The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kru.Sulkeflee Sophan, 2022-07-14 04:38:45

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

โครงสรา้ ง

หลักฐาน โลก
การแปร
สณั ฐาน การแปร
ภเู ขาไฟ สณั ฐานของ
แผ่นธรณี
ระเบดิ
สนึ ามิ แผน่ ดนิ

ไหว

เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก

นายสุลกฟิ ลี โสพนั ธ์
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชำนาญการ
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสตรียะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา ยะลา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) ก
สำหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับ
นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ประกอบไปด้วยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทง้ั หมด 6 เล่ม ดังน้ี

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เลม่ ที่ 1 เร่ือง โครงสร้างโลก
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เลม่ ท่ี 2 เร่ือง หลักฐานการแปรสัณฐาน
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 เรอื่ ง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เล่มท่ี 4 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เล่มท่ี 5 เรอ่ื ง แผน่ ดินไหว
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 6 เรอื่ ง สนึ ามิ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อการสอนสำหรับครูผู้สอน เป็นสื่อการเรียนรู้
สำหรับผเู้ รียน และเป็นเครอ่ื งมือพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นโดยยึดนกั เรียนเป็นสำคัญ
มงุ่ เนน้ ให้นักเรียนมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย สามารถ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ส่งเสริมกระบวนการคิด การสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนำความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
ตลอดจนมจี ิตวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมและค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ รวมถึงทกั ษะที่จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
บทบาทของครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา ชี้แนะ เอื้ออำนวยความสะดวกและกระตุ้นให้นักเรียนประสบ
ความสำเร็จในการเรยี นรู้

ผ้จู ัดทำหวังเป็นอย่างยงิ่ ว่าชดุ กิจกรรมการเรียนรนู้ ้ีจะช่วยใหน้ ักเรียนเข้าใจเน้ือหาได้ง่ายและ
ชดั เจนขน้ึ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขนึ้ มีเจตคติท่ีดตี อ่ การเรียนวิทยาศาสตร์ (โลก ดาราศาสตรแ์ ละ
อวกาศ) เป็นแนวทางหนึ่งให้นักเรียนพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ นอกจากจะใช้ประกอบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนแล้ว นักเรียนยังสามารถศึกษาด้วยตนเองเพื่อทบทวนเนื้อหา หรือ
สามารถนำไปใช้ในการเรียนซอ่ มเสริมไดอ้ ีกด้วย

สุลกิฟลี โสพันธ์
ผูจ้ ัดทำ

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) ข
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เร่ือง โครงสร้างโลก

สารบญั

เร่ือง หนา้

คำนำ ก
สารบัญ ข
สาระและมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ผลการเรียนรู้/สาระการเรยี นร/ู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ค
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1
คำช้แี จงสำหรับครู 2
คำช้แี จงสำหรบั นักเรยี น 3
ข้ันตอนการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ 4
บทบาทของครู 5
บทบาทของนกั เรยี น 6
ส่ิงที่ครแู ละนักเรียนตอ้ งเตรยี ม 7
ใบคำส่งั 8
แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง โครงสรา้ งโลก 9
ใบความรู้ที่ 1.1 เร่ือง โครงสรา้ งโลก 13
ใบกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ 1.1 เรอื่ ง การศกึ ษาคล่นื ไหวสะเทือนท่ีผา่ นโครงสร้างโลก 19
ใบบันทึกกิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ี 1.1 เร่ือง การศกึ ษาคลน่ื ไหวสะเทือนทผ่ี ่านโครงสร้างโลก 22
ใบกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1.2 เรอ่ื ง แบบจำลองโครงสรา้ งโลก 26
ใบกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 1.3 เรือ่ ง แบบฝึกหัดทา้ ยบท...โครงสร้างโลก 27
แบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก 30
บรรณานุกรม 34
ภาคผนวก 36

เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน

เฉลยใบกิจกรรมการเรยี นรู้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) ค
สำหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรื่อง โครงสรา้ งโลก

สาระและมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ผลการเรียนร/ู้
สาระการเรยี นรู้/จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ : เขา้ ใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัย
และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การศึกษาลำดับชั้นหิน ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนำใช้
ประโยชน์

ผลการเรียนรู้
ม.4/1 อธบิ ายการแบ่งชนั้ และสมบัติของโครงสรา้ งโลก พร้อมยกตวั อยา่ งข้อมูลสนับสนนุ

สาระการเรยี นรู้

• ข้อมลู ในการศึกษาและแบง่ ช้นั โครงสรา้ งโลก
• การแบง่ ชั้นโครงสรา้ งโลก

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1) สบื ค้น และอธบิ ายข้อมลู ท่ีสนับสนุนการแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมี และ
การแบง่ ชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบตั ิเชิงกล

2) วเิ คราะห์ข้อมลู องค์ประกอบทางเคมี คล่นื ไหวสะเทอื น และอธิบายการแบ่งช้ันโครงสร้างโลก
ตามองคป์ ระกอบทางเคมี และสมบตั ิเชิงกลของโครงสร้างโลกแตล่ ะชนั้

3) สร้างแบบจำลองโครงสรา้ งโลกทแี่ บ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี เปรยี บเทยี บกับโครงสรา้ งโลก
ที่แบ่งตามสมบตั เิ ชงิ กล

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 1
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก

ชุดกิจกรรมการเรียนรรู้ ายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1
รหัสวชิ า ว30251 สำหรับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4

เล่มที่ 1 เร่ือง โครงสร้างโลก

ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรยี นรู้

เนื้อหาภายในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงปี 2560) และตรงตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัส
วชิ า ว30251 สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภายในชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ประกอบด้วย

1. คำช้ีแจงสำหรับครู
2. คำชแี้ จงสำหรับนักเรยี น
3. ข้นั ตอนการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
4. บทบาทของครู
5. บทบาทของนกั เรยี น
6. ส่งิ ทีค่ รแู ละนกั เรยี นตอ้ งเตรียม
7. ใบคำสัง่
8. แบบทดสอบกอ่ น – หลังเรยี น
9. ใบความรู้
10. ใบกิจกรรมการเรยี นรู้
11. ภาคผนวก

เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลงั เรยี น
เฉลยใบกิจกรรมการเรยี นรู้

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 2
สำหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

คำชแ้ี จงสำหรับครู

ครผู ใู้ ช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้จะตอ้ งศกึ ษาข้ันตอนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจ และ
ควรปฏิบัติ ดังน้ี

1. ครูควรศึกษาการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนและวธิ วี ดั ผลประเมนิ ผลในแต่ละกิจกรรม
ใหเ้ ข้าใจ และควรคน้ ควา้ และอา่ นเน้อื หาท่เี กีย่ วข้องเพม่ิ เติม

2. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน จำนวน 20 ขอ้ เปน็ แบบปรนัย 4 ตัวเลอื ก ใชเ้ วลา 20
นาที

3. ครูอธิบายและชี้แจงวิธีการเรียน บทบาทของตนเองในการดำเนินกิจกรรมในแต่ละชุด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้นกั เรียนเขา้ ใจ

4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรม กลุ่มละ 5–6 คน คละความสามารถ แบ่งหน้าท่ี
รับผดิ ชอบภายในกลุม่ และสลับกนั ทำหนา้ ท่ีในทกุ ครั้งที่เข้าเรยี น

5. ครูดำเนินการจัดกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน
เกดิ ความสนใจในเน้อื หาทก่ี ำลังเรียนโดยคำนึงถงึ ความสามารถในการรับร้ขู องนักเรียน และ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ ด้วยกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ดังน้ี
5.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
5.2 ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
5.3 ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
5.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
5.5 ข้นั ประเมิน (Evaluation)

6. ขณะปฏิบัติกิจกรรมครูพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือได้ทันที และควรให้คำแนะนำนักเรียน
อย่างใกลช้ ิด

7. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปสงิ่ ท่ไี ดเ้ รียนมาโดยให้นกั เรียนอภิปรายและครูคอยชี้แนะ
8. ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น
9. หากมีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูควรให้นกั เรียนนำชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ชุดท่ีไมผ่ ่าน เกณฑ์

ไปศึกษาเองเพมิ่ เติมนอกเวลาเรียน
10.ครูควรสรุปผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะหลังจากใช้ชุด

กจิ กรรมการเรยี นรู้แตล่ ะครงั้ เพ่ือนำไปปรับปรงุ ในการใช้คร้ังตอ่ ไป

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 3
สำหรบั นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

คำชแ้ี จงสำหรับนักเรยี น

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ประกอบด้วย 6 เล่ม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ เป็นชุดกิจกรรม
การเรยี นรู้ เลม่ ท่ี 1 เรื่อง โครงสร้างโลก มสี ่วนประกอบดงั น้ี
1.1 ใบคำสง่ั
1.2 แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก
1.3 กระดาษคำตอบก่อนเรยี น
1.4 ใบความรู้ท่ี 1.1 เรื่อง โครงสรา้ งโลก
1.5 ใบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 เรื่อง การศกึ ษาคล่นื ไหวสะเทือนท่ีผา่ นโครงสรา้ งโลก
1.6 ใบบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 เรอ่ื ง การศกึ ษาคลืน่ ไหวสะเทือนทผี่ า่ นโครงสร้าง
1.7 ใบกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1.2 เร่อื ง แบบจำลองโครงสรา้ งโลก

1.8 ใบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 เรอ่ื ง แบบฝกึ หัดทา้ ยบท...โครงสร้างโลก

1.9 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรือ่ ง โครงสร้างโลก
1.10 กระดาษคำตอบหลงั เรียน
2. การทำกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรแู้ ต่ละชุดใหป้ ฏิบตั ิ ดงั น้ี
2.1 ศึกษาเนอ้ื หาวธิ กี าร ให้เขา้ ใจหากไม่เข้าใจให้ขอคำแนะนำจากครกู ่อนจะทำชุดกิจกรรม

การเรยี นรู้
2.2 ทำกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เสร็จ แล้วจึงเปิดดูเฉลยชุดกิจกรรม หาก

กิจกรรมใดนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ควรกลับไปศึกษา เนื้อหานั้นซ้ำอีกรอบ
หากยังไม่เข้าใจใหข้ อคำแนะนำจากครู

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 4
สำหรับนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง โครงสร้างโลก

ข้นั ตอนการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้

ศึกษาคำช้ีแจงสำหรบั ครูและนักเรยี นในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้

ทำความเข้าใจในบทบาทของครแู ละนักเรยี น

ศกึ ษาสิง่ ท่คี รแู ละนกั เรยี นตอ้ งเตรยี ม
ทดสอบกอ่ นเรียน

ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้

ทดสอบหลงั เรยี น ไม่ผา่ น

ผา่ น

ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เลม่ ตอ่ ไป

ถา้ ไม่ผา่ น..ตอ้ งกลบั ไปทบทวน
ใหม่อีกคร้งั นะครบั

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 5
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 เร่ือง โครงสรา้ งโลก

บทบาทของครู

1. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหน้ กั เรยี นทราบ
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือประเมินความรู้เดมิ ของนักเรียน ก่อนเริม่ เรยี นใน

แต่ละชดุ
3. เมอื่ นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเสร็จ ครูควรตรวจคำตอบแล้วแจง้ คะแนนให้นักเรียน

ทราบทันที
4. แบ่งนักเรียนเป็น 5 กลุ่มๆ ละ 5-6 คน คละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้ เรียนเก่ง 2 คน

ปานกลาง 2 คน และเรียนอ่อน 1-2 คน และเป็นกลุ่มตลอดการใช้ชุดกิจกรรม ตามความ
เหมาะสม
5. ครูแนะนำวธิ ีใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติได้อย่างถูกตอ้ ง
6. ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูควรให้การดูแลอย่างทั่วถึง และให้คำแนะนำกรณีที่
นักเรียนไม่เข้าใจในกิจกรรมต่างๆ เป็นรายบุคคล และต้องพยายามกระตุ้น ให้นักเรียน
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดว้ ยตนเองให้มากที่สดุ
7. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จ
เรยี บร้อยในแต่ละชุด
8. ครูตรวจคำตอบแบบทดสอบหลังเรียนแล้วแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบ อีกครั้งเพื่อดู
ความก้าวหน้าของตนเอง
9. กรอกคะแนนในแตล่ ะกลุม่ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทงั้ คะแนนกอ่ นเรียน ระหวา่ งกิจกรรมการ
เรยี น และหลังเรียนลงในแบบประเมนิ ประสิทธิภาพของชุดกจิ กรรมการเรียนรู้
10. ครูควรยำ้ ใหน้ ักเรียนเกบ็ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้และวัสดอุ ุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรยี บร้อยหลังเสร็จ
สิ้นการจัดการเรียนรแู้ ต่ละครงั้
11. ครูควรสรปุ ผลการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้ทุกครงั้ ตลอดจนปัญหาและข้อเสนอแนะไว้ด้วย
หลงั จากทีไ่ ดป้ ระเมนิ ประสทิ ธภิ าพของชุดกจิ กรรมการเรียนรู้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 6
สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

บทบาทของนกั เรียน

1. อา่ นคำชแ้ี จง ศกึ ษาวธิ ีการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละบทบาทของนักเรียนให้เข้าใจก่อนลง
มือศกึ ษาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้

2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนจำนวน 20 ข้อ โดยใชเ้ วลา 20 นาที เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของ
นกั เรยี น

3. นกั เรียนศกึ ษาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามขั้นตอนทีร่ ะบไุ วใ้ นใบคำส่งั
4. ขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหากมีข้อสงสัยใหข้ อคำแนะนำจากครู
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จ

เรยี บรอ้ ยในแตล่ ะชุด
6. หลังจากทำกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ประกอบ ชุดกิจกรรม

การเรยี นรู้ใหเ้ รยี บรอ้ ย
7. ในการทำกิจกรรมตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกเล่ม ขอให้นักเรียนทำด้วยความตั้งใจให้

ความร่วมมือ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด โดยไม่ดูเฉลยก่อนทำกิจกรรมและ
แบบทดสอบ
8. หากนักเรียนคนใดเรียนไม่ทันหรือเรียนยังไม่เข้าใจ ให้นำชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปศึกษา
เพมิ่ เติมนอกเวลาเรียน เพอ่ื ให้เขา้ ใจมากย่งิ ข้นึ

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 7
สำหรับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 เร่อื ง โครงสร้างโลก

สง่ิ ทีค่ รแู ละนกั เรยี นตอ้ งเตรยี ม

สง่ิ ท่ีครตู อ้ งเตรยี ม

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับ
นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสรา้ งโลก

2. ศกึ ษาคู่มอื ครู แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยละเอียด และปฏิบตั กิ จิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้
ให้ครบทุกข้นั ตอน

3. ศึกษาเน้ือหา วิธีการจัดกิจกรรม การวัดและประเมนิ ผลของชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30251 สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1
เรื่อง โครงสรา้ งโลก โดยละเอียด

4. ควรเตรียมสอ่ื วสั ดุอุปกรณ์ตา่ งๆ ใหพ้ รอ้ มใช้งาน

สิ่งที่นักเรียนต้องเตรียม

1. หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 1 (สสวท.)
2. สมุดบันทึก
3. เครื่องเขยี น

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 8
สำหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง โครงสร้างโลก

ใบคำสงั่

คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนแต่ละคนปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี

กจิ กรรมช่วั โมงที่ 1-2
1. ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง โครงสรา้ งโลก (20 นาที)
2. ศึกษาใบความรูท้ ี่ 1.1 เร่อื ง โครงสร้างโลก (10 นาท)ี
3. ทำใบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 เรื่อง การศึกษาคลื่นไหวสะเทือนที่ผ่านโครงสร้างโลก

(90 นาท)ี
กจิ กรรมชัว่ โมงที่ 3-4
4. ศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1.1 เร่ือง โครงสร้างโลก (เพ่ิมเตมิ ) / หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม

รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เล่ม 1 (สสวท.) / สื่อจากอนิ เตอร์เน็ต (10 นาที)
5. ทำใบกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 1.2 เร่ือง แบบจำลองโครงสร้างโลก (40 นาท)ี
6. ทำใบกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1.3 เรื่อง แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท...โครงสร้างโลก (50 นาที)
7. ทำแบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง โครงสร้างโลก (20 นาท)ี

เวลาท่ีใช้ 4 ชั่วโมง

มาเรม่ิ กันเลยจ้า...

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 9
สำหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง โครงสร้างโลก

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง โครงสร้างโลก
คำช้แี จง 1. แบบทดสอบชุดนี้ เปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตวั เลือก จำนวน 20 ขอ้

2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย X ลงใน
กระดาษคำตอบ (ใชเ้ วลา 20 นาที)

1. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ งเก่ยี วกบั โครงสร้างโลก 4. นักวิทยาศาสตร์ใช้ข้อมูลใดในการศึกษา
ก. ชนั้ ฐานธรณีภาค คอื สว่ นของเนื้อโลกที่ องคป์ ระกอบทางเคมขี องชั้นเน้ือโลก

รองรบั ชน้ั ธรณีภาค ก. ตวั อย่างหนิ บนผิวโลก
ข. เปลือกโลกภาคพืน้ ทวีปประกอบไปด้วย ข. ลาวาท่ปี ระทุขน้ึ มาบนผวิ โลก
ค. อุกกาบาตท่ตี กลงมาบนผวิ โลก
หนิ บะซอลต์เปน็ ส่วนใหญ่ ง. หลุมเจาะสำรวจท่ีมีความลกึ มาก
ค. แก่นโลก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น
5. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบไปด้วย
โลหะผสมระหวา่ งเหลก็ และนิกเกล อะไรบ้าง?
ง. นักวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งโครงสร้าง
ก. ซิลิคอนและซิลิกา
ของโลกได้จากการศกึ ษาคลืน่ ไหวสะเทอื น ข. ซิลิคอนและอะลมู ินา
ค. เหล็กและทองแดง
2. โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้ ง. ซลิ ิคอนและแมกนเี ซียม
ชัน้ ใหญๆ่ สามชั้นอะไรบ้าง?
6. นักวิทยาศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกบั โลกจากส่ิงใด
ก. ช้นั เปลอื กโลก ใตเ้ ปลือกโลก แก่นโลก ก. ชิ้นส่วนของอุกกาบาตที่ตกผ่านชั้น
ข. ชนั้ เปลือกโลก เน้อื โลก ธรณภี าค
ค. ชั้นเปลือกโลก เน้ือโลก หนิ หนดื บรรยากาศมายงั พ้ืนโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก เนอื้ โลก แกน่ โลก ข. การปะทุของภูเขาไฟที่พ่นชิ้นส่วนและ

3. นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า จะสามารถศึกษา วตั ถอุ อกมาสพู่ น้ื ผวิ โลก
ค. การเดินทางของคลื่นไหวสะเทือนผ่าน
ลักษณะและส่วนประกอบของโลกในครั้งแรก
ชน้ั หินต่างๆ ภายในโลก
ได้จากวัสดุในขอ้ ใด ง. ถูกทุกขอ้

ก. อุกกาบาต ข. หนิ บะซอลต์

ค. อลุ กมณี ง. เพชร

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 10
สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เร่อื ง โครงสร้างโลก

7. เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 บรเิ วณ คอื ? 11. ถ้าองค์ประกอบภายในโลกเป็นเนื้อ
ก. เปลือกโลกภาคพื้นทวปี และเปลือกโลก เดียวกันทั้งหมด คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่
ผ่านภายในโลกจะมลี กั ษณะอย่างไร
ภาคพนื้ น้ำ
ข. เปลือกโลกภาคพื้นดินและเปลือกโลก ก. คล่ืนจะสะท้อนกลับหมดท่ีจดุ ศูนย์กลาง
ของโลก
ภาคพ้นื นำ้
ค. เปลอื กโลกชนั้ นอกและเปลอื กโลกชั้นใน ข. เกิดการสะท้อนและหักเหของคลื่น
ง. เปลือกโลกภาคพื้นทวีปและเปลือกโลก ภายในโลก

ใตม้ หาสมทุ ร ค. คลื่นจะถูกดูดกลืนหมดภายในโลก
ง. คลื่นจะเคลื่อนที่เปน็ เส้นตรง
8. ช้นั เนอื้ โลกส่วนบนกับชน้ั เปลอื กโลกรวมกัน
เรยี กวา่ อะไร? 12. ผิวโลกในบริเวณต่างๆ มีลักษณะเป็น
อย่างไร?
ก. แมนเทิล
ข. ธรณภี าค ก. ทรี่ าบมีลักษณะเหมือนกัน
ค. ธรณภี าคพนื้ ทวปี ข. สว่ นทเ่ี ป็นภูเขามลี ักษณะเหมอื นกัน
ง. ธรณภี าคพืน้ เปลอื กโลก ค. มีความแตกต่างกันตามลักษณะภูมิ
ประเทศ
9. เปลือกโลกใต้มหาสมุทรประกอบด้วยธาตุ ง. ส่วนที่เป็นพื้นน้ำจะมีอุณหภูมิปกติ
อะไรบ้าง? เหมือนกัน

ก. ซิลคิ อนและแมกนีเซยี ม 13. เพราะเหตุใดแก่นโลกส่วนในจึงอยู่ใน
ข. ซลิ ิคอนและซลิ กิ า สถานะของแข็ง
ค. ซิลิคอนและอะลูมนิ า
ง. ซิลิคอนและเหล็ก ก. บริเวณแก่นโลกส่วนในมีอุณหภูมิสูง
มาก
10. สาเหตุที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อ
ใด? ข. บริเวณแก่นโลกส่วนในประกอบด้วย
ธาตุเหล็กและนกิ เกลิ
ก. การประทขุ องหนิ แขง็ ในชัน้ เปลือกโลก
ข. การไหลของหินหนดื ในชัน้ เน้ือโลก ค. บริเวณแก่นโลกส่วนในประกอบด้วย
ค. การเคลอื่ นท่ขี องแรธ่ าตุในแก่นโลกชัน้ ใน ธาตุแมกนีเซียมและนกิ เกลิ
ง. การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่น
โลกชัน้ นอก ง. บริเวณแก่นโลกส่วนในมีความดันสูง
มาก

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 11
สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง โครงสร้างโลก

14. หินหนืดที่พ่นออกจากภูเขาไฟ เป็นสาร ง . บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก
ที่มาจากช้นั ใดของโลก? ภาคพ้ืนทวปี กับเปลือกโลกมหาสมุทร

ก. ชนั้ เปลอื กโลก ข. ชั้นแมนเทลิ 18. ลักษณะภายในโลกแบ่งเป็นชั้นๆ จาก
ค. ชน้ั แก่นโลก ง. ทุกช้ันรวมกัน
ชนั้ นอกส่ชู ้นั ใน คือ ชั้นเปลอื กโลก (crust) ช้ัน

15. ชนั้ ใดของโลกท่มี คี วามหนามากท่ีสุด? เนื้อโลก (mantle) ชั้นแก่นโลกส่วนนอก

ก. แก่นโลก ข. แมนเทลิ (outer core) และชั้นแก่นโลกส่วนใน (inner

ค. เปลือกโลก ง. ผวิ โลก core) นักเรียนคิดว่าชั้นใดมีสถานะเป็น

16. จงพจิ ารณารปู ทก่ี ำหนดให้ ของแข็ง

ก. Crust and Mantle

ข. Outer core

ค. Mantle ง. Crust

ธาตุเหล็ก (Fe) และนิเกิล (Ni) มักพบที่ 19. ชั้นฐานธรณีภาค อยู่ตรงส่วนใดของ
บริเวณใดของโครงสร้างโลก โครงสรา้ งโลก

ก. หมายเลข 1 และ 2 ก. ชั้นเนอื้ โลก
ข. หมายเลข 2 และ 3 ข. ชน้ั เปลอื กโลก
ค. หมายเลข 3 และ 4 ค. รอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลกกับช้ัน
ง. หมายเลข 1 และ 4 เนื้อโลก
ง. รอยต่อระหว่างชั้นเนื้อโลกกับชั้นแก่น
โลก

17. แ น ว ไ ม ่ ต ่ อ เ น ื ่ อ ง โ ม โ ฮ โ ร ว ิ ซิ ก 20. ข้อความใดกล่าวถึงแก่นโลกชั้นนอกได้
( mohorovicic discontinuity) ห ร ื อ โ ม โ ฮ ถกู ตอ้ ง
(moho) คือบริเวณใด
ก. เป็นชัน้ ทมี่ ีความหนาแนน่ น้อยทีส่ ดุ
ก. บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเนื้อโลกกับ ข. เป็นช้นั ของแขง็ ประกอบดว้ ยเหล็กและ
ชัน้ แก่นโลก นิกเกิล
ค. เป็นชั้นของเหลวประกอบด้วยเหล็ก
ข. บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก และนิกเกลิ
โลกกบั ชั้นเนอื้ โลก ง. เป็นชั้นหินหลอมเหลวประกอบด้วย
แมกนีเซียม เหลก็ และซิลเิ กต
ค. บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเนื้อโลก
ส่วนบนกับชัน้ เน้อื โลกสว่ นล่าง

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 12
สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เลม่ ท่ี 1 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก

ช่อื ............................................................................................ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/....... เลขที่.........

ข้อท่ี ก ข ค ง ข้อที่ ก ข ค ง
1 11
2 12
3 13
4 14
5 15
6 16
7 17
8 18
9 19
10 20

คะแนนทีไ่ ด้………... ลงช่อื .....................................................ผตู้ รวจ
ผ่าน
ไม่ผา่ น (.....................................................)
........./.............../............
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนนเต็ม 20 คะแนน บันทึกคะแนนเอาไว้
18 – 20 คะแนน = ดีเยี่ยม เปรียบเทียบ กับหลังเรียน
15 – 17 คะแนน = ดีมาก ดว้ ยนะครัช...และพยายาม
10 – 14 คะแนน = พอใช้
0 – 9 คะแนน = ปรับปรงุ ต่อไปน่ะ สู้ สู้

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 13
สำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

ใบความรู้ เร่ือง โครงสรา้ งโลก

การศึกษาและแบ่งช้ันโครงสรา้ งโลก

โลกเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) กำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว
เกดิ จากมวลแกส๊ ร้อนท่ีหมุนรอบตวั เองดว้ ยความเรว็ ระยะต่อมาแกส๊ จงึ รวมตัวกันเปน็ ทรงกลมธาตุที่มี
ความหนาแนน่ สูง เช่น นกิ เกลิ และเหล็ก จะจมลงสู่สว่ นกลาง ส่วนธาตทุ ่ีมีความหนาแน่นต่ำกว่าจะอยู่
ตอนบน และเม่ือพน้ื ผวิ โลกเย็นตัวลงก็จะแข็งตัวกลายเป็นหนิ โดยช้ันหนิ ท่มี ีอายเุ กา่ แกท่ ีส่ ดุ จะพบได้ท่ี
พรมแดนประเทศแคนาดา มอี ายปุ ระมาณ 4,000 ลา้ นปี สว่ นทวีปตา่ งๆจะเกดิ ขน้ึ เม่อื ประมาณ 1,500
ล้านปีก่อน

การศึกษาและแบ่งช้นั โครงสรา้ งโลก

นักวิทยาศาสตรไ์ ด้พยายามศึกษาหาวิธกี ารต่างๆ โดยพยายามใช้หลกั ฐานต่างๆ ทีจ่ ะสามารถ
ค้นพบได้ รวมทงั้ ใช้ทฤษฎีหลกั การทางวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ และเทคโนโลยที ่ีทันสมยั เพ่ือตอบข้อ
สงสยั ดงั กลา่ ว

➢ เมื่อ 300 ปีที่ผ่านมา เซอร์ ไอแซกนิวตัน ได้ค้นพบ
วธิ ีการคำนวณคา่ ความหนาแน่นเฉลีย่ ของโลก ซ่งึ มีคา่ ประมาณ
2 เท่าของความหนาแนน่ ของหินบนผิวโลก

➢ ถัดจากนั้นอีก 100 ปี นักวิทยาศาสตร์หลายสาขา
พยายามศึกษาโครงสร้างโลกจากสิ่งตา่ งๆที่ระเบิดออกมาจาก
ภูเขาไฟ ซึ่งเป็นหลักฐานที่บ่งบอกว่าภายในโลกมีความร้อน
และความดันทเ่ี หมาะสมตอ่ การหลอมเหลวหนิ ได้

➢ ต่อจากนัน้ จนถงึ ปัจจุบนั มกี ารวัดอุณหภูมิในบริเวณ
เหมืองลึกและภายในหลุมเจาะ ซึ่งพบว่า อุณหภูมิภายในโลก
สูงข้นึ ตามระดับความลกึ จากผวิ โลก

ภาพที่ 1.1 หลุมเจาะเพื่อศึกษาโครงสรา้ งโลก
ทีม่ า : http://nop-lucifer.blogspot.com/2014/08/10-1_19.html

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 14
สำหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง โครงสร้างโลก

การศึกษาโครงสร้างโลกโดยใชค้ ลน่ื ไหวสะเทอื น

คล่นื ไหวสะเทือนมแี หลง่ กำเนดิ ทัง้ จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดนิ ไหว ภูเขาไฟ
ระเบดิ และเกดิ จากที่มนษุ ย์สร้างขึ้น เชน่ การทดลองระเบิดนวิ เคลยี ร์ เม่อื เกดิ เหตุการณ์ดงั กล่าว จะ
ทำใหเ้ กดิ คลน่ื ไหวสะเทือน (Seismic wave) มี 2 แบบ คือ คลนื่ พื้นผิว (Surface wave) และคลื่นใน
ตวั กลาง (Body wave)

คลื่นในตวั กลาง

คลนื่ ไหวสะเทือน

คลืน่ พ้ืนผิว

คลื่นในตัวกลาง (Body wave) เดินทางจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ผ่านเข้าไปในเน้ือ

โลกในทุกทิศทาง ในลักษณะเช่นเดียวกับคลื่นเสียงซึ่งเดินทางผ่านอากาศในทุกทิศทาง คลื่นใน

ตัวกลางมี 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ คล่นื ปฐมภมู ิ (P wave) และ คลืน่ ทตุ ิยภมู ิ (S wave) ดงั ภาพท่ี 1.2

• คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนใน
ตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่าน
ไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เป็นคลื่นที่สถานีวัด
แรงส่นั สะเทอื นสามารถรับไดก้ อ่ นชนดิ อืน่ โดยมคี วามเร็วประมาณ 6 – 7 กิโลเมตร/วินาที

• คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง
โดยอนุภาคของตัวกลางเคลอื่ นไหวตัง้ ฉากกบั ทิศทางท่ีคลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้
ผ่านไดเ้ ฉพาะตัวกลางทเ่ี ป็นของแขง็ เทา่ น้นั ไมส่ ามารถเดนิ ทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็ว
ประมาณ 3 – 4 กโิ ลเมตร/วินาที

ภาพท่ี 1.2 คล่ืนปฐมภมู ิ (P wave) และคลืน่ ทุติยภมู ิ (S wave)
ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/physical-structure

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 15
สำหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มที่ 1 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก

คลื่นพื้นผิว (Surface wave) เดินทางจากจุดเหนือศนู ย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter) ไป
ทางบนพ้ืนผวิ โลก ในลกั ษณะเดยี วกบั การโยนหินลงไปในน้ำแล้วเกิดระลอกคลื่นบนผิวน้ำ คล่ืนพ้ืนผิว
เคล่ือนท่ีชา้ กว่าคลน่ื ในตวั กลาง คลน่ื พ้ืนผวิ มี 2 ชนิด คอื คลื่นเลิฟ (L wave) และคลน่ื เรยล์ ี (R wave)

ภาพท่ี 1.3 คลื่นเลิฟ (L wave) คล่นื เลิฟ (L wave) เป็นคลื่นที่ทำให้
ท่ีมา : http://www.lesa.biz/earth/seismic-waves อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวราบ
โดยมีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนท่ี
ภาพท่ี 1.4 คลื่นเรย์ลี (R wave) ของคล่ืน ดงั ภาพที่ 1.3 สามารถทำให้
ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/seismic-waves ถ น น ข า ด ห ร ื อ แ ม ่ น ้ ำ เ ป ล ี ่ ย น ทิ ศ
ทางการไหล

คลื่นเรย์ลี (R wave) เป็นคลื่นที่ทำ
ให้อนุภาคตัวกลางสั่นม้วนตัวขึ้นลง
เป็นรูปวงรี ในแนวดิ่ง โดยมีทิศทาง
เดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ดัง
ภาพที่ 1.4 สามารถทำให้พื้นผิว
แตกร้าว และเกิดเนินเขา ทำให้
อาคารที่ปลูกอยู่ด้านบนเกิดความ
เสียหาย

การแบ่งช้ันโครงสรา้ งโลก นกั เรียนสงสยั ไหมว่า??
ภายในโลกของเรามี
นักธรณีวิทยาศึกษาโครงสร้างภายในของโลก ลกั ษณะเป็นอยา่ งไร??
ปัจจุบันสามารถแบ่งโครงสร้างโลกได้เป็น 2 แบบ คือ
โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล และโครงสร้างโลกตาม
องคป์ ระกอบทางเคมี

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 16
สำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

การแบ่งโครงสรา้ งโลกตามสมบัตเิ ชิงกล

การแบ่งโครงสร้างโลกตามสมบัติเชงิ กล แบง่ ออกเปน็ 5 ส่วน โดยพจิ ารณาจากความเร็วของ
คล่นื P Wave และ S Wave ดงั น้ี

1. ธรณีภาค (lithosphere) ความลึกประมาณ 100 กิโลเมตรจากผิวโลก พบว่า คลื่นปฐม
ภูมแิ ละคลนื่ ทตุ ยิ ภูมจิ ะเคล่อื นท่ผี ่านธรณีภาคด้วยความเรว็ ที่เพมิ่ ขึ้นอย่างรวดเรว็

2. ฐานธรณีภาค (asthenosphere)
2.1 เขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วลดลง ในระดับความลึกประมาณ 75 -250 กิโลเมตร

จากผวิ โลก
2.2 เขตทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงในระดบั ความลึกประมาณ 400 -660 กิโลเมตรจากผวิ โลก

3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) พบว่า
คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วเพิ่มข้ึน
สม่ำเสมอ มีความลึกประมาณ 660 ถึง
2,900 กโิ ลเมตรจากผวิ โลก

4. แกน่ โลกช้ันนอก (outer core) มี
ความลึกประมาณ 2,900 ถึง 5,140
กิโลเมตรจากผิวโลก คลื่นปฐมภูมิมี
ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆในขณะท่ี
คลื่นทุติยภูมิไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่าน
ภาพที่ 1.5 การแบ่งโครงสรา้ งโลกตามสมบัติเชิงกล ชั้นดังกลา่ วได้
ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/physical-structure

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 17
สำหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 เรอื่ ง โครงสร้างโลก

5. แก่นโลกชั้นใน (inner core) อยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 5,140 กิโลเมตร จนถึงจุด
ศูนย์กลางของโลก คลืน่ ปฐมภูมแิ ละคล่ืนทุติยภมู ิ มอี ัตราเรว็ ค่อนขา้ งคงที่

การแบ่งโครงสร้างโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมี

การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี แบ่งออกเปน็ 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อ
โลก และแกน่ โลก

ภาพที่ 1.6 การแบ่งโครงสรา้ งโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมี
ทีม่ า : http://www.trueplookpanya.com/knowledge

โครงสรา้ งโลก ลกั ษณะของโครงสรา้ ง
เปลือกโลก (Crust)
เป็นผิวโลกชั้นนอก มคี วามหนาประมาณ 5 -70 กม. มีองคป์ ระกอบสว่ น
แนวแบ่งโมโฮโรวิซกิ ใหญ่เป็น SiO2และ Al2O3(ซิลิกา และ อะลูมินา) แบง่ ออกเป็น 2 สว่ น

➢ เปลือกโลกทวปี หรอื ไซอัล ประกอบด้วยแร่ซิลิคอน + อะลมู ิเนยี ม
สว่ นใหญข่ องช้นั หนิ นีเ้ ป็นหนิ แกรนติ เชน่ เทอื กเขาแอลป์ –
หิมาลัย

➢ เปลอื กโลกมหาสมทุ รหรือไซมา ประกอบดว้ ยแร่ซิลคิ อน +
แมกนเี ซียมส่วนใหญข่ องช้นั หนิ นเี้ ป็นหนิ บะซอลต์ เช่น เปลอื กโลก
ทรี่ องรับมหาสมทุ รอนิ เดีย

เป็นแนวรอยตอ่ ระหว่างเปลอื กโลกกบั เนื้อโลก ซ่ึงอยรู่ ะหว่างชัน้ เปลือกโลก
กบั ช้ันเน้อื โลก

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 18
สำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

โครงสร้างโลก ลกั ษณะของโครงสรา้ ง
เนอ้ื โลก (Mantle)
คือส่วนทอ่ี ย่ใู ต้เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900 กโิ ลเมตร มีธาตุ
แนวแบ่งกูเทนเบริ ก์
แก่นโลก (Core) ซิลคิ อน เหลก็ และอะลูมิเนียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแรโ่ อลวิ นี แบง่

ออกเปน็ 2 ช้นั

➢ เน้อื โลกตอนบน มคี วามหนาประมาณ 300 กม. และมีลักษณะ

เป็นหินแขง็ ไปถึงระดับประมาณ 400 กม.ถัดลงมาเปน็ หินทอี่ ยู่ใน

สภาพหลอมละลาย เรียกว่า

หินหนดื ท่มี ีอุณหภูมิประมาณ 2,000-2,500 องศาเซลเซียส

ชน้ั ทรานซิชนั เป็นชัน้ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างชนั้ เน้อื โลกตอนบนกบั ช้ันเนื้อ
โลกตอนลา่ ง ซง่ึ อยู่ทช่ี ่วงความลกึ 400 - 660 กม.

จากผิวโลก

➢ เนือ้ โลกตอนลา่ ง มีความหนาประมาณ 2,300 กม. ประกอบดว้ ย

หนิ หนดื ทีม่ อี ุณหภมู สิ ูงประมาณ 2,500 -4,000 องศาเซลเซียส

เปน็ ชนั้ ท่อี ยู่ระหว่างชน้ั แกน่ โลกกับชนั้ เนอ้ื โลก

เปน็ ชั้นในสุดของโลก ความหนาประมาณ 3,500 กม. และมธี าตเุ หล็กและ

นิกเกิล เปน็ ชัน้ ท่ีมคี วามดนั และความหนาแน่นสูง

➢ แก่นโลกช้ันนอก หนาประมาณ 2500 กม. ซงึ่ คล่ืนทตุ ยิ ภูมไิ ม่

สามารถเคลือ่ นท่ีผา่ นชน้ั นีไ้ ด้ มลี ักษณะของธาตเุ หลก็ และนกิ เกิล

หลอมละลายมีอุณหภูมิสูงประมาณ 4000 องศาเซลเซยี ส

➢ แก่นโลกชั้นใน มีลกั ษณะเปน็ ของแข็งทเ่ี ปน็ เหลก็ และนิกเกิลมี

ความดนั สูงมากและมอี ุณหภูมิสูงมากทส่ี ุด ประมาณ 6,000 องศา

เซลเซียส

.Note….

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 19
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง โครงสร้างโลก

ใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 1.1

เรื่อง การศกึ ษาคล่นื ไหวสะเทือนท่ผี ่านโครงสร้างโลก

วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม
1. ทดลอง และอธิบายลกั ษณะของคลนื่ ตามยาวและคล่นื ตามขวางโดยใช้ขดลวดสปริง
2. อธบิ ายลักษณะของคลน่ื ไหวสะเทือน P และ S จากการทดลองขดลวดสปริง
3. วิเคราะห์และแปลความหมายของการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไหวสะเทือนเมื่อผ่านชั้นต่างๆ
ของโลก
4. แปลความหมายและอธิบายข้อมูลการเคลื่อนที่ของคล่ืนไหวสะเทือนตามระดับความลึกของ
โครงสรา้ งโลกจากกราฟท่ีกำหนดให้

สื่อ-อุปกรณ์
1. ขดลวดสปริง
2. ริบบิ้น หรือ เชอื กเส้นเลก็
3. ภาพการเคล่ือนที่ของคล่ืนไหวสะเทือนผ่านช้ันตา่ งๆ ของโลก
4. ใบบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 1.1

วธิ กี าร
ตอนท่ี 1 ผู้เรยี นร่วมกนั พจิ ารณาแบบจำลองการเคลื่อนท่ขี องคลืน่ ไหวสะเทือนด้วยขดลวดสปริง ดงั น้ี

1. วางสปริงบนพน้ื ราบ และนำริบบ้ินผกู ติดกับสปรงิ 1 ตำแหน่งดังภาพ

ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/cgi-bin/show2.cgi/kp6/BOOK20/pictures/s20-106
2. จับปลายสปริงคนละด้านให้ห่างกันประมาณ 3 เมตร แล้วให้นกั เรียนคนใดคนหนึง่ จับปลาย
สปริงให้น่ิง แลว้ ให้อีกคนออกแรงอดั สปรงิ ทปี่ ลายดา้ นหนึง่ ของสปรงิ อย่างตอ่ เนื่องสังเกตการเคลื่อนท่ี
ของขดลวดสปริงและรบิ บ้นิ พรอ้ มท้ังวาดภาพและบนั ทกึ ผลการสงั เกต
3. ทำเช่นเดียวกับข้อ 1-2 แต่ออกแรงขยับสปริงให้เคลื่อนที่ซ้ายขวาเหมือนคลื่น สังเกต
การเคลือ่ นท่ขี องขดลวดสปรงิ และริบบิน้ พรอ้ มท้ังวาดภาพและบนั ทกึ ผลการสังเกต

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 20
สำหรบั นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

ตอนที่ 2
1. ใหผ้ ู้เรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลืน่ ไหวสะเทือนใน ตวั กลาง

ทแี่ ตกตา่ งกนั โดยมปี ระเดน็ ทสี่ ำคัญในการศกึ ษาโครงสรา้ งโลก คือ
- คล่นื P เปน็ คลื่นทเ่ี คลื่อนท่ีผ่านตวั กลางได้ทุกสถานะ แตค่ ลนื่ S เปน็ คลื่นที่สามารถผ่านได้

เฉพาะตวั กลางทเ่ี ปน็ ของแขง็
2. ให้ผู้เรียนพิจารณาภาพการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนผ่านชั้นต่างๆ ของโลก แล้วตอบ

คำถามในใบกจิ กรรมท่ี 1.1 ตอนที่ 2

ทม่ี า : http://pd.ipst.ac.th/?p=1311

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 21
สำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก

ตอนที่ 3
1. ให้ผู้เรียนพิจารณาภาพและสังเกตการเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุตยิ
ภูมจิ ากกราฟในแต่ละช่วงระดับความลึก และบนั ทึกผลทไ่ี ดล้ งในตารางบันทกึ ผล ในใบบันทึก
กจิ กรรมที่ 1.1 ตอนที่ 3
2. นำผลการสังเกตจากข้อที่ 1 มาวิเคราะห์และอภิปรายถึงสาเหตุที่คลื่นปฐมภูมิและคล่ืน
ทุติยภูมิเปลี่ยนแปลงความเร็วโดยเชื่อมโยงกับสถานะของตัวกลางและสรุปแนวคิดการแบ่ง
ช้นั โครงสร้างโลก
3. ออกแบบและสร้างแบบจำลองแสดงแนวคิดในการแบง่ ชั้นโครงสร้างโลกโดยอาศัยข้อมูลคล่ืน
ไหวสะเทอื น และองค์ประกอบทางเคมพี ร้อมนำเสนอเหตุผลสนับสนนุ (ในใบกิจกรรมท่ี 1.2
เรื่อง แบบจำลองโครงสร้างโลก)
4. รวบรวมข้อมลู ที่ได้จากการนำเสนอและอภิปรายรว่ มกันในชัน้ เรยี นมาปรับปรุง แบบจำลอง
การแบง่ ชัน้ โครงสร้างโลกใหส้ มบูรณแ์ ละถูกตอ้ งยงิ่ ขึ้น

โอเคไหมครบั ลองพูดคุยและ
อภิปรายกับเพอื่ นๆ กนั ...ถา้
ไมไ่ ด้ตรงไหน หรืองงตรงไหนมา
ปรกึ ษากบั ครไู ดน้ ะ่ ครัช...

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 22
สำหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 เร่ือง โครงสรา้ งโลก

ใบบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1.1 เรอ่ื ง การศกึ ษาคลนื่ ไหวสะเทือนท่ีผ่านโครงสร้างโลก

ตอนที่ 1
1. เม่ือออกแรงอัดสปริง ใหว้ าดภาพคล่นื ทสี่ ังเกตได้

➢ ทิศทางการเคล่อื นทข่ี องคลน่ื กบั ทิศทางการเคลอื่ นของริบบิ้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. เม่อื ออกสะบดั สปริง ให้วาดภาพคลื่นทีส่ งั เกตได

➢ ทศิ ทางการเคลือ่ นทข่ี องคลื่นกบั ทิศทางการเคล่ือนของรบิ บ้นิ มคี วามสัมพนั ธ์กันอย่างไร
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

➢ จากผลการทดลองในข้อ 1 และ 2 ข้อใดเป็นคลื่นตามยาว และข้อใดเป็นคลื่นตามขวาง เพราะ
เหตุใด

.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 23
สำหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เร่อื ง โครงสรา้ งโลก

3. คลน่ื ตามยาวและคลน่ื ตามขวางมคี วามเร็วในการเคล่อื นท่ีแตกต่างกนั อย่างไรเพราะเหตใุ ด
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ตอนที่ 2 ตอบคำถามเก่ียวกบั ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทอื นผ่านชัน้ ต่างๆ ของโลก
1. ฐานธรณีภาคและธรณีภาคมีสมบตั ิแตกต่างกนั หรือไม ทราบไดอยา่ งไร
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. บรเิ วณใดทีค่ ล่ืน S ไมสามารถเคลอ่ื นที่ผ่านได เพราะเหตใุ ด
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. คลื่น S ท่ปี รากฏอย่ใู นแก่นโลกชั้นในเป็นคลืน่ S เดียวกนั กบั คลื่น S ทปี่ รากฏอย่ใู นช้ันมีโซสเฟียร์
หรือไม และคลน่ื S ดังกลา่ วเกดิ ข้ึนไดอยา่ งไร

.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. โครงสร้างโลกแต่ละช้ันดงั ภาพ มีสถานะและความหนาแน่นแตกตา่ งกันอย่างไร
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 24
สำหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก

ตอนที่ 3 ให้นักเรียนแปลความหมายและอธิบายข้อมลู การเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนตามระดับ
ความลึกของโครงสรา้ งโลกจากกราฟทกี่ ำหนดให้

ภาพท่ี 1 กราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างความเร็วของคล่ืนไหวสะเทือนกบั ระดบั ความลึก

ภาพที่ 2 ภาพขยายกราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
ความเรว็ ของคลนื่ ไหวสะเทือนกับระดับความลึกช่วง 0-660 กโิ ลเมตร จากผิวโลก

ทมี่ า : http://www.scimath.org/e-books/8346/8346.pdf

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 25
สำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เร่อื ง โครงสร้างโลก

ตารางบันทกึ ผล การเปล่ียนแปลงความเรว็ ของ สถานะของตัวกลาง
ระดบั ความลึก คลน่ื P คลน่ื S
(กโิ ลเมตร)

0-200

200-660

660-2,900

2,900-5,150

5,150-6,370

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. จากกิจกรรม กราฟที่กำหนดใหแ้ สดงขอ้ มูลเรอ่ื งใดบ้าง
ตอบ ..............................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
2. ข้อมูลในกราฟมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ความลึกที่เพิ่มขึ้นทำให้ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
เปลย่ี นแปลงอย่างไร
ตอบ ..............................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
3. โครงสรา้ งโลกแต่ละระดบั ความลึกมสี ถานะเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไรทราบได้อยา่ งไร
ตอบ ..............................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 26
สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก

ใบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1.2

เรื่อง แบบจำลองโครงสร้างโลก

คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพแบบจำลองโครงสร้างโลกแบบย่อส่วน พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับ
โครงสร้างโลกอย่างละเอียดและสมบูรณ์มากที่สุด โดยบังคับให้ระบุคำต่อไปนี้ประกอบ (กำหนด
มาตราส่วน 1 นิ้ว = 1,000 กิโลเมตร)

1. เปลือกโลก 2. เนื้อโลก 3. แก่นโลก 4. แนวแบ่งโมโฮโรวซิ ิก 5. ไซอัล-ไซมา 6. แนวแบ่งกูเทนเบิรก์
7. หนิ หนดื 8. ธรณีภาค 9. ฐานธรณภี าค 10. มีโซสเฟยี ร์ 11. หนิ อัลตราเมฟิก 12. Fe และ Ni

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 27
สำหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก

ใบกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1.3

เรื่อง แบบฝึกหัดท้ายบท...โครงสร้างโลก

ตอนที 1 ใหน้ กั เรยี นเตมิ คำตอ่ ไปนีใ้ นชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ต้อง

แนวไมต่ ่อเนื่องโมโฮโรวิซกิ P wave อุณหภูมิสูง เหล็กและนิกเกลิ
ไซมา
ความเร็วทเ่ี พม่ิ ข้ึนอย่างรวดเรว็ S wave แนวไม่ตอ่ เน่อื งกเู ทนเบริ ์ก
ไซอลั
อณุ หภมู ติ ำ่ หนิ อคั นี อัตราเร็วค่อนข้างคงท่ี หนิ หนดื

1. .....................................................................เป็นบรเิ วณรอยต่อระหว่างชั้นเปลอื กโลกกบั ชัน้ เนอ้ื โลก
2. แกน่ โลกสว่ นนอก ประกอบดว้ ย...............................................................ที่อยู่ในสภาพหลอมละลาย
3. ชนั้ ธรณีภาค พบวา่ คล่ืนปฐมภมู ิและคลน่ื ทุติยภูมจิ ะเคล่อื นที่ดว้ ย......................................................
4. เนอ้ื โลกส่วนบน ประกอบไปดว้ ยหินท่อี ยู่ในสภาพหลอมละลาย เรียกว่า...........................................
5. ......................................................................................เป็นคล่นื ทส่ี ามารถเคลอ่ื นที่ผ่านของเหลวได้
6. .....................................................................................คือ เปลอื กโลกภาคพนื้ ทวปี
7. คล่นื P และ คลน่ื S สามารถเคล่อื นที่ทะลุทะลวงผ่านเข้าไปยงั แก่นโลกชนั้ ในได้ โดยจะมี................
8. แกน่ โลกช้นั นอกและแก่นโลกช้นั ในมีสงิ่ ท่เี หมอื นกนั คอื ......................................................................
9. ระหวา่ งแกน่ โลกกับเนอ้ื โลก จะแนวทีเ่ รียกวา่ ....................................................................................
10. แก่นโลกส่วนนอกมี............................................................................................กวา่ แก่นโลกส่วนใน

ตอนที่ 2 จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้

1. นักธรณีแบง่ โครงสร้างโลกตามสมบัตเิ ชิงกล ออกเป็นกชี่ ้นั อะไรบา้ ง

ตอบ ...........................................................................................................................................................
2. ส่วนทีเ่ ป็นพน้ื ดินท้ังหมด และใต้มหาสมทุ ร เปน็ โครงสร้างโลกชนั้ ใด

ตอบ .........................................................................................................................................................
3. แกน่ โลกชั้นนอกกบั แกน่ โลกชัน้ ใน มีลักษณะแตกตา่ งกันอยา่ งไร

ตอบ .........................................................................................................................................................
4. ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการศึกษาเร่ืองใดบ้างทีช่ ว่ ยให้นกั ธรณีรเู้ กย่ี วกบั โครงสรา้ งภายในโลก

ตอบ .........................................................................................................................................................
5. แมกมา คอื อะไร

ตอบ ...........................................................................................................................................................

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 28
สำหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

ตอนที่ 3 จงเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องทสี่ ุด จากโจทย์ตอ่ ไปนี้

1. ชั้น “ฐานธรณีภาค” อยู่ตรงส่วนใดของ ค. 150 กิโลเมตร ง. 170 กโิ ลเมตร

โครงสรา้ งโลก 7. พจิ ารณาขอ้ ความต่อไปน้ี

ก. ชน้ั เปลือกโลก 1. เนื้อโลกมีมวลมากที่สุดของโครงสร้างโลก
ข. รอยต่อช้นั เปลือกโลกกับชั้นเนอ้ื โลก ทั้งหมด
ค. ชน้ั เน้อื โลก
ง. รอยตอ่ ชน้ั เน้ือโลกกบั ช้ันแก่นโลก 2. เน้อื โลกตอนบนประกอบดว้ ยหินหนดื
3. ฐานธรณีภาคเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อโลก
2. ปรากฏการณ์ใดทีส่ นบั สนุน “ทฤษฎีบกิ แบง”
ก. การชนกันของดาวหางกับดาวเคราะห์ ก. 1. ข. 2.
ข. การขยายตัวของเอกภพ ค. 1. และ 2. ง. 2. และ 3.
ค. การเกดิ ลมสรุ ยิ ะ จ. 1., 2. และ 3

ง. การยุบตวั ของดาวฤกษ์ 8. เปลอื กโลกมีส่วนประกอบตามข้อใด

3. โครงสรา้ งโลกแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี ก. แผ่นดินพน้ื ทวีปและใตม้ หาสมุทร
ข. แผ่นดนิ ภูเขา สันปันน้ำ แม่นำ้ มหาสมุทร
ไดช้ ้นั ใหญ่ๆสามชนั้ อะไรบา้ ง?
ก. ชนั้ เปลอื กโลก ใตเ้ ปลอื กโลก แก่นโลก ถ้ำ
ค. แผ่นดนิ ส่วนท่อี ย่ใู ต้ทะเลซึ่งติดต่อกับแผ่น
ข. ช้ันเปลือกโลก เน้อื โลก ธรณภี าค
พนื้ ทวปี
ค. ชน้ั เปลอื กโลก เน้อื โลก หินหนืด
ง. เปลอื กโลกที่เป็นพืน้ ดินประกอบดว้ ยซลิ ิกา
ง. ชน้ั เปลอื กโลก เนอื้ โลก แกน่ โลก
4. ชั้นใดของโครงสร้างโลกที่เป็นแหล่งแร่ อะลูมนิ า และแมกนเี ซียม
9. แก่นโลกชั้นในประกอบด้วยธาตุใดเป็นส่วน
มหาศาลสำหรบั ใช้ในอตุ สาหกรรม
ใหญ่
ก. ช้นั เปลอื กโลก ข. ชนั้ เนื้อโลก
ค. แก่นโลกชน้ั ใน ง. แกน่ โลกชั้นอก ก. ซิลกิ าและเหล็กออกไซด์
ข. เหล็กและนิกเกลิ
5. ธรณีภาค มคี วามหมายตรงตามขอ้ ใด ค. ฟลอู อไรต์และเหล็ก
ก. ชนั้ เนือ้ โลกส่วนบนกบั ชนั้ เปลือกโลก ง. เหลก็ ทองแดง และนกิ เกลิ
ข. ช้ันเนือ้ โลกส่วนล่างกบั ชนั้ แกน่ โลก
ค. ชน้ั ในเน้ือโลกทง้ั หมดกบั ชน้ั เปลอื กโลก 10. ขอ้ ใดไม่ใช่สมบัตขิ องคล่นื ไหวสะเทอื นชนดิ P
ก. แผก่ ระจายเปน็ วงรอบศูนย์เกิดแผ่นดนิ ไหว
ง. ชน้ั เปลือกโลกเพยี งอยา่ งเดียว
ข. เคล่อื นท่ีเหมือนคล่ืนเสียง
6. ถ้าเปลือกโลกมีความหนาประมาณ 0-70 ค. สามารถเคลอื่ นทผ่ี า่ นของแข็ง ของเหลว
กิโลเมตร ชั้นธรณีภาคหนา 0-100 กิโลเมตร ง. สามารถเคลื่อนท่ผี า่ นของแขง็ เท่านนั้
ชั้นเนอ้ื โลกส่วนบนจะมีความหนาเท่าใด

ก. 30 กโิ ลเมตร ข. 50 กโิ ลเมตร

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 29
สำหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก

ตอนท่ี 4 เลอื กคำทก่ี ำหนดให้ เตมิ ลงในช่องวา่ งให้สมบูรณ์

การศกึ ษาโครงสร้างโลก คำที่กำหนด เปลือกโลกทวีป ธรณีภาค เนื้อโลก คลื่นเลิฟ มีโซสเฟียร์ แก่นโลกช้ันใน

คลื่นเรย์ลี แก่นโลก ไซมา คลื่นในตัวกลาง เนื้อโลกส่วนบน คลื่นปฐมภูมิ แก่นโลกชั้นนอก
คลื่นปฐมภูมิ เปลือกโลก แก่นโลกช้ันใน ไซอัล คลื่นตามขวาง ฐานธรณีภาค คลื่นตามยาว
องค์ประกอบทางเคมี แกน่ โลกช้ันนอก เนอ้ื โลกส่วนลา่ ง

แผ่นดินไหว, ทดลองระเบิดนวิ เคลียร์ องค์ประกอบทางเคมีภายในช้ันต่างๆ

คล่นื ไหวสะเทอื น O, Si วเิ คราะห์จาก
และ Al หนิ เปลือกโลก
การเปลยี่ นแปลงของคลื่นไหวสะเทือน ประเภทและสมบัติของคลื่น

เปลือกโลกสมทุ ร

ของแขง็ เกร็ง คลนื่ พ้ืนผิว
คล่ืน P และ S ผ่านดว้ ย
เคล่อื นทไ่ี ปบนผิว
ความเร็วเพม่ิ ขนึ้ บนโลก

ของแขง็ สมบัติพลาสติก อนุภาคของตวั กลางส่นั ใน Mg, Fe
คลนื่ P และ S ผา่ นดว้ ย แนวราบ (คลา้ ยการเลอื้ ยของง)ู และ Si
ความเร็วเพมิ่ ข้ึนไมส่ มำ่ เสมอ
วิเคราะห์จากหินหนดื ที่
ปะทอุ อกมาบนโลก

ของแขง็ เกรง็ เคล่อื นทใี่ นระนาบแนวด่งิ เป็น
คลื่น P และ S ผา่ นดว้ ย วงรี (คลา้ ยคลนื่ ผวิ นำ้ )
ความเรว็ เพ่ิมขนึ้ สมำ่ เสมอ
แผก่ ระจายทุกทิศทางจาก Fe
ของเหลว ศูนยเ์ กิดแผน่ ดนิ ไหว และ Ni
คลื่น S เคล่อื นทผี่ า่ นไมไ่ ด้
วเิ คราะห์จากตวั อย่างอุกกาบาตที่
พบบนผวิ โลก ทฤษฎีการกำเนิด
สุริยะและขอ้ มูลสนามแม่เหล็กโลก

ของแขง็ ผ่านของแขง็ ผา่ นของแขง็ เท่าน้นั
คลนื่ P และ S ผา่ นดว้ ย ของเหลว และแก๊ส
ความเรว็ คอ่ นขา้ งคงท่ี

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 30
สำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

แบบทดสอบหลังเรยี น

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เลม่ ที่ 1 เร่อื ง โครงสรา้ งโลก
คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบชดุ น้ี เปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตวั เลือก จำนวน 20 ข้อ

2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย X ลงใน
กระดาษคำตอบ (ใช้เวลา 20 นาที)

1. นกั วิทยาศาสตร์ศึกษาเกีย่ วกบั โลกจากสง่ิ ใด 4. ผิวโลกในบริเวณต่างๆ มีลักษณะเป็น
ก. ชิ้นส่วนของอุกกาบาตที่ตกผ่านช้ัน อยา่ งไร?

บรรยากาศมายังพน้ื โลก ก. ทรี่ าบมีลกั ษณะเหมือนกัน
ข. การปะทุของภูเขาไฟที่พ่นชิ้นส่วนและ ข. สว่ นที่เป็นภเู ขามลี กั ษณะเหมือนกัน
ค. มีความแตกต่างกันตามลักษณะภูมิ
วตั ถุออกมาสพู่ ื้นผวิ โลก ประเทศ
ค. การเดินทางของคลื่นไหวสะเทือนผ่าน ง. ส่วนที่เป็นพื้นน้ำจะมีอุณหภูมิปกติ
เหมอื นกนั
ชนั้ หินตา่ งๆ ภายในโลก
ง. ถูกทุกขอ้

2. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้างโลก 5. โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้
ก. ช้ันฐานธรณภี าค คือ ส่วนของเน้ือโลกท่ี ช้ันใหญๆ่ สามช้ันอะไรบา้ ง?

รองรบั ชั้นธรณภี าค ก. ช้นั เปลือกโลก ใตเ้ ปลอื กโลก แกน่ โลก
ข. เปลอื กโลกภาคพนื้ ทวีปประกอบไปด้วย ข. ชน้ั เปลอื กโลก เน้อื โลก ธรณีภาค
ค. ชัน้ เปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด
หินบะซอลต์เปน็ สว่ นใหญ่ ง. ช้นั เปลือกโลก เนอ้ื โลก แกน่ โลก
ค. แก่นโลก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น
6. เปลือกโลกแบ่งออกเปน็ 2 บรเิ วณ คือ?
โลหะผสมระหว่างเหล็กและนกิ เกล ก. เปลอื กโลกภาคพ้ืนทวีปและเปลือกโลก
ง. นักวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งโครงสร้าง
ภาคพื้นนำ้
ของโลกได้จากการศกึ ษาคลื่นไหวสะเทือน ข. เปลือกโลกภาคพื้นดินและเปลือกโลก

3. หินหนืดที่พ่นออกจากภูเขาไฟ เป็นสาร ภาคพื้นน้ำ
ท่ีมาจากช้ันใดของโลก? ค. เปลือกโลกชั้นนอกและเปลอื กโลกชน้ั ใน
ง. เปลือกโลกภาคพ้ืนทวีปและเปลือกโลก
ก. ช้ันเปลอื กโลก ข. ชนั้ แมนเทลิ
ค. ชัน้ แกน่ โลก ง. ทุกช้ันรวมกัน ใต้มหาสมุทร

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 31
สำหรับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก

7. นักวิทยาศาสตร์ใช้ข้อมูลใดในการศึกษา 12. สาเหตุที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อ
องค์ประกอบทางเคมขี องชนั้ เนือ้ โลก ใด?

ก. ตวั อยา่ งหนิ บนผวิ โลก ก. การประทุของหินแข็งในช้ันเปลือกโลก
ข. ลาวาท่ีประทุขนึ้ มาบนผิวโลก ข. การแทรกตัวข้ึนมาของแร่ธาตุจากแก่น
ค. อุกกาบาตทต่ี กลงมาบนผิวโลก โลกชน้ั นอก
ง. หลุมเจาะสำรวจท่มี คี วามลกึ มาก ค. การเคลอ่ื นทขี่ องแร่ธาตุในแก่นโลกชนั้ ใน
ง. การไหลของหินหนดื ในชน้ั เนอื้ โลก
8. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบไปด้วย
อะไรบา้ ง? 13. จงพจิ ารณารูปท่ีกำหนดให้

ก. ซิลิคอนและอะลมู นิ า
ข. ซลิ ิคอนและซลิ ิกา
ค. เหลก็ และทองแดง
ง. ซิลิคอนและแมกนเี ซียม

9. ชัน้ ใดของโลกทีม่ คี วามหนามากท่สี ดุ ? ธาตุเหล็ก (Fe) และนิเกิล (Ni) มักพบท่ี
บรเิ วณใดของโครงสรา้ งโลก
ก. แก่นโลก ข. แมนเทิล
ก. หมายเลข 1 และ 2
ค. เปลอื กโลก ง. ผิวโลก ข. หมายเลข 2 และ 3
ค. หมายเลข 3 และ 4
10. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก ง. หมายเลข 1 และ 4
รวมกันเรยี กวา่ อะไร?
14. นักวิทยาศาสตร์เช่ือว่า จะสามารถศึกษา
ก. แมนเทิล
ข. ธรณภี าค ลักษณะและส่วนประกอบของโลกในครั้งแรก
ค. ธรณภี าคพ้ืนทวีป
ง. ธรณีภาคพืน้ เปลอื กโลก ไดว้ ัสดใุ นขอ้ ใด

ก. อกุ กาบาต ข. หนิ บะซอลต์

11. เปลือกโลกใต้มหาสมุทรประกอบด้วย ค. อลุ กมณี ง. เพชร
ธาตุอะไรบ้าง?
15. ถ้าองค์ประกอบภายในโลกเป็นเนื้อ
ก. ซิลิคอนและแมกนีเซียม เดียวกันทั้งหมด คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนท่ี
ข. ซิลิคอนและซลิ กิ า ผา่ นภายในโลกจะมลี ักษณะอยา่ งไร
ค. ซิลคิ อนและอะลูมนิ า
ง. ซลิ ิคอนและเหล็ก

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 32
สำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก

ก. คล่นื จะสะทอ้ นกลับหมดท่ีจุดศูนย์กลาง 18. ลักษณะภายในโลกแบ่งเป็นชั้นๆ จาก
ของโลก ชัน้ นอกสู่ชัน้ ใน คอื ชั้นเปลือกโลก (crust) ชั้น
เนื้อโลก (mantle) ชั้นแก่นโลกส่วนนอก
ข. เกิดการสะท้อนและหักเหของคล่ืน (outer core) และชั้นแก่นโลกส่วนใน (inner
ภายในโลก core) นักเรียนคิดว่าชั้นใดมีสถานะเป็น
ของแขง็
ค. คลน่ื จะถกู ดูดกลืนหมดภายในโลก
ง. คลื่นจะเคล่ือนทเี่ ปน็ เส้นตรง ก. Crust
ข. Outer core
16. เพราะเหตุใดแก่นโลกส่วนในจึงอยู่ใน ค. Mantle
สถานะของแข็ง ง. Crust and Mantle

ก. บริเวณแก่นโลกส่วนในมีอุณหภูมิสูง 19. ชั้นฐานธรณีภาค อยู่ตรงส่วนใดของ
มาก โครงสร้างโลก

ข. บริเวณแก่นโลกส่วนในประกอบด้วย ก. ช้ันเน้ือโลก
ธาตุเหลก็ และนกิ เกิล ข. ช้นั เปลือกโลก
ค. รอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลกกับช้ัน
ค. บริเวณแก่นโลกส่วนในประกอบด้วย เน้ือโลก
ธาตุแมกนเี ซียมและนกิ เกลิ ง. รอยต่อระหว่างชั้นเนื้อโลกกับชั้นแก่น
โลก
ง. บริเวณแก่นโลกส่วนในมีความดันสูง
มาก 20. ข้อความใดกล่าวถึงแก่นโลกชั้นนอกได้
ถูกตอ้ ง
17. แ น ว ไ ม ่ ต ่ อ เ น ื ่ อ ง โ ม โ ฮ โ ร ว ิ ซิ ก
( mohorovicic discontinuity) ห ร ื อ โ ม โ ฮ ก. เป็นชน้ั ทมี่ ีความหนาแนน่ นอ้ ยท่สี ุด
(moho) คือบริเวณใด ข. เป็นช้นั ของแขง็ ประกอบดว้ ยเหล็กและ
นิกเกลิ
ก. บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเนื้อโลกกับ ค. เป็นชั้นของเหลวประกอบด้วยเหล็ก
ช้นั แกน่ โลก และนิกเกิล
ง. เป็นชั้นหินหลอมเหลวประกอบด้วย
ข. บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก แมกนีเซียม เหลก็ และซลิ เิ กต
กับชนั้ เนื้อโลก

ค. บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเนื้อโลก
สว่ นบนกบั ชน้ั เนอื้ โลกสว่ นลา่ ง

ง . บริเวณรอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก
ภาคพื้นทวีปกบั เปลือกโลกมหาสมทุ ร

ขอใหโ้ ชคดีในการ
ตอบน่ะครัช...

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 33
สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 1 เรื่อง โครงสรา้ งโลก

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เลม่ ที่ 1 เร่อื ง โครงสรา้ งโลก

ชื่อ............................................................................................ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/....... เลขท่ี.........

ขอ้ ท่ี ก ข ค ง ข้อที่ ก ข ค ง เกง่ มากครับ...
1 11 ไม่ยากเกนิ
2 12 ความพยายาม
3 13 ของนกั เรยี น
4 14 ใช่ไหม...
5 15 ผ่านกนั ไหม
6 16
7 17 เอย.....
8 18
9 19
10 20

คะแนนทไ่ี ด้………... ลงชอื่ .....................................................ผตู้ รวจ
ผ่าน
ไมผ่ า่ น (.....................................................)
........./.............../............
เกณฑ์การประเมิน
คะแนนเตม็ 20 คะแนน สรปุ ผลการทดสอบ
18 – 20 คะแนน = ดีเย่ียม
15 – 17 คะแนน = ดีมาก ทดสอบกอ่ นเรยี นได.้ ............คะแนน
10 – 14 คะแนน = พอใช้ ทดสอบหลังเรยี น ได.้ ............คะแนน
0 – 9 คะแนน = ปรับปรุง ผลต่าง...................คะแนน

ผลการประเมนิ ผา่ น

ไมผ่ ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ

ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 34
สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่ง
ประเทศไทย จำกัด.

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2560). คู่มือครูหนังสือเรียนกระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551.
กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัทพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ(พว.).

จุฑาเทพ จิตวิลัย และชัยศาสตร์ คเชนท์สุวรรณ. (2560). สรุปหลักคิด พิชิตข้อสอบ โลก ดารา
ศาสตร์ อวกาศ ฉบับ TCAS มั่นใจเต็ม 100. (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: บริษัท ไอดีซี
พรีเมียร์ จำกัด.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพรา้ ว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานโลก
ดาราศาสตร์และอวกาศ (พมิ พค์ รง้ั ที่ 8). กรงุ เทพ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ชุดการอบรมครูผู้ช่วยหรือครูบรรจุใหม่ วิชา
โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย. สบื คน้ เม่ือ 20 พฤษภาคม
2560, จากชือ่ เวบ็ ไซต์ http://pd.ipst.ac.th/?p=1311

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2561). คู่มือครรู ายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่ม 1 (พิมพค์ ร้ังที่ 1). กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ สกสค.

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 35
สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เร่อื ง โครงสร้างโลก

บรรณานุกรม (ตอ่ )

เวบ็ ไซตอ์ า้ งองิ รปู ภาพ
ภาพท่ี 1.1 หลุมเจาะเพ่อื ศึกษาโครงสร้างโลก ;

ท่ีมา : http://nop-lucifer.blogspot.com/2014/08/10-1_19.html
ภาพท่ี 1.2 คลืน่ ปฐมภูมิ (P wave) และคล่ืนทุติยภูมิ (S wave) ;

ท่ีมา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/physical-structure
ภาพที่ 1.3 คลืน่ เลฟิ (L wave) ; ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/seismic-waves
ภาพที่ 1.4 คล่ืนเรย์ลี (R wave) ; ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/seismic-waves
ภาพที่ 1.5 การแบง่ โครงสรา้ งโลกตามสมบัติเชิงกล ;

ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/physical-structure
ภาพที่ 1.6 การแบ่งโครงสร้างโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมี ;

ที่มา : http://www.trueplookpanya.com/knowledge
ภาพ ขดลวดสปริง (ในใบกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1.1 ตอนท่ี 1) ;

ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/cgi-bin/show2.cgi/kp6/BOOK20/pictures/s20-
106

ภาพ การเคลอ่ื นท่ีของคลืน่ ไหวสะเทือนผา่ นช้นั ต่างๆของโลก (ในใบกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี 1.1 ตอนที่ 2)
ทมี่ า : http://pd.ipst.ac.th/?p=1311

ภาพ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนกับระดับความลึก และภาพ
ขยายกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างความเรว็ ของคลืน่ ไหวสะเทือนกับระดับความลึกชว่ ง 0-
660 กโิ ลเมตร จากผวิ โลก (ในใบกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ 1.1 ตอนที่ 3) ;
ท่ีมา : http://www.scimath.org/e-books/8346/8346.pdf

ภาพ สว่ นประกอบของโลก (ในเฉลยใบกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 1.2) ;
ทีม่ า : https://www.bigstockphoto.com/th/image-49187312

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 36
สำหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง โครงสร้างโลก

ภาคผนวก

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 37
สำหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น - หลงั เรยี น

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
เล่มท่ี 1 เร่ือง โครงสร้างโลก

แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบหลงั เรยี น

ขอ้ เฉลยคำตอบ ข้อ เฉลยคำตอบ ขอ้ เฉลยคำตอบ ขอ้ เฉลยคำตอบ
ท่ี ท่ี ที่ ท่ี

1 ข 11 ง 1 ง 11 ก

2 ง 12 ค 2 ข 12 ง

3 ก 13 ง 3 ข 13 ค

4 ข 14 ข 4 ค 14 ก

5 ข 15 ก 5 ง 15 ง

6 ง 16 ค 6 ง 16 ง

7 ง 17 ข 7 ข 17 ข

8 ข 18 ง 8 ก 18 ก

9 ก 19 ก 9 ก 19 ก

10 ข 20 ค 10 ข 20 ค

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 38
สำหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 เร่อื ง โครงสร้างโลก

เฉลยใบกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1.1
เร่อื ง การศึกษาคล่นื ไหวสะเทือนทผ่ี า่ นโครงสร้างโลก

ตอนท่ี 1
1. เมื่อออกแรงอัดสปริง ใหว้ าดภาพคลื่นทส่ี ังเกตได

(อย่ใู นดลุ พินิจของครูผสู้ อน)
➢ ทิศทางการเคล่ือนทีข่ องคล่นื กับทศิ ทางการเคล่ือนของรบิ บิ้นมีความสัมพนั ธ์กันอย่างไร

ลักษณะการเคล่อื นท่ีของริบบิ้นมีทิศทางเดยี วกบั การเคลอ่ื นท่ีของคลื่น

2. เมือ่ ออกสะบดั สปริง ให้วาดภาพคลืน่ ทส่ี ังเกตได

(อย่ใู นดลุ พนิ ิจของครผู ู้สอน)
➢ ทศิ ทางการเคลื่อนทข่ี องคลืน่ กับทิศทางการเคล่อื นของรบิ บิ้นมคี วามสมั พนั ธ์กันอย่างไร

ลกั ษณะการเคลอ่ื นท่ีของรบิ บ้นิ มีทศิ ทางตงั้ ฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น

➢ จากผลการทดลองในข้อ 1 และ 2 ข้อใดเป็นคลื่นตามยาว และข้อใดเป็นคลื่นตามขวาง เพราะ
เหตใุ ด
การทดลองในข้อ 1 เป็นคลื่นตามยาวเพราะสังเกตได้จากลักษณะการเคลื่อนที่ของสปริงมี

ทศิ ทางเดียวกับการเคลื่อนท่ขี องคลื่น
การทดลองในขอ้ 2 เป็นคลนื่ ตามขวาง เพราะสงั เกตได้จากลักษณะการเคล่อื นท่ีของสปริงมี

ทศิ ทางตั้งฉากกับการเคล่ือนท่ีของคลื่น

3. คล่นื ตามยาวและคล่นื ตามขวางมีความเร็วในการเคล่อื นท่ีแตกต่างกันอย่างไรเพราะเหตใุ ด
คลื่นตามยาวเคลื่อนที่ไดเ้ ร็วกว่าคล่ืนตามขวางเพราะสังเกตได้จากลักษณะการเคลื่อนที่ของ

สปริงมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น แต่คลื่นตามขวางมีลักษณะการเคลื่อนที่ของสปริงใน
ทศิ ทางต้งั ฉากกับการเคลอื่ นท่ีของคลืน่ ทำใหค้ ลื่นตามขวางใชเ้ วลาในการเคลื่อนท่มี ากกว่า

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 39
สำหรับนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เร่ือง โครงสร้างโลก

ตอนที่ 2 ตอบคำถามเกย่ี วกบั ลกั ษณะการเคลื่อนท่ีของคล่ืนไหวสะเทือนผ่านชน้ั ต่างๆ ของโลก
1. ฐานธรณีภาคและธรณภี าคมีสมบัติแตกต่างกนั หรอื ไม ทราบไดอยา่ งไร

มีสมบัตแิ ตกต่างกนั ทราบได้จากคล่ืนไหวสะเทือนมคี วามเรว็ ลดลง

2. บรเิ วณใดท่คี ล่ืน S ไมสามารถเคลอ่ื นท่ีผ่านได เพราะเหตุใด
บรเิ วณแกน่ โลกช้นั นอก เพราะมีสถานะเปน็ ของเหลว

3. คลน่ื S ท่ีปรากฏอยูใ่ นแก่นโลกชน้ั ในเป็นคลน่ื S เดียวกันกับคลนื่ S ทีป่ รากฏอย่ใู นช้ันมีโซสเฟียร์
หรอื ไม และคลื่น S ดงั กลา่ วเกดิ ข้ึนไดอยา่ งไร
ไม่ เพราะคล่ืน S ในช้นั มโี ซสเฟียรไ์ ม่สามารถผ่านแก่นโลกช้นั นอกที่เปน็ ของเหลวได้ แต่คล่ืน

S ท่ปี รากฏในแกน่ โลกชั้นในเปน็ คล่ืน S ทีเ่ ปลีย่ นแปลงมาจากคล่นื P ท่เี ดนิ ทางจากแก่นโลกชั้นนอก
เข้าสู่แกน่ โลกช้ันใน

4. โครงสร้างโลกแต่ละชั้นดงั ภาพ มสี ถานะและความหนาแน่นแตกตา่ งกันอย่างไร
ช้ันธรณภี าค มีสถานะเป็นของแขง็ ความหนาแน่นน้อยท่ีสดุ
ชั้นฐานธรณีภาค มีสถานะเป็นของแข็งในสภาพพลาสติก ความหนาแน่นใกล้เคียงชั้นธรณี

ภาค
ชัน้ มโี ซสเฟียร์ มสี ถานะเปน็ ของแขง็ ความหนาแน่นเพมิ่ ข้นึ จากชั้นฐานธรณภี าค
แกน่ โลกชั้นนอก มสี ถานะเปน็ ของเหลว ความหนาแนน่ เพม่ิ ขนึ้ จากช้นั มีโซสเฟียร์
แกน่ โลกช้ันใน มสี ถานะเป็นของแขง็ ความหนาแน่นเพ่มิ ข้นึ จากแกน่ โลกช้ันนอก

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 40
สำหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 เรื่อง โครงสรา้ งโลก

ตอนที่ 3 ให้นักเรียนแปลความหมายและอธบิ ายข้อมูลการเคลื่อนท่ีของคลน่ื ไหวสะเทือนตามระดับ
ความลกึ ของโครงสร้างโลกจากกราฟที่กำหนดให้

ระดับความลึก การเปลี่ยนแปลงความเร็วของ สถานะของ
ตัวกลาง
(กิโลเมตร) คลื่น P คลื่น S ของแขง็

0-200 ที่ความลึก 200 กม. ความเร็ว ที่ความลึก 200 กม. ความเร็ว ของแข็ง

เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 6.4 เป็น เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 3.7 เป็น ของแข็ง
ของเหลว
8.4 4.8
ของแข็ง
200-660 ที่ความลึก 200-250 กม. ความเร็ว ทคี่ วามลกึ 200-250 กม. ความเร็ว

ลดลงจาก 8.4 เหลือ 7.9 จากนั้นมี ลดลงจาก 4.8 เหลอื 4.3 จากนั้นมี

ความเร็วเพิ่มขึน้ จนถึง 11 ความเร็วเพิ่มขึ้นจนถึง 6

660-2,900 ความเร็วเพมิ่ ข้ึนจาก 11 เป็น 14 ความเร็วเพม่ิ ข้นึ จาก 6 เป็น 7

2,900-5,150 ทีค่ วามลึก 2900 กม. ความเร็วลดลง ไม่ปรากฏคล่ืน S

อย่างรวดเร็วจาก 14 เป็น 8 จากนนั้

ความเรว็ เพิม่ ขน้ึ จาก 9 เป็น 11

5,150-6,370 ความเร็วคงทป่ี ระมาณ 11 ความเรว็ เพิ่มข้ึนจาก 3.5 เป็น 3.4

คำถามท้ายกิจกรรม
1. จากกจิ กรรม กราฟทก่ี ำหนดใหแ้ สดงข้อมลู เรอ่ื งใดบ้าง
ตอบ ข้อมูลความเรว็ ในการเคลือ่ นท่ีของคลน่ื P และคลนื่ S และระดับความลึกของโครงสร้างโลก

2. ข้อมูลในกราฟมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ความลึกที่เพิ่มขึ้นทำให้ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
เปล่ยี นแปลงอย่างไร
ตอบ ในช่วง 0-2,900 กม. ความเร็วของคลื่น P และคลื่น S มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามระดับความลึก
จากนั้นระดับความลึกท่ี 2,900 กม. ความเร็วของคลื่นทั้งสองลดลงอย่างรวดเร็ว ส่วนคลื่น S หายไป
และความเรว็ ของคลน่ื P คอ่ ยๆ เพิม่ ขึน้ ตามระดับความลึกอีกครั้ง

3. โครงสรา้ งโลกแต่ละระดับความลกึ มสี ถานะเหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไรทราบได้อย่างไร
ตอบ มีสถานะแตกต่างกนั ดังตารางบันทกึ ผล เนื่องจากสมบัติของคลืน่ ทีเ่ คล่ือนที่ผ่านตวั กลางได้ตา่ ง
สถานะกัน คลน่ื ปฐมภมู เิ คลือ่ นท่ผี ่านตวั กลางทุกสถานะ ส่วนคลื่นทุตยิ ภมู ิผ่านไดเฉพาะตวั กลางที่เป็น
ของแขง็

โดย ครสู ลุ กฟิ ลี โสพันธ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 41
สำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

เฉลยใบกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1.2
เรือ่ ง แบบจำลองโครงสร้างโลก

คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพแบบจำลองโครงสร้างโลกแบบย่อส่วน พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับ
โครงสร้างโลกอย่างละเอียดและสมบูรณ์มากที่สุด โดยบังคับให้ระบุคำต่อไปนี้ประกอบ (กำหนด
มาตราสว่ น 1 น้ิว = 1,000 กิโลเมตร)

1. เปลือกโลก 2. เนื้อโลก 3. แก่นโลก 4. แนวแบ่งโมโฮโรวซิ ิก 5. ไซอัล-ไซมา 6. แนวแบ่งกูเทนเบิรก์
7. หนิ หนืด 8. ธรณีภาค 9. ฐานธรณภี าค 10. มีโซสเฟียร์ 11. หนิ อลั ตราเมฟกิ 12. Fe และ Ni

(เปน็ ตวั อย่าง ทั้งนอ้ี ย่ใู นดลุ พนิ จิ ของครผู สู้ อน)

หินอลั ตราเมฟกิ ไซอัล ไซมา แนวแบ่งโมโฮโรวิซิก

เปลือกโลก ธรณภี าค
ฐานธรณภี าค

เนื้อโลก มีโซสเฟยี ร์ (มชั ฌมิ ภาค)

แนวแบง่ กเู ทนเบิรก์

แก่นโลก Fe และ Ni
Fe และ Ni

ทีม่ า : https://www.bigstockphoto.com/th/image-49187312

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพันธ์ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 42
สำหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 เร่ือง โครงสรา้ งโลก

เฉลยใบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1.3
เร่อื ง แบบฝกึ หัดทา้ ยบท...โครงสร้างโลก

ตอนที 1 ให้นักเรยี นเตมิ คำต่อไปนใี้ นช่องวา่ งให้ถกู ตอ้ ง

แนวไมต่ อ่ เน่ืองโมโฮโรวิซกิ P wave อณุ หภมู สิ งู เหล็กและนิกเกลิ
ไซมา
ความเรว็ ทีเ่ พิม่ ข้นึ อย่างรวดเรว็ S wave แนวไม่ต่อเน่ืองกเู ทนเบริ ์ก
ไซอลั
อณุ หภมู ติ ำ่ หินอัคนี อัตราเร็วค่อนขา้ งคงท่ี หินหนืด

1. ......แนวไมต่ ่อเน่ืองโมโฮโรวิซกิ .....................เปน็ บรเิ วณรอยตอ่ ระหว่างชั้นเปลอื กโลกกบั ชนั้ เนื้อโลก
2. แกน่ โลกส่วนนอก ประกอบดว้ ย....................เหล็กและนกิ เกิล...............ที่อยู่ในสภาพหลอมละลาย
3. ชั้นธรณีภาค พบว่าคล่นื ปฐมภมู แิ ละคลน่ื ทุตยิ ภูมจิ ะเคล่ือนทด่ี ว้ ย..ความเรว็ ทีเ่ พมิ่ ข้ึนอยา่ งรวดเรว็ ..
4. เนอ้ื โลกสว่ นบน ประกอบไปด้วยหนิ ทีอ่ ย่ใู นสภาพหลอมละลาย เรียกว่า..........หนิ หนืด....................
5. ......................P wave...................................................เปน็ คล่นื ที่สามารถเคลอ่ื นทีผ่ ่านของเหลวได้
6. .......................ไซอัล......................................................คือ เปลือกโลกภาคพืน้ ทวปี
7. คลน่ื P และ คลื่น S สามารถเคลอ่ื นที่ทะลทุ ะลวงผ่านเข้าไปยงั แกน่ โลกชน้ั ในได้ โดยจะม.ี อัตราเร็วคอ่ นข้างคงท่ี
8. แก่นโลกช้ันนอกและแก่นโลกช้ันในมสี ่งิ ท่เี หมือนกนั คอื ...เหลก็ และนิกเกิล…………….........................
9. ระหวา่ งแกน่ โลกกบั เน้อื โลก จะแนวทเี่ รียกวา่ .........แนวไมต่ อ่ เนื่องกเู ทนเบริ ์ก..................................
10. แก่นโลกส่วนนอกม.ี ..................อุณหภมู ิตำ่ .......................................................กว่าแก่นโลกส่วนใน

ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. นักธรณีแบ่งโครงสรา้ งโลกตามสมบตั เิ ชงิ กล ออกเป็นก่ชี ั้น อะไรบา้ ง

ตอบ 5 ชั้น คือ ธรณีภาค ฐานธรณภี าค มโี ซสเฟยี ร์ แก่นโลกช้ันนอก แกน่ โลกชน้ั ใน
2. สว่ นท่ีเปน็ พน้ื ดนิ ท้งั หมด และใต้มหาสมุทร เปน็ โครงสรา้ งโลกชัน้ ใด

ตอบ เปลือกโลก
3. แกน่ โลกชั้นนอกกับแก่นโลกช้นั ใน มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั อยา่ งไร

ตอบ แกน่ โลกชั้นนอก = มีเหล็กและนกิ เกลิ ท่เี ปน็ ของเหลว, แกน่ โลกชน้ั ใน = มเี หลก็ และนกิ เกลิ เป็นของแขง็
4. ข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการศึกษาเรื่องใดบ้างท่ชี ่วยใหน้ กั ธรณีรเู้ กย่ี วกับโครงสรา้ งภายในโลก

ตอบ 1. ศึกษาจากหินท่มี าจากภเู ขาไฟระเบิด 2. ศกึ ษาจากอกุ กาบาต 3. ศกึ ษาจากการขุดเจาะ
4. ศึกษาจากคลน่ื ไหวสะเทอื น

5. แมกมา คอื อะไร ตอบ หนิ หนืด หรอื หินหลอมเหลวมีลักษณะเปน็ สารเหลวอยู่ลกึ ใต้เปลอื กโลก

ชน้ั ฐานธรณภี าค

โดย ครสู ุลกฟิ ลี โสพนั ธ์ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 43
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างโลก

ตอนที่ 3 จงเลอื กคำตอบที่ถูกต้องท่สี ุด จากโจทย์ตอ่ ไปนี้

1. ชั้น “ฐานธรณีภาค” อยู่ตรงส่วนใดของ ค. 150 กิโลเมตร ง. 170 กโิ ลเมตร

โครงสรา้ งโลก 7. พจิ ารณาขอ้ ความต่อไปน้ี

ก. ชนั้ เปลอื กโลก 1. เนื้อโลกมีมวลมากที่สุดของโครงสร้างโลก
ข. รอยตอ่ ชนั้ เปลือกโลกกบั ชนั้ เนือ้ โลก ทั้งหมด
ค. ชนั้ เน้ือโลก
ง. รอยต่อชนั้ เนื้อโลกกบั ชน้ั แก่นโลก 2. เน้อื โลกตอนบนประกอบดว้ ยหินหนดื
3. ฐานธรณีภาคเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อโลก
2. ปรากฏการณใ์ ดท่สี นบั สนนุ “ทฤษฎบี ิกแบง”
ก. การชนกนั ของดาวหางกับดาวเคราะห์ ก. 1. ข. 2.
ข. การขยายตวั ของเอกภพ ค. 1. และ 2. ง. 2. และ 3.
ค. การเกิดลมสุริยะ จ. 1., 2. และ 3

ง. การยุบตวั ของดาวฤกษ์ 8. เปลอื กโลกมีส่วนประกอบตามข้อใด

3. โครงสร้างโลกแบง่ ตามองค์ประกอบทางเคมี ก. แผ่นดินพน้ื ทวีปและใตม้ หาสมุทร
ข. แผ่นดนิ ภูเขา สันปันน้ำ แม่นำ้ มหาสมุทร
ได้ชน้ั ใหญ่ๆสามชน้ั อะไรบา้ ง?
ก. ชนั้ เปลือกโลก ใตเ้ ปลอื กโลก แก่นโลก ถ้ำ
ค. แผ่นดนิ ส่วนท่อี ย่ใู ต้ทะเลซึ่งติดต่อกับแผ่น
ข. ช้ันเปลือกโลก เนอ้ื โลก ธรณภี าค
พนื้ ทวปี
ค. ช้ันเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด
ง. เปลอื กโลกที่เป็นพืน้ ดินประกอบดว้ ยซลิ ิกา
ง. ชนั้ เปลอื กโลก เน้ือโลก แกน่ โลก
4. ชั้นใดของโครงสร้างโลกที่เป็นแหล่งแร่ อะลูมนิ า และแมกนเี ซียม
9. แก่นโลกชั้นในประกอบด้วยธาตุใดเป็นส่วน
มหาศาลสำหรับใช้ในอตุ สาหกรรม
ใหญ่
ก. ชั้นเปลือกโลก ข. ชั้นเนอื้ โลก
ค. แก่นโลกชั้นใน ง. แกน่ โลกชั้นอก ก. ซิลกิ าและเหล็กออกไซด์
ข. เหล็กและนิกเกลิ
5. ธรณีภาค มคี วามหมายตรงตามขอ้ ใด ค. ฟลอู อไรต์และเหล็ก
ก. ชน้ั เนือ้ โลกสว่ นบนกับชน้ั เปลอื กโลก ง. เหลก็ ทองแดง และนกิ เกลิ
ข. ชน้ั เนอ้ื โลกส่วนล่างกับช้ันแกน่ โลก
ค. ชนั้ ในเนือ้ โลกทง้ั หมดกบั ชน้ั เปลอื กโลก 10. ขอ้ ใดไม่ใช่สมบัตขิ องคล่นื ไหวสะเทอื นชนดิ P
ก. แผก่ ระจายเปน็ วงรอบศูนย์เกิดแผ่นดนิ ไหว
ง. ชนั้ เปลอื กโลกเพยี งอยา่ งเดยี ว
ข. เคล่อื นท่ีเหมอื นคล่ืนเสียง
6. ถ้าเปลือกโลกมีความหนาประมาณ 0-70 ค. สามารถเคลอื่ นทผ่ี า่ นของแข็ง ของเหลว
กิโลเมตร ชั้นธรณีภาคหนา 0-100 กิโลเมตร ง. สามารถเคลื่อนท่ผี า่ นของแขง็ เท่านนั้
ช้ันเน้อื โลกสว่ นบนจะมคี วามหนาเท่าใด

ก. 30 กโิ ลเมตร ข. 50 กโิ ลเมตร

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสตรยี ะลา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 (ว30251) 44
สำหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มที่ 1 เรอื่ ง โครงสร้างโลก

ตอนที่ 4 เลอื กคำทก่ี ำหนดให้ เติมลงในช่องวา่ งให้สมบูรณ์

การศึกษาโครงสร้างโลก คำที่กำหนด เปลือกโลกทวีป ธรณีภาค เนื้อโลก คลื่นเลิฟ มีโซสเฟียร์ แก่นโลกชั้นใน

คลื่นเรย์ลี แก่นโลก ไซมา คลื่นในตัวกลาง เนื้อโลกส่วนบน คลื่นปฐมภูมิ แก่นโลกชั้นนอก
คลื่นปฐมภูมิ เปลือกโลก แก่นโลกชั้นใน ไซอัล คลื่นตามขวาง ฐานธรณีภาค คลื่นตามยาว
องค์ประกอบทางเคมี แกน่ โลกช้ันนอก เน้ือโลกส่วนลา่ ง

องค์ประกอบทางเคมี

แผ่นดนิ ไหว, ทดลองระเบิดนวิ เคลียร์ องคป์ ระกอบทางเคมภี ายในชั้นต่างๆ

คล่นื ไหวสะเทือน O, Si เปลอื กโลก วิเคราะห์จาก
และ Al หนิ เปลอื กโลก
การเปลยี่ นแปลงของคล่นื ไหวสะเทือน ประเภทและสมบัตขิ องคลน่ื

ธรณภี าค เปลือกโลกทวปี เปลอื กโลกสมุทร

ของแขง็ เกรง็ คลน่ื พนื้ ผวิ ไซอัล (Si-Al) ไซมา (Si-Ma)
คลนื่ P และ S ผ่านดว้ ย
เคล่อื นท่ีไปบนผิว Mg, Fe เนื้อโลก วเิ คราะห์จาก
ความเรว็ เพมิ่ ข้ึน บนโลก และ Si หนิ หนดื ท่ีปะทุ
ออกมาบนโลก
ฐานธรณีภาค คลืน่ เลิฟ
เน้ือโลกสว่ นบน เนื้อโลกสว่ นล่าง
ของแขง็ สมบตั ิพลาสตกิ อนุภาคของตัวกลางสนั่ ใน
คลืน่ P และ S ผา่ นดว้ ย แนวราบ (คลา้ ยการเลื้อยของงู)
ความเรว็ เพ่มิ ข้นึ ไม่สมำ่ เสมอ
คล่นื เรยล์ ี
มัชฌิมภาค (มโี ซสเฟยี ร์)
เคลือ่ นทีใ่ นระนาบแนวดงิ่ เปน็
ของแขง็ เกร็ง วงรี (คล้ายคลืน่ ผวิ นำ้ )
คล่นื P และ S ผา่ นดว้ ย
ความเร็วเพ่มิ ขนึ้ สมำ่ เสมอ คลนื่ ในตวั กลาง Fe แกน่ โลก
และ Ni
แกน่ โลกช้นั นอก แผ่กระจายทกุ ทศิ ทางจาก วิเคราะหจ์ ากตวั อย่างอุกกาบาตที่
ศูนย์เกดิ แผน่ ดินไหว พบบนผวิ โลก ทฤษฎีการกำเนดิ
ของเหลว สรุ ิยะและข้อมูลสนามแม่เหลก็ โลก
คลนื่ S เคลอื่ นทผ่ี า่ นไม่ได้ คลนื่ ปฐมภมู ิ คลื่นทตุ ยิ ภมู ิ

แกน่ โลกช้ันใน คลนื่ ตามยาว คลื่นตามขวาง แกน่ โลกชั้นนอก แกน่ โลกชัน้ ใน

ของแขง็ ผ่านของแขง็ ผา่ นของแขง็ เทา่ นั้น
คลื่น P และ S ผา่ นดว้ ย ของเหลว และแกส๊
ความเรว็ ค่อนข้างคงที่

โดย ครสู ุลกิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรียะลา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 (ว30251) 45
สำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก

ประวัตยิ อ่ ผู้จดั ทำ

ชื่อ – ชือ่ สกลุ นายสลุ กิฟลี โสพันธ์

วนั เดอื น ปเี กดิ 10 มถิ นุ ายน 2528

สถานทเ่ี กิด จงั หวัดยะลา

สถานท่อี ยู่ปัจจุบัน 56/40 ถนนบ้านเปาะยานิ หมู่ที่ 3 ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง

จังหวดั ยะลา รหัสไปรษณยี ์ 95000

ตำแหน่งหนา้ ทีก่ ารงานปัจจบุ ัน ครู วทิ ยฐานะชำนาญการ

สถานทท่ี ำงานปัจจบุ นั โรงเรยี นสตรยี ะลา อำเภอเมอื ง จังหวดั ยะลา รหสั ไปรษณยี ์ 95000

ประวตั ิรบั ราชการ พนักงานราชการ ตำแหน่งครูผู้สอน โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา
พ.ศ. 2552 อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน
จังหวัดยะลา
พ.ศ. 2554 ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนนคิ มพัฒนวทิ ย์ อำเภอบันนังสตา จังหวดั ยะลา
พ.ศ. 2557 ครู ค.ศ.1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา
อำเภอเมอื ง จังหวัดยะลา
พ.ศ. 2560 ครู ค.ศ.2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา
อำเภอเมือง จงั หวัดยะลา
พ.ศ. 2560 – ปจั จบุ ัน ครู ค.ศ.2 โรงเรียนสตรยี ะลา อำเภอเมือง จงั หวัดยะลา

ประวตั กิ ารศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชาฟิสิกส์
พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี จงั หวัดปตั ตานี
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาสตร์
พ.ศ. 2564 คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต
สงขลา จังหวดั สงขลา

โดย ครสู ลุ กิฟลี โสพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรยี ะลา


Click to View FlipBook Version