง ภเู ขาไฟระเบดิ

บทบาทของนักเรยี น

1. อ่านคำช้ีแจง ศึกษาวธิ กี ารใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้แู ละบทบาทของนักเรียนให้เข้าใจก่อนลง
มือศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้

2. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนจำนวน 10 ขอ้ โดยใช้เวลา 10 นาที เพ่ือตรวจสอบความรู้เดิมของ
นกั เรียน

3. นกั เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามขัน้ ตอนทีร่ ะบไุ ว้ในใบคำส่ัง
4. ขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหากมีขอ้ สงสัยใหข้ อคำแนะนำจากครู
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จ

เรยี บรอ้ ยในแตล่ ะชุด
6. หลังจากทำกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ประกอบ ชุดกิจกรรม

การเรยี นรู้ให้เรียบรอ้ ย
7. ในการทำกิจกรรมตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกเล่ม ขอให้นักเรียนทำด้วยความตั้งใจให้

ความร่วมมือ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด โดยไม่ดูเฉลยก่อนทำกิจกรรมและ
แบบทดสอบ
8. หากนักเรียนคนใดเรียนไม่ทันหรือเรียนยังไม่เข้าใจ ให้นำชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปศึกษา
เพิ่มเตมิ นอกเวลาเรียน เพ่ือใหเ้ ข้าใจมากย่ิงขนึ้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 7
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบิด

สงิ่ ทค่ี รูและนักเรียนตอ้ งเตรียม

สิ่งท่ีครูต้องเตรียม

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับ
นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง ภเู ขาไฟระเบิด

2. ศกึ ษาคู่มอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้โดยละเอียด และปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้
ให้ครบทุกขน้ั ตอน

3. ศึกษาเนื้อหา วิธีการจดั กิจกรรม การวัดและประเมนิ ผลของชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 4
เรื่อง ภเู ขาไฟระเบดิ โดยละเอยี ด

4. ควรเตรียมสือ่ วัสดุอปุ กรณ์ตา่ งๆ ใหพ้ รอ้ มใช้งาน

สิ่งที่นกั เรยี นตอ้ งเตรยี ม

1. หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมรายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 1 (สสวท.)
2. สมุดบันทึก
3. เคร่ืองเขียน

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 8
สำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

ใบคำสั่ง

คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นแต่ละคนปฏิบตั ิตามข้นั ตอนตอ่ ไปนี้

กจิ กรรมชวั่ โมงท่ี 1
1. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่ือง ภเู ขาไฟระเบดิ (10 นาท)ี
2. ศกึ ษาใบความรทู้ ี่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบดิ (10 นาท)ี
3. ทำใบกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1.1 เรื่อง เอะ๊ !!! ภูเขาไฟระเบิดคอื อะไรนะ่ ? (20 นาท)ี
4. นำเสนอกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 เรอ่ื ง เอะ๊ !!! ภูเขาไฟระเบดิ คืออะไรน่ะ? (20 นาที)
กิจกรรมช่ัวโมงท่ี 2-3
5. ศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด (เพิ่มเติม) / หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ

รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ เลม่ 1 (สสวท.) / ส่อื จากอนิ เตอรเ์ นต็ (10 นาท)ี
6. ทำใบกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 1.2 เร่ือง เหตกุ ารณภ์ เู ขาไฟระเบดิ ทีส่ นใจ (20 นาท)ี
7. ทำใบกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 1.3 เร่ือง แบบจำลองภูเขาไฟระเบดิ (60 นาที)
8. นำเสนอกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1.3 เร่อื ง แบบจำลองภูเขาไฟระเบิด (20 นาที)
9. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบิด (10 นาที)

เวลาทใ่ี ช้ 3 ชวั่ โมง

มาเร่มิ กนั เลยจา้ ...

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 9
สำหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง ภเู ขาไฟระเบดิ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มท่ี 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบดิ
คำชีแ้ จง 1. แบบทดสอบชุดนี้ เปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ขอ้

2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย X ลงใน
กระดาษคำตอบ (ใชเ้ วลา 10 นาท)ี

1. ขอ้ ความใดกล่าวถกู ต้อง 4. ภูเขาไฟที่เกดิ จากการทบั ถมซ้อนกันระหวา่ ง
ก. ภูเขาไฟมัวนาลัวในหมู่เกาะฮาวาย การไหลของลาวากับชิ้นส่วนภูเขาไฟ จัดเป็น
ภูเขาไฟประเภทใด
จดั เปน็ ภูเขาไฟรปู กรวย
ข. หลักการปะทุของภูเขาไฟ ลาวาที่มี ก. ภเู ขาไฟรปู โดม
ข. ภเู ขาไฟรูปแทน่
ปรมิ าณ ชลิ กิ ามาก เมอื่ เย็นตวั และแข็งตัวจะ ค. ภเู ขาไฟรูปโล่
กลายเปน็ หินบะซอลต์ ง. กรวยกรวดสลบั ช้นั

ค. "วงแหวนแห่งไฟ" (ring of fire) เป็น 5. บรเิ วณใดมโี อกาสเกิดภูเขาไฟมากท่สี ุด
แนวรอยเลื่อนที่เป็นที่ตั้งของภูเขาไฟที่ดับ ก. แนวรอยตอ่ ระหว่างแผน่ เปลอื กโลก
สนทิ แลว้ ข. บรเิ วณท่มี กี ารมดุ ตัวของแผน่ เปลอื กโลก
ค. บริเวณที่มีการเกิดหลุมยุบของแผ่นเปลือก
ง. ไม่มขี ้อใดถูก
โลก
2. ความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ ง. บริเวณที่มีการแยกหา่ งจากกนั ของแผ่น
ขนึ้ อยกู่ บั ปัจจัยขอ้ ใด
เปลือกโลก
ก. พลังงานท่ีสะสม
ข. คาบอบุ ัติซำ้ 6. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระโยชนท์ เ่ี กิดจากการระเบิดของ
ค. ความดันแก๊สใตเ้ ปลือกโลก ภูเขาไฟ
ง. ความหนืดของแมกมา
ก. เปน็ แหลง่ เกิดนำ้ พุรอ้ น
3. ความหนืดของแมกมาหรือหนิ หนืดขึ้นอยู่ ข. ทำให้เกิดทีร่ าบสงู ต่าง ๆ
ค. ทำใหเ้ กิดภาวะเรอื นกระจก
กบั ปรมิ าณของสารใด ง. ทำใหเ้ กดิ ดินที่เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู

ก. ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ ข. เหลก็ ออกไซด์

ค. อะลมู นิ มั ง. ซลิ ิกา

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 10
สำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เร่ือง ภูเขาไฟระเบดิ

7. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง 9. ข้อใดเป็นแนวทางที่ถูกต้องในการปฏบิ ัติตน
ก. แมกมาเป็นหินหลอมละลายทอ่ี ยู่นอก ใหป้ ลอดภยั จากภูเขาไฟระเบดิ
ชั้นเปลอื กโลก
ข. ลาวาเป็นหินหลอมละลายทส่ี ะสมอยู่ ก. ควรหลบอยู่ในส่งิ ก่อสรา้ ง
ภายในเปลือกโลก ข. ควรเก็บเคร่ืองมือสื่อสารไวภ้ ายในอาคาร
ค. แรงอัดทเ่ี กิดจากการดันตัวผ่านชนั้ หนิ ค. ใสห่ น้ากากอนามัยเพือ่ ป้องกนั เถ้าภเู ขาไฟ
ในเปลือกโลก ไม่มผี ลตอ่ การประทุ ง. ปิดวิทยุและโทรทัศน์เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
ของภเู ขาไฟ
ง. ภเู ขาไฟระเบิดเปน็ การประทขุ องแมก ไฟฟ้าร่ัว
มา แกส๊ ต่างๆ เศษหนิ เศษแร่ และ
เถา้ ธุลจี ากภายในโลกออกมาสู่ผิวโลก 10. ปรากฏการณใ์ นขอ้ ใดทมี่ ักเกิดข้ึนหลังจาก
ภูเขาไฟปะทุ
8. ข้อใดไม่อยู่บริเวณที่เรียกว่า “วงแหวน
แหง่ ไฟ” ก. นำ้ ทว่ ม
ข. ลมพายุ
ก. บรเิ วณขอบมหาสมทุ รแปซฟิ กิ ทั้งหมด ค. แผ่นดินไหว
ข. บริเวณรอยต่อเทือกเขาแอลป์และ ง. เกดิ ภูเขาไฟใหม่
เทือกเขาหิมาลยั
ค. ประเทศญป่ี ุ่นทง้ั หมด
ง. บริเวณด้านตะวันตกของประเทศ
เม็กซิโก

ไม่ยากทีใชไ่ หมครัช...
โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 11
สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เร่ือง ภูเขาไฟระเบดิ

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง ภเู ขาไฟระเบดิ

ชื่อ............................................................................................ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/....... เลขท.่ี ........

ขอ้ ที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนทไี่ ด้………... ลงชื่อ.....................................................ผู้ตรวจ

ผ่าน (.....................................................)
ไม่ผ่าน ........./.............../............

เกณฑก์ ารประเมิน บันทึกคะแนนเอาไว้
คะแนนเตม็ 10 คะแนน เปรียบเทยี บ กบั หลังเรยี น
8 – 10 คะแนน = ดีเยยี่ ม ด้วยนะครชั ...และพยายาม
5 – 7 คะแนน = ดมี าก
3 – 4 คะแนน = พอใช้ ตอ่ ไปน่ะ สู้ สู้
0 – 2 คะแนน = ปรับปรงุ

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 12
สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

ใบความรู้ท่ี 1 เร่ือง ภูเขาไฟระเบดิ

ภูเขาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก ซึ่งแผ่นธรณีทวีปดันกันทำให้ชั้นหินคด
โค้ง (Fold) เป็นรปู ประทนุ ควำ่ และประทุนหงายสลบั กัน ภเู ขาท่ีมียอดแบนราบอาจเกิดจากการยกตัว
ของเปลือกโลกตามบริเวณรอยเลือ่ น (Fault) แต่ภเู ขาไฟ (Volcano) มกี ำเนิดแตกต่างจากภูเขาท่ัวไป
ภูเขาไฟเกิดจากการยกตวั ของแมกมาใต้เปลือกโลก

ภาพที่ 1 โครงสรา้ งของภเู ขาไฟ
ทมี่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

สาเหตุของการเกดิ ภูเขาไฟระเบิด

กระบวนการระเบิดของภูเขานั้นยังไม่เป็นที่เข้าใจกระจ่างชัดนัก นักธรณีวิทยาคาดว่ามีการ
สะสมของความร้อนอย่างมากบริเวณนนั้ ทำให้มแี มกมา ไอน้ำ และแกส๊ สะสมตวั อยู่มากข้นึ เรอื่ ยๆ ซึ่ง
กอ่ ให้เกดิ ความดนั ความรอ้ นสูง เม่ือถึงจุดหนึ่งมนั จะระเบิดออกมา อัตราความรุนแรงของการระเบิด
ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิด รวมทั้งขึ้นอยู่กับความดันของไอ และความหนืดของลาวา ถ้า
ลาวาข้นมากๆ อัตราการรุนแรงของการระเบิดจะรนุ แรงมากตามไปดว้ ย เวลาภูเขาไฟระเบดิ มิใช่มีแต่
เฉพาะลาวาที่ไหลออกมาเท่านั้น ยังมีแก๊สไอน้ำ ฝุ่นผงเถ้าถ่านต่างๆ ออกมาด้วย มองเป็นกลุ่มควัน
ม้วนลงมา พวกไอน้ำจะควบแน่นกลายเป็นน้ำ นำเอาฝุ่นละอองเถา้ ต่างๆ ที่ตกลงมาด้วยกัน ไหลบ่า
กลายเป็นโคลนท่วมในบริเวณเชิงเขาต่ำลงไป ยิ่งถ้าภูเขาไฟน้ันมีหิมะคลุมอยู่ มันจะละลายหิมะ นำ
โคลนมาเป็นจำนวนมากได้ เชน่ ในกรณขี องภัยพิบตั ิท่เี กิดในประเทศโคลัมเบียเมื่อไม่นานนี้

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 13
สำหรับนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เร่ือง ภเู ขาไฟระเบิด

การระเบิดของภูเขาไฟระเบิดจะ ประเภทของภูเขาไฟ
รุนแรงหรือไม่ขึ้นอยู่กับปริมาณของ
แกส๊ และซลิ ิกาละลายอยใู่ นแมกมา 1. ภูเขาไฟที่มีพลัง (Active volcano) เป็น
ภูเขาไฟทค่ี ุกรุ่นอยตู่ ลอดเวลา อาจะปะทหุ รือระเบิด
- ถ้ามีแก๊สหรือซิลกิ ามาก >> แมก ขึ้นมาอีกเมื่อไหร่ก็ได้ ส่วนใหญ่พบตรงบริเวณแนว
มามีความหนดื มาก การปะทุจะรุนแรง รอยต่อของแผ่นธรณีภาค (ทั่วโลกมีอยู่ประมาณ
1,300 ลกู )
- ถ้ามีแก๊สหรอื ซลิ ิกาน้อย >> แมก
มามีความหนืดน้อย การปะทุจะไม่ 2. ภูเขาไฟสงบ (dormant) เป็นภูเขาไฟที่เคย
รุนแรงมาก เนื่องจากแก๊สสามารถลอย ปะทุแล้วแต่ยังคงสงบอยู่ เมื่อมีพลังเพิ่มพูนขึ้นใหม่
ออกมาจากแมกมาไดโ้ ดยงา่ ย มากพอก็อาจเกิดการปะทุขนึ้ มาอีกได้

รูปร่างของภเู ขาไฟ 3. ภูเขาไฟดับสนิท (extinct volcano) เป็น
ภเู ขาไฟท่ีไมม่ ีการปะทอุ กี ตอ่ ไป ไมป่ รากฎความรอ้ น
ใตพ้ ้นื ท่บี ริเวณนัน้

ภเู ขาไฟมรี ปู รา่ งสัณฐานต่าง ๆ กัน เนื่องจากเกิดขึน้ จากแมกมาซึ่งมีแหลง่ กำเนิดแตกต่างกัน
และมีองค์ประกอบของแร่แตกต่างกัน เราจำแนกชนิดของภูเขาไฟตามลักษณะทางกายภาพได้ 4
รูปร่าง ดงั นี้

1. ท่รี าบสูงบะซอลต์ (Basalt Plateau)

เกิดจากแมกมาบะซอลต์แทรกตัวขึ้นมาตามรอย

แตกของเปลือกโลกแล้วกลายเป็นลาวาไหลท่วม

บนพื้นผิว ในลักษณะเช่นเดียวกับน้ำท่วม เมื่อ

ลาวาเย็นตัวลงก็จะกลายเป็นทีร่ าบสูงลาวาขนาด

ใหญ่ประมาณ 100,000 ถึง 1,000,000 ตาราง

กโิ ลเมตร เช่น เกาะสกาย ประเทศอังกฤษ

ภาพที่ 2 ทร่ี าบสงู บะซอลต์ (เกาะสกาย)

ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 14
สำหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

2. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano)

เกิดขึ้นจากแมกมาบะซอลต์ที่มีความหนืดสูง ไหล

ออกมาฟอรม์ ตัวเปน็ ทรี่ าบสงู ลาวา แตค่ วามหนืดทำ

ให้แมกมาก่อตัวเป็นภูเขาไฟขนาดใหญ่และอาจสูง

ได้ถึง 9,000 เมตร แต่มีลาดชันเพียง 6 - 12 องศา

ภเู ขาไฟรูปโล่มักเกิดข้นึ จากแมกมาซึ่งยกตัวข้ึนจาก

จุดร้อน (Hotspot) ในเนื้อโลกชั้นล่าง (Lower

mantle) ตัวอย่างเช่น ภูเขาไฟมอนาคีบนเกาะ ภาพที่ 3 ภูเขาไฟรูปโล่ (มอนาค)ี

ฮาวาย ทก่ี ลางมหาสมุทรแปซิฟิก ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/

lithosphere/geological-phenomenon/volcano

3. กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder cone) เป็นภูเขาไฟขนาดเล็กมาก สูงประมาณ 100 - 400
เมตร ความลาดชนั ปานกลาง เกดิ จากการสะสมตัวของแก๊สร้อนในแมกมาท่ยี กตัวขนึ้ มา เมอื่ มคี วามดันสูง
เพียงพอ ก็จะระเบิดทำลายพื้นผิวโลกด้านบนเกิดเป็นปล่องภูเขาไฟ กรวดและเถ้าภูเขาไฟ กระเด็นข้นึ สู่
อากาศแลว้ ตกลงมากองทับถมกนั บรเิ วณปากปล่องเกิดเปน็ เนินเขารปู กรวย ข้อสังเกตคือ ภูเขาไฟแบบน้ี
ไมม่ ีธารลาวาซง่ึ เกดิ ข้ึนจากแมกมาไหล แตจ่ ะมลี กั ษณะเปน็ กรวดกลมๆ พุง่ ออกมาจากปากปลอ่ ง แล้วกอง
สะสมกันทำให้เกิดความลาดชันประมาณ 30 - 40 องศา เช่น กรวยภูเขาไฟในรัฐโอรีกอน ประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า

ภาพที่ 4 กรวยกรวดภเู ขาไฟ
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 15
สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบดิ

4. ภเู ขาไฟกรวยสลับช้นั (Composite cone volcano) เปน็ ภเู ขาไฟขนาดปานกลาง ท่ีมี
รูปทรงสวยงามเปน็ รปู กรวยควำ่ สงู ประมาณ 100 เมตร ถงึ 3,500 เมตร เรยี งตวั อยู่บรเิ วณเขตมุดตัว
(Subduction zone) เกิดขึ้นจากแผ่นธรณีมหาสมุทรที่หลอมละลายเป็นแมกมา แล้วยกตัวขึ้นดัน
เปลือกโลกขึ้นมาเป็นแนวภูเขาไฟรูปโค้ง (Volcanic arc) สิ่งที่ภูเขาไฟพ่นออกมามีทั้งธารลาวา และ
กรวดเถ้าภูเขาไฟ สลับชั้นกันไป เนื่องจากในบางครั้งแมกมาแข็งตัวปิดปากปล่องภูเขาไฟ ทำให้เกิด
แรงดันจากแก๊สร้อน ดันให้ภูเขาไฟระเบิดและเปลีย่ นรูปทรง ตัวอย่างเช่น ภูเขาไฟฟูจิ ประเทศญี่ปุ่น
ภเู ขาไฟพินาตูโบ ประเทศฟิลปิ ปินส์, ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน รฐั วอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ภูเขาไฟ
รูปกรวยเป็นแนวภูเขาไฟรูปโคง้ (Volcano arc) ซึง่ เกิดข้ึนจากแมกมาในบริเวณเขตมุดตัวของเปลือก
โลกมหาสมุทรที่หลอมละลาย ประเภทนี้ระเบิด จะมีความรุนแรงสูงและก่อให้เกิดความเสียหายเปน็
อย่างมาก

ภาพท่ี 5 ภเู ขาไฟกรวยสลับชนั้ (ฟูจ)ิ
ทมี่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

การประทุของภูเขาไฟ

ภูเขาไฟไมม่ คี าบการระเบิดทแี่ น่นอน ทงั้ น้ีข้ึนอยกู่ บั แรงดนั ภายในคณุ สมบัตแิ ละปริมาณหินที่
กดทับโพรงแมกมา อย่างไรกต็ ามนกั ธรณีวทิ ยาสามารถทำการพยากรณ์อย่างครา่ วๆ โดยการวเิ คราะห์
ความถี่ของคลน่ื ไหวสะเทือน ความรุนแรงของแผน่ ดินไหว ความเปน็ กรดของนำ้ ใต้ดินซง่ึ เกิดจากแมก
มาอณุ หภูมิสงู ทำใหแ้ ร่ธาตุละลายตวั และความผิดปกตขิ องพฤติกรรมสตั ว

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 16
สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เร่ือง ภเู ขาไฟระเบดิ

(ก) (ข) (ค) (ง)
ภาพท่ี 6 การปะทขุ องภูเขาไฟ

ท่ีมา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

การปะทุของภูเขาไฟที่รุนแรงเกิดขึ้น เมื่อแมกมาบะซอลต์ยกตัวขึ้นลอยตัวขึ้นจากชั้นฐาน
ธรณีภาค จะทำให้แผ่นเปลือกโลกธรณซี ่ึงเป็นหินแกรนิตหลอมละลายกลายเป็นแมกมาแกรนิต แล้ว
ดันพื้นผิวโลกให้โก่งตัวขึ้น (ภาพ ก) แรงอัดของแก๊สร้อนดันให้ปากปล่องภูเขาไฟระเบิด พ่นฝุ่นเถ้า
ภเู ขาไฟ (Pyroclastic flow) ซ่ึงมคี วามร้อนถึง 900 องศาเซลเซียสข้ึนสู่ช้นั บรรยากาศ (ภาพ ข) แล้ว
ตกลงมาทบั ถมกนั ที่บริเวณเนนิ ภูเขาไฟ (ภาพ ค) ทั้งลาวาทไี่ หลออกมาและเศษวัสดุท่ีตกลงมาทับถม
กัน ทำให้บริเวณรอบปากปล่องภูเขามีน้ำหนักมาก จึงทรุดตัวกลายเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด
(Caldera) เมือ่ เวลาผา่ นไปน้ำฝนตกลงมาสะสมกันทำให้เกดิ เป็นทะเลสาบ (ภาพ ง)

ประโยชน์และโทษของภเู ขาไฟ

ภูเขาไฟระเบิดใกล้ชุมชนทำให้เกิดมหันตภัยครั้งย่ิงใหญ่ แผ่นดินไหวทำให้อาคารพังพินาศ
ถนนขาด และไฟไหม้เนื่องจากท่อแก๊สถูกทำลาย ธารลาวา กรวดและเถ้าภูเขาไฟที่ไหลลงมา
(Pyroclastic flow) สามารถทับถมหมู่บ้านและเมืองที่อยู่รอบข้าง ถ้าภูเขาไฟอยู่ชายทะเล
แรงส่นั สะเทือนจากแผน่ ดนิ ไหวจะทำให้เกดิ คล่ืนสนึ ามิขนาดยักษก์ ระจายตัวออกไปได้ไกลหลายร้อย
กิโลเมตร ฝ่นุ และเถา้ ภูเขาไฟสามารถปลิวไปตามกระแสลมเปน็ อุปสรรคต่อการจราจรทางอากาศ แต่
อย่างไรก็ตามภูเขาไฟระเบิดหนึง่ เปน็ ส่วนหนึ่งของวัฏจักรธรณีแปรสัณฐาน ซึ่งหมุนเวียนธาตุอาหาร
ให้แก่ผิวโลก ดนิ ทีเ่ กดิ จากการสลายตวั ของหนิ ภเู ขาไฟ มคี วามอุดมสมบรู ณ์สูงใช้ปลกู พืชพรรณได้งอก
งาม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งปล่อยออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ทำให้พืชสามารถสังเคราะห์ธาตุ
อาหารดว้ ยแสง แมกมาใตเ้ ปลือกนำแร่ธาตุและอัญมณีท่ีหายาก เช่น เพชร พลอย ขึน้ มา เป็นตน้ และ
ด้วยเหตทุ ีภ่ เู ขาไฟนำมาซ่ึงความมง่ั คง่ั อุดมสมบูรณ์ ดังนัน้ ชุมชนจงึ มกั ต้งั อย่ทู เ่ี ชงิ ภเู ขาไฟ

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 17
สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง ภเู ขาไฟระเบิด

ใบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1
เรอ่ื ง เอะ๊ !!! ภูเขาไฟระเบิดคืออะไรน่ะ?

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบิด
2. ระบุและอธิบายปจั จยั ท่ีทำให้ความรุนแรงของการประทุและประเภทของภูเขาไฟในแต่ละ
พนื้ ที่
3. สบื คน้ และนำเสนอขอ้ มูลพื้นทเี่ ส่ียงภยั และผลจากการเกิดภเู ขาไฟระเบดิ และนำเสนอ
แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ติ นให้ปลอดภัยได้

วัสด-ุ อุปกรณ์

1. แบบบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1.1
2. กระดาษซาลาเปา

วธิ กี ารทำกจิ กรรม

1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 6 กลุ่ม คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ค่อนข้างเก่ง ปาน
กลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ กำหนดบทบาทหน้าทข่ี องสมาชิกในกลมุ่ เพ่ือให้ทุกคน
มสี ว่ นร่วมในการทำงาน โดยใหศ้ กึ ษาขอ้ มลู ดงั ต่อไปนี้

1) สาเหตุและกระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบดิ
2) ผลกระทบและประโยชนจ์ ากการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิด
3) รปู ร่างของภเู ขาไฟ
4) การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเกิดภเู ขาไฟระเบิด
5) การปฏิบัตติ นขณะเกิดภูเขาไฟระเบิด
6) การปฏบิ ัตติ นหลังเกิดภูเขาไฟระเบดิ
2. ครใู หน้ กั เรียนร่วมกนั สืบค้นขอ้ มูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ รายวิชาเพม่ิ เตมิ โลก ดารา
ศาสตร์ และอวกาศ 1 หรือสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต และรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาสรุปลงใน
กระดาษซาลาเปา
3. ครใู ห้นักเรยี นนำเสนอขอ้ มูลทีไ่ ด้ทำการรวบรวมและสรปุ มานำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
4. ครใู ห้แต่ละกลุ่มบันทกึ ข้อมูลลงในแบบบันทกึ การเรียนรูท้ ่ี 1.1 ทีเ่ พื่อนไดเ้ สนอหน้าช้ันเรียน
ในหัวข้อท่ีแตกต่างจากกล่มุ ตวั เองรับผดิ ชอบ

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 18
สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบดิ

แบบบนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรมการเรียนรู้
1) สาเหตแุ ละกระบวนการเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2) ผลกระทบและประโยชน์จากการเกิดภเู ขาไฟระเบดิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3) รปู ร่างของภเู ขาไฟ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4) การเตรียมความพร้อมก่อนเกดิ ภูเขาไฟระเบิด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5) การปฏบิ ัติตนขณะเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
….…………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 19
สำหรับนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด

6) การปฏิบตั ิตนหลังเกิดภเู ขาไฟระเบิด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำถามท้ายกิจกรรม
1. เพราะเหตใุ ด การปะทุของภเู ขาไฟมคี วามรุนแรงทแ่ี ตกต่างกนั
ตอบ........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ภเู ขาไฟส่วนมากเกดิ จากแผ่นธรณีเคลือ่ นที่ในลักษณะใด
ตอบ........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ในประเทศไทยส่วนใหญม่ ภี ูเขาไฟรูปแบบใด พร้อมยกตัวอย่างภูเขาไฟทีม่ อี ยู่ในประเทศไทยอยา่ ง
นอ้ ย 2 ตัวอยา่ ง
ตอบ........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เปน็ อย่างไรบ้างครับ
คำถามไมอ่ ยากเลยใช่ไหมครบั

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 20
สำหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

ใบกิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ 1.2
เรอื่ ง เหตุการณ์ภูเขาไฟระเบดิ ทส่ี นใจ

คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลเก่ยี วกบั เหตุการณภ์ ูเขาไฟระเบดิ ทน่ี กั เรียนสนใจแล้วสรปุ ความรใู้ น
ประเดน็ ที่กำหนดใหด้ ังนี้

เหตกุ ารณ์ภูเขาไฟระเบดิ เกิดขน้ึ บรเิ วณใด และช่วงเวลาใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………….……
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………….……
..........................................................................................................................................................
.

สาเหตุทท่ี ำใหเ้ กดิ ภูเขาไฟระเบดิ
……………………………………………………………………………………………………………………….…………..……
…………………………………………………………………………………………………………..….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………………..….…………………
….

ผลกระทบทเ่ี กิดจากภูเขาไฟระเบดิ
…………………………………………………………………………………………………………………….....……….………
………………………………………………………………………………………………………………………..……….………
………………………………………………………………………………………………………………………..……….………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
.

รปู แบบของภูเขาไฟ

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 21
สำหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

ใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 1.3
เรอ่ื ง แบบจำลองภูเขาไฟระเบิด

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. นักเรียนสามารถนำความรู้เรอื่ งรปู แบบของภูเขาไฟ
2. นกั เรียนสามารถออกแบบและสรา้ งแบบจำลองภูเขาไฟระเบิด
3. นกั เรยี นสามารถสืบค้นและนำเสนอรปู แบบของภูเขาไฟระเบดิ ตามทน่ี กั เรียนสนใจ

วัสด-ุ อุปกรณ์ 5. นำ้ สม้ สายชู
6. ถ้วย
1. ถาด 7. สผี สมอาหาร
2. ดนิ น้ำมนั
3. เบกก้ิงโซดา
4. น้ำยาล้างจาน

วธิ กี ารทำกิจกรรม

1. ครูกำหนดสถานการณ์ “นักเรียนเป็นผู้โชคดีได้รับทุนการศึกษาเพื่อการท่องเที่ยวจาก
หนว่ ยงานทางการศกึ ษาพรอ้ มกบั ครอบครวั ได้ไปเท่ยี วในประเทศอินโดนเี ซยี ซงึ่ เป็นประเทศทเี่ ป็น
เกาะและส่วนใหญ่เป็นภูเขาไฟที่มีหลากหลายรูปแบบ ในระหว่างการท่องเที่ยวนักเรียนได้รับ
มอบหมายใหศ้ กึ ษา เก็บข้อมลู รปู แบบของภเู ขาไฟ กระบวนการเกิด พรอ้ มสร้างแบบจำลองภูเขา
ไฟและสาธิตการระเบิดของภูเขาไฟ เพื่อไปเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จาการท่องเที่ยวสู่
ห้องเรียนของนักเรียน โดยกำหนดการจำลองการเกิดภูเขาไฟควรมีความสูงอย่างน้อย 10
เซนตเิ มตร พรอ้ มตกแต่รอบๆ ภเู ขาไฟอยา่ งสรา้ งสรรค์ สวยงาม”

2. ให้นกั เรียนออกแบบและรา่ งแบบ แบบจำลองภูเขาไฟระเบดิ ตามที่กลมุ่ นกั เรียนสนใจ
3. ครใู หน้ ักเรยี นสร้างแบบจำลองภูเขาไฟระเบดิ ตามท่ีได้ออกแบบไว้
4. เมื่อสร้างแบบจำลองเสร็จแล้วให้นำมาทดสอบการปะทขุ องภเู ขาไฟระเบิด ตามส่วนผสมที่
นักเรยี นไดค้ ำนวณไว้
5. ถ้าหากกลุ่มไหนทดสอบและเป็นไปตามรูปแบบของภูเขาไฟระเบดิ แต่ถ้ากลุ่มไหนทดสอบ
แล้วไม่เป็นไปตามรูปแบบของภูเขาไฟระเบิด ให้กลับไปแก้ไขสัดส่วนที่คำนวณไว้และมาทดสอบอีก
คร้งั พรอ้ มระบปุ ญั หาและวิธกี ารแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 22
สำหรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด

1. จากสถานการณท์ ่ีกำหนดให้ จงระบปุ ัญหาท่ีนักเรยี นจะต้องแกไ้ ข
ตอบ........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

วทิ ยาศาสตร์ (S)
(S)

เทคโนโลยี (T)
(S)
(S)

วิศวกรรม (E)
(S)
(S)

ศิลปะ (A)
(S)
(S)

คณติ ศาสตร์ (M)
(S)
(S)

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 23
สำหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง ภเู ขาไฟระเบิด

2. วาดภาพร่าง 3 มิติ ของสิ่งปลูกสร้าง พร้อมทั้งระบุมาตราส่วนและขนาด รวมทั้งคำนวณปริมาณ
วัสดุที่จะใช้ในการกอ่ สร้าง

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 24
สำหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง ภเู ขาไฟระเบดิ

บันทึกการแก้แบบ

ปญั หาทน่ี ำไปสู่การแกแ้ บบ และแนวทางการแกป้ ัญหา

3. จากกจิ กรรมข้างตน้ นกั เรียนสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
ตอบ........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 25
สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบิด

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เลม่ ท่ี 1 เรื่อง ภเู ขาไฟระเบิด
คำชีแ้ จง 1. แบบทดสอบชุดน้ี เปน็ แบบทดสอบแบบปรนยั 4 ตวั เลือก จำนวน 10 ข้อ

2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย X ลงใน
กระดาษคำตอบ (ใชเ้ วลา 10 นาที)

1. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง 4. ข้อใดเป็นแนวทางที่ถูกต้องในการปฏิบัติตน
ก. แมกมาเปน็ หนิ หลอมละลายที่อยู่นอก ใหป้ ลอดภยั จากภเู ขาไฟระเบดิ
ชัน้ เปลือกโลก
ข. ลาวาเป็นหินหลอมละลายที่สะสมอยู่ ก. ควรหลบอยใู่ นสงิ่ ก่อสร้าง
ภายในเปลือกโลก ข. ควรเกบ็ เครือ่ งมือสื่อสารไว้ภายในอาคาร
ค. แรงอัดท่ีเกิดจากการดันตวั ผ่านชั้นหิน ค. ใสห่ น้ากากอนามัยเพ่ือปอ้ งกนั เถ้าภเู ขาไฟ
ในเปลือกโลก ไม่มีผลต่อการประทุ ง. ปิดวิทยุและโทรทัศน์เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
ของภูเขาไฟ
ง. ภูเขาไฟระเบิดเป็นการประทุของแมก ไฟฟ้ารั่ว
มา แก๊สต่างๆ เศษหิน เศษแร่ และ 5. ภูเขาไฟที่เกิดจากการทับถมซ้อนกันระหว่าง
เถ้าธุลจี ากภายในโลกออกมาสู่ผิวโลก การไหลของลาวากับชิ้นส่วนภูเขาไฟ จัดเป็น
ภูเขาไฟประเภทใด

ก. ภเู ขาไฟรูปโดม ข. ภเู ขาไฟรูปแท่น
ค. ภเู ขาไฟรูปโล่ ง. กรวยกรวดสลบั ชั้น

2. ข้อใดไม่อยู่บริเวณทีเ่ รียกว่า “วงแหวน 6. ปรากฏการณ์ในข้อใดที่มักเกิดขึ้นหลังจาก
แหง่ ไฟ”
ภูเขาไฟปะทุ
ก. บรเิ วณขอบมหาสมุทรแปซฟิ กิ ทัง้ หมด
ข. บริเวณรอยต่อเทือกเขาแอลป์และ ก. น้ำท่วม ข. ลมพายุ
เทือกเขาหมิ าลยั
ค. ประเทศญปี่ นุ่ ท้งั หมด ค. แผ่นดินไหว ง. เกิดภเู ขาไฟใหม่
ง. บรเิ วณด้านตะวนั ตกของประเทศเมก็ ซิโก
7. ความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ
3. ความหนืดของแมกมาหรือหินหนืด ขน้ึ อย่กู ับปัจจยั ข้อใด

ขึ้นอยกู่ ับปรมิ าณของสารใด ก. พลังงานทีส่ ะสม
ข. คาบอุบัตซิ ำ้
ก. ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ ข. เหลก็ ออกไซด์ ค. ความดนั แก๊สใต้เปลือกโลก
ง. ความหนืดของแมกมา
ค. อะลมู นิ มั ง. ซลิ ิกา

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 27
สำหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

8. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่เกิดจากการ 10. ขอ้ ความใดกล่าวถูกตอ้ ง
ระเบดิ ของภูเขาไฟ ก. ภูเขาไฟมัวนาลัวในหมู่เกาะฮาวาย

ก. เปน็ แหลง่ เกิดนำ้ พรุ อ้ น จัดเปน็ ภูเขาไฟรปู กรวย
ข. ทำใหเ้ กดิ ที่ราบสงู ตา่ งๆ ข. หลักการปะทุของภูเขาไฟ ลาวาที่มี
ค. ทำให้เกิดภาวะเรอื นกระจก
ง. ทำให้เกดิ ดินท่ีเหมาะแก่การเพาะปลูก ปริมาณ ชิลิกามาก เมื่อเย็นตัวและแข็งตัวจะ
กลายเป็นหินบะซอลต์
9. บรเิ วณใดมีโอกาสเกิดภเู ขาไฟมากท่สี ดุ
ก. แนวรอยตอ่ ระหวา่ งแผน่ เปลอื กโลก ค. "วงแหวนแห่งไฟ" (ring of fire) เป็น
ข. บริเวณที่มีการมุดตัวของแผ่นเปลือก แนวรอยเลื่อนที่เป็นที่ตั้งของภูเขาไฟที่ดับ
สนิทแล้ว
โลก
ค. บริเวณที่มีการเกิดหลุมยุบของแผ่น ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถกู

เปลอื กโลก
ง. บรเิ วณทีม่ ีการแยกห่างจากกนั ของ

ขอใหโ้ ชคดีในการตอบน่ะครัช...
โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 28
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เลม่ ท่ี 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบดิ

ชื่อ............................................................................................ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/....... เลขที่.........

คะแนนที่ได้………... ขอ้ ที่ ก ข ค ง เกง่ มากครบั ...ไม่ยาก
ผ่าน 1 เกินความพยายาม
ไม่ผ่าน 2 ของนักเรียนใช่ไหม...
3 ผ่านกันไหมเอย.....
เกณฑ์การประเมนิ 4
คะแนนเต็ม 10 คะแนน 5
8 – 10 คะแนน = ดีเย่ยี ม 6
5 – 7 คะแนน = ดมี าก 7
3 – 4 คะแนน = พอใช้ 8
0 – 2 คะแนน = ปรับปรงุ 9
10

ลงชื่อ.....................................................ผ้ตู รวจ

(.....................................................)
........./.............../............

สรปุ ผลการทดสอบ

ทดสอบกอ่ นเรียนได้.............คะแนน
ทดสอบหลงั เรยี น ได.้ ............คะแนน
ผลตา่ ง..................................คะแนน

ผลการประเมนิ ผ่าน

ไม่ผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ

ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 29
สำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่
ประเทศไทย จำกัด.

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2560). คู่มือครูหนังสือเรียนกระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551.
กรุงเทพมหานคร: บริษัทพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ(พว.).

จุฑาเทพ จิตวิลัย และชัยศาสตร์ คเชนท์สุวรรณ. (2560). สรุปหลักคิด พิชิตข้อสอบ โลก ดารา
ศาสตร์ อวกาศ ฉบับ TCAS มั่นใจเต็ม 100. (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: บริษัท ไอดีซี
พรีเมียร์ จำกดั .

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานโลก
ดาราศาสตร์และอวกาศ (พมิ พ์คร้ังที่ 8). กรงุ เทพ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรงุ เทพ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ชุดการอบรมครูผู้ช่วยหรือครูบรรจุใหม่ วิชา
โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. สบื คน้ เมือ่ 20 พฤษภาคม
2560, จากช่ือเวบ็ ไซต์ http://pd.ipst.ac.th/?p=1311

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). คู่มือครรู ายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่ม 1 (พมิ พค์ ร้ังท่ี 1). กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พ์ สกสค.

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 30
สำหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

บรรณานกุ รม (ต่อ)

เวบ็ ไซต์อ้างอิงรปู ภาพ
ภาพท่ี 1 โครงสรา้ งของภูเขาไฟ ;

ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ภาพที่ 2 ทีร่ าบสูงบะซอลต์ (เกาะสกาย) ;

ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ภาพท่ี 3 ภเู ขาไฟรปู โล่ (มอนาค)ี ;

ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ภาพที่ 4 กรวยกรวดภูเขาไฟ ;

ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ภาพที่ 5 ภูเขาไฟกรวยสลบั ช้นั (ฟจู ิ) ;

ทมี่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ภาพที่ 6 การปะทขุ องภูเขาไฟ ;

ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 31
สำหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มท่ี 1 เร่ือง ภเู ขาไฟระเบดิ

ภาคผนวก

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 32
สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบดิ

เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
เล่มท่ี 1 เรอื่ ง ภเู ขาไฟระเบิด

แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน

ขอ้ ที่ เฉลยคำตอบ ข้อท่ี เฉลยคำตอบ
1ง 1ง
2ง 2ข
3ง 3ง
4ง 4ค
5ก 5ง
6ค 6ค
7ง 7ง
8ข 8ค
9ค 9ก
10 ค 10 ง

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 33
สำหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด

เฉลยใบกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1.1
เรอื่ ง เอ๊ะ!!! ภเู ขาไฟระเบิดคอื อะไรนะ่ ?

แบบบนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรมการเรียนรู้
1) สาเหตแุ ละกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด

เนื่องจากเปลือกโลกชั้นนอกของโลกเรามีพื้นที่ไมเ่ รียบเสมอกันเปลือกโลกชั้นในมลี ักษณะ
เป็นหินเมอ่ื ได้รับความรอ้ นท่แี ผ่ออกมาจากแกน่ โลกทำใหก้ ลายเป็นหินเหลวหนืดที่เรยี กว่าแมกมา(หิน
หนืดทีอ่ ย่ภู ายใต้แผน่ เปลอื กโลกจะถูกเรียกว่าแมกมาเมอ่ื มกี ารดนั ตวั มาสู่ชั้นบรรยากาศของโลกจะถูก
เรยี กวา่ ลาวา) และเมื่อไดร้ ับความร้อนจากแกน่ โลกมากเข้าก็จะไหลวนเวียนเฉกเชน่ เดียวกับน้ำในกา
ต้มน้ำร้อนที่วิ่งไปรอบกาน้ำพร้อมกับส่งควันพวยพุ่งออกมาตามช่องระบายภูเขาไฟก็เช่นกันและใน
ทส่ี ุดก็พุ่งทะลักออกมาตามรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก
2) ผลกระทบและประโยชนจ์ ากการเกิดภูเขาไฟระเบดิ

ภเู ขาไฟระเบิดใกล้ชุมชนทำให้เกิดมหันตภยั ครัง้ ยิ่งใหญ่ แผน่ ดนิ ไหวทำให้อาคารพังพินาศ
ถนนขาด และไฟไหม้เนื่องจากท่อแก๊สถูกทำลาย ธารลาวา กรวดและเถ้าภูเขาไฟที่ไหลลงมา
(Pyroclastic flow) สามารถทับถมหมู่บ้านและเมืองที่อยู่รอบข้าง ถ้าภูเขาไฟ อยู่ชายทะเล
แรงสน่ั สะเทือนจากแผ่นดนิ ไหวจะทำใหเ้ กิดคลื่นสึนามิขนาดยกั ษก์ ระจายตวั ออกไปได้ไกลหลายร้อย
กโิ ลเมตร ฝุน่ และเถ้าภเู ขาไฟสามารถปลวิ ไปตามกระแสลมเป็นอุปสรรคต่อการจราจรทางอากาศ แต่
อย่างไรก็ตามภูเขาไฟระเบิดหนึง่ เปน็ ส่วนหนึ่งของวัฏจักรธรณีแปรสัณฐาน ซึ่งหมุนเวียนธาตุอาหาร
ให้แกผ่ ิวโลก ดนิ ที่เกดิ จากการสลายตวั ของหินภเู ขาไฟ มคี วามอุดมสมบูรณ์สูงใช้ปลูกพืชพรรณได้งอก
งาม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งปล่อยออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ทำให้พืชสามารถสังเคราะห์ธาตุ
อาหารดว้ ยแสง แมกมาใตเ้ ปลอื กนำแร่ธาตแุ ละอญั มณที ่ีหายาก เช่น เพชร พลอย ข้ึนมา เปน็ ต้น และ
ด้วยเหตทุ ีภ่ ูเขาไฟนำมาซึง่ ความมั่งคั่งอดุ มสมบูรณ์ ดงั นัน้ ชุมชนจงึ มกั ตั้งอยูท่ ่เี ชิงภเู ขาไฟ
3) ประเภทของภเู ขาไฟ

ภูเขาไฟมรี ปู ร่างสัณฐานต่างๆ กนั เนื่องจากเกิดข้นึ จากแมกมาซ่ึงมแี หล่งกำเนิดแตกต่างกัน
และมีองค์ประกอบของแร่แตกต่างกัน เราจำแนกชนิดของภูเขาไฟตามลักษณะทางกายภาพได้ 4
ประเภท ดงั นี้

1. ที่ราบสูงลาวา (Basalt Plateau) เกิดจากแมกมาบะซอลต์แทรกตัวขึน้ มาตามรอยแตก
ของเปลือกโลกแล้วกลายเป็นลาวาไหลท่วมบนพนื้ ผิว ในลักษณะเชน่ เดียวกบั นำ้ ท่วม เม่อื ลาวาเย็นตัว
ลงก็จะกลายเป็นที่ราบสูงลาวาขนาดใหญ่ประมาณ 100,000 ถึง 1,000,000 ตารางกิโลเมตร เช่น
เกาะสกาย ประเทศองั กฤษ

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 34
สำหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เรื่อง ภเู ขาไฟระเบิด

2. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano):เป็นภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่ โดยพื้นฐานแล้วภูเขาไฟ
ชนิดน้ีเกดิ จาก ลาวาชนิดบะซอลท์ที่ไหลด้วยความหนดื ตำ่ ลาวามลี ักษณะเหลว ไหลไดเ้ รว็ และแข็งตัว
ช้า การระเบิดไม่รนุ แรง ลาวาที่ไหลมาจากปล่องกลาง และไม่กองสูงชัน เหมือนภูเขาไฟชนิดกรวย
สลับชั้น ภูเขาไฟชนิดนี้มักจะเป็นภูเขาไฟที่ใหญ่ เช่น ภูเขาไฟ Mauna Loa (ฮาวาย) เขาไฟมอนาคี
บนเกาะฮาวาย

3. กรวยภูเขาไฟสลับชั้น (Composite Cone Volcano) เป็นภูเขาไฟซึ่งเกิดจากการสลับ
หมุนเวียนของชั้นลาวา และเศษหิน ภูเขาไฟชนิดนี้อาจจะดันลาวาไหลออกมาเป็นเวลานาน และจะ
เปลีย่ นแปลงรปู แบบการประทุอย่างกะทันหนั เป็นภูเขาไฟทมี่ กี ารระเบดิ รนุ แรงที่สุด เป็นภูเขาไฟที่มี
ปลอ่ งขนาดใหญ่ และมีแอง่ ปากปล่อง (Crater) ขนาดใหญ่ด้วย ภเู ขาไฟชนิดนี้ทีม่ ีชือ่ เสยี ง เช่น ภูเขา
ไฟฟูจิ (ญ่ีปนุ่ ), ภูเขาไฟมายอน (ฟิลิปปินส)์ และ ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน (สหรัฐอเมริกา)

4. กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone) ภูเขาไฟชนิดนจี้ ะสงู ชันมาก และเกิดจากลาวาที่พุ่ง
ออกมาทับถมกัน ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะเป็นลาวาลกู กลมๆ ที่พุ่ง
ออกมาจากปล่องเดี่ยว และทับถมกันบริเวณรอบปล่อง ทำให้ภูเขาไฟชนิดนี้ไม่ค่อยก่อให้เกิดความ
สูญเสียชวี ิตมากมาย

4) การเตรียมความพรอ้ มก่อนเกดิ ภูเขาไฟระเบิด
1. ศึกษาระบบบการเตอื นภัยและเสน้ ทางอพยพของท้องถิน่ อย่เู สมอ
2. รว่ มมอื กันวางแผนการอพยพและจดุ นัดพบของตวั เองและครอบครวั
3. เตรียมอุปกรณ์ยังชีพ เชน ยา อาหาร น้ำ หน้ากากป้องกันฝุ่นและควัน แว่นตากันฝุ่น

วิทยุ ไฟฉายและแบตเตอรส่ี ำรอง
4. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องตน้
5. ตดิ ตามข่าวสารอยู่เสมอ

5) การปฏิบตั ิตนขณะเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ
1. พยายามคงบคุมสติ อยา่ ตนื่ ตระหนก
2. หากต้องอพยพ ให้หลบอยูภ่ ายในอาคารที่ปิดมิดชิด และใส่เสื้อผ้าที่รัดกุมมากที่สุดและ

ใชผ้ า้ หรือหนา้ กากปิดปากเพื่อป้องกนั ฝ่นุ
3. หากอยู่ในที่โลง่ ให้หลบเขา้ ในอาคารหรือทีก่ ำบังทมี่ ิดชิดใหเ้ ร็วท่ีสดุ
4. หลกี เลยี่ งอนั ตรายจากลาวาหลากโดยไมอ่ ยู่บรเิ วณทต่ี ่ำหรอื บริเวณที่เป็นแอ่ง
5. หลีกเลีย่ งอันตรายจากแกส๊ โดยให้อยบู่ ริเวณเหนอื ลม
6. หลกี เล่ียงอันตรายจากโคลนถล่มโดยอยู่ห่างจากปลายแมน่ ำ้ หรือช่องหุบเขา

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 35
สำหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด

6) การปฏิบตั ิตนหลงั เกดิ ภูเขาไฟระเบดิ
1. ควรตรวจสอบตัวเองและบุคคลข้างเคียงว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ และให้ทำการปฐม

พยาบาลเบ้อื งต้น
2. ใส่รองเท้าหุ้มส้นเสมอ เพื่อป้องกันเศษแก้ว หรือวัสดุแหลมคมอื่น ๆ และสิ่งหักฟังซึ่ง

อาจทำให้ไดร้ ับบาดเจ็บ
3. เปิดวทิ ยุฟังคำแนะนำฉุกเฉิน หลกี เล่ียงการใช้โทรศัพท์ นอกจากมีความจำเป็น
4. อย่าแพร่ขา่ วลอื
5. หากมีการอพยพ จะกลบั เข้าไปในพนื้ ท่เี สี่ยงภัยไดเ้ มือ่ มีประกาศจากศูนย์เตอื นภัยให้กลับ

เข้าพ้ืนทีไ่ ด้

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. เพราะเหตใุ ด การปะทุของภเู ขาไฟมีความรนุ แรงทีแ่ ตกตา่ งกัน
ตอบ เพราะลาวามีความหนืดแตกต่างกัน ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ควบคุมความหนืดของลาวาคือ
ปริมาณซิลิกา หากลาวามีปริมาณซิลิกาน้อยจะทำให้ลาวามีความหนืดต่ำ จะมีการปะทุที่ไม่รุนแรง
หากลาวามีปรมิ าณของซลิ ิกามากจำทำใหล้ าวามคี วามหนืดสูง จะมกี ารปะททุ ีร่ ุนแรง

2. ภเู ขาไฟสว่ นมากเกิดจากแผ่นธรณีเคลอ่ื นท่ีในลักษณะใด
ตอบ การเคลื่อนทชี่ นกนั ของเปลอื กโลก

3. ในประเทศไทยส่วนใหญ่มภี เู ขาไฟรูปแบบใด พร้อมยกตัวอย่างภูเขาไฟทีม่ อี ยู่ในประเทศไทยอยา่ ง
นอ้ ย 2 ตัวอย่าง
ตอบ สว่ นใหญเ่ ปน็ ภเู ขาแบบโล่ เช่น ภเู ขาไฟหนิ หลบุ จ.บุรีรมั ย์ ภเู ขาไฟองั คาร จ.บุรีรัมย์

เป็นอย่างไรบา้ งครบั
คำถามไมอ่ ยากเลยใชไ่ หมครบั

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 36
สำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบิด

เฉลยใบกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1.2
เรื่อง เหตกุ ารณ์ภเู ขาไฟระเบดิ ท่สี นใจ

คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนสืบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกับเหตกุ ารณภ์ เู ขาไฟระเบิดที่นกั เรยี นสนใจแลว้ สรปุ ความรู้ใน
ประเดน็ ท่กี ำหนดให้ดงั น้ี

เหตุการณภ์ เู ขาไฟระเบิดเกิดขนึ้ บริเวณใด และช่วงเวลาใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..……ดลุ ยพนิ ิจของผสู้ อน……………………………..……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................. .........................

......
สาเหตทุ ี่ทำให้เกิดภเู ขาไฟระเบดิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..……ดลุ ยพนิ ิจของผู้สอน……………………………..……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
......................................................................................................................................................

......
ผลกระทบทีเ่ กดิ จากภูเขาไฟระเบดิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..……ดลุ ยพินิจของผสู้ อน……………………………..……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................. .........................

......
รปู แบบของภูเขาไฟ

ดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 37
สำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มท่ี 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบดิ

เฉลยใบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1.3
เร่ือง แบบจำลองภูเขาไฟระเบดิ

1. จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ จงระบปุ ัญหาท่ีนักเรียนจะต้องแก้ไข
ตอบ ให้นักเรียนสรา้ งแบบจำลองภูเขาไฟตามท่ีนักเรียนสนใจเพือ่ ทดสอบการระเบดิ ของภูเขาไฟ ให้
สร้างภูเขาไฟมีความสูงอย่างน้อย 10 เซนติเมตร ภายในถาดและตกแต่งโดยรอบของภเขาไฟให้
สวยงามตามที่นกั เรยี นออกแบบ

วิทยาศาสตร์ (S) - ภูเขาไฟระเบิดและรปู รา่ งของภูเขาไฟ
(S) - การเคลือ่ นท่ขี องแผ่นธรณี

เทคโนโลยี (T) - การทำปฏิกริ ยิ าระหว่างกรดและเบส

(S) การสืบคน้ ข้อมูล การเลอื กใช้วสั ดุที่เหมาะสมในการประดิษฐช์ ิน้ งาน

(S)
วศิ วกรรม (E)

(S) กระบวนการออกแบบและประดิษฐช์ ิ้นงานเชงิ วิศวกรรม

(S)

ศลิ ปะ (A) การออกแบบและวาดแบบจำลอง หรือภาพรา่ ง 3 มติ ิ
(S)

(S)
คณติ ศาสตร์ (M)

การค(Sำ)นวณปริมาณสารและการใชป้ ระโยชน์จากรปู เรขาคณติ ตา่ ง ๆ ในการออกแบบชน้ิ งาน

(S)

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 38
สำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรอื่ ง ภเู ขาไฟระเบดิ

2. วาดภาพร่าง 3 มิติ ของสิ่งปลูกสร้าง พร้อมทั้งระบุมาตราส่วนและขนาด รวมทั้งคำนวณปริมาณ
วัสดทุ จ่ี ะใชใ้ นการก่อสรา้ ง

ดลุ ยพนิ ิจของผู้สอน

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 39
สำหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มที่ 1 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบิด

บันทกึ การแกแ้ บบ

ดลุ ยพินิจของผูส้ อน

ปัญหาท่ีนำไปสู่การแก้แบบ และแนวทางการแก้ปัญหา

ดุลยพินิจของผ้สู อน

3. จากกิจกรรมขา้ งตน้ นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวันได้อย่างไร
ตอบ........................................................................................................................................................
.................................................................ด...ลุ ..ย..พ...นิ...ิจ..ข..อ...ง.ผ...สู้ ..อ..น...................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 40
สำหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบดิ

ประวัตยิ ่อผู้จัดทำ

ชอ่ื – ชอ่ื สกุล นายสลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์

วนั เดือน ปเี กดิ 10 มิถนุ ายน 2528

สถานท่ีเกิด จงั หวดั ยะลา

สถานท่ีอยู่ปัจจบุ ัน 56/40 ถนนบ้านเปาะยานิ หมู่ที่ 3 ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง

จังหวดั ยะลา รหสั ไปรษณยี ์ 95000

ตำแหน่งหน้าทีก่ ารงานปจั จุบัน ครู วิทยฐานะชำนาญการ

สถานที่ทำงานปจั จบุ ัน โรงเรยี นสตรยี ะลา อำเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา รหัสไปรษณีย์ 95000

ประวัติรับราชการ พนักงานราชการ ตำแหน่งครูผู้สอน โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา
พ.ศ. 2552 อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน
จังหวดั ยะลา
พ.ศ. 2554 ครผู ูช้ ่วย โรงเรยี นนิคมพัฒนวทิ ย์ อำเภอบนั นงั สตา จงั หวดั ยะลา
พ.ศ. 2557 ครู ค.ศ.1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา
อำเภอเมอื ง จังหวดั ยะลา
พ.ศ. 2560 ครู ค.ศ.2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา
อำเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา
พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน ครู ค.ศ.2 โรงเรียนสตรยี ะลา อำเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา

ประวัติการศกึ ษา หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชาฟิสิกส์
พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี จังหวัดปัตตานี
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาสตร์
พ.ศ. 2564 คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต
สงขลา จังหวดั สงขลา

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 41
สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เรื่อง ภูเขาไฟระเบดิ

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา


Click to View FlipBook Version