The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุป 5 บท ทักษะ ปี64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by one-janthakan, 2021-04-10 13:26:22

สรุป 5 บท ทักษะ ปี64

สรุป 5 บท ทักษะ ปี64

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ

ปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส1-2)

โครงการฝกึ อบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก
กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง

ในวันท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2564

ณ กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง หม่ทู ี่ 6 ตำบลไรห่ ลกั ทอง อำเภอพนสั นิคม
จังหวดั ชลบุรี

กศน.ตำบลไร่หลักทอง
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นิคม

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ชลบุรี

คำนำ

กศน.ตำบลไร่หลักทอง สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดทำ
โครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรคไข้ เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เข้าร่วม
กิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกวิธี พร้อมมีพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุ
ยุงลายอย่างต่อเน่ืองสม่ำเสมอ และสามารถนำความรู้ท่ีได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งมีการสรุปผลการจัดกิจกรรม
โครงการดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่าการดำเนนิ โครงการบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ทกี่ ำหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้
จัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตเสนอต่อผู้บริหาร ผู้เก่ียวข้องเพ่ือนำข้อมูลไปใช้ในการ
ปรบั ปรงุ และพัฒนาการดำเนินโครงการให้ดียงิ่ ขึ้น

คณะผูจ้ ดั ทำ ขอขอบคุณผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอ
พนสั นิคม ท่ีใหค้ ำแนะนำ คำปรกึ ษา ในการจดั ทำสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ ในครงั้ น้ี

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ต่อไป

นางสาวจนั ทกานต์ ทำเนาว์
ครู กศน.ตำบลไร่หลักทอง

กุมภาพันธ์ 2564

สารบัญ

หวั เรือ่ ง หนา้

คำนำ ก

สารบญั ข

สารบญั ตาราง ค

บทท่ี 1 บทนำ

- หลกั การและเหตุผล 1

- วัตถปุ ระสงค์ 1

- เป้าหมายการดำเนนิ งาน 1

- ผลลัพธ์ 2

- ตัวชวี้ ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 2

บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง

- กรอบการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต 3

- เอกสาร/งานทเี่ กย่ี วข้อง 3

บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ งาน 11

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 14

บทท่ี 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 19

บรรณานกุ รม

ภาคผนวก

- แผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ

- โครงการฝึกอบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรคไข้ เลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง

- หนังสอื ขออนุเคราะหว์ ทิ ยากร/หนังสือเชิญวทิ ยากร

- หนงั สอื คำสง่ั โครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคุม โรคไข้ เลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง

- รายงานผลการจดั กจิ กรรม

- แบบประเมินผ้รู บั บริการ

คณะผจู้ ัดทำ

สารบญั ตาราง หนา้

ตารางท่ี 14
15
1. ผู้เข้าร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 15
2. ผู้เข้ารว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ 15
3. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี 16
4. ผู้เขา้ รว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดับการศึกษา 16
5. แสดงค่าร้อยละเฉลีย่ ความสำเร็จของตัวชว้ี ดั ผลผลิต ประชาชนทวั่ ไป 17
6. ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 17
7. ค่าเฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ ารจัดการ 18
8. คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
9. คา่ เฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ

1

บทที่ 1
บทนำ

หลักการและเหตผุ ล

โรคไขเ้ ลอื ดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสขุ ทส่ี ำคญั ของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมี
ยุงลายเปน็ พาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต คา่ ใชจ้ ่ายในการรกั ษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกจิ ของประเทศ
เน่อื งจากโรคนี้มแี นวโนม้ การระบาดในชว่ งฤดูฝนของทกุ ปีและพบว่าประชากรท่ีป่วยดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออกมากทีส่ ดุ ได้แก่
กล่มุ เด็กวัยเรียนท่ีมอี ายุตั้งแต่ 5– 14 ปแี ตป่ ัจจุบันยังพบผู้ปว่ ยไข้เลอื ดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกดว้ ย
ดงั น้นั การดำเนนิ งานควบคมุ ป้องกนั โรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเรจ็ และเกิดประสทิ ธภิ าพนัน้ จำเปน็ ตอ้ งระดมความ
รว่ มมือจากทกุ ฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องในการกำจดั ลูกนำ้ ยงุ ลายท่เี ป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชมุ ชนตระหนกั ถึงความสำคญั ของ
ปญั หาโรคไขเ้ ลือดออกและรว่ มมือกันเฝา้ ระวังป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคนี้

ปญั หาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกทมี่ ีมาอย่างตอ่ เนือ่ ง ทำใหเ้ กิดการปรับเปลย่ี นแนวคิดในการแก้ไขปญั หา
จากการตัง้ รับไปส่นู โยบายเชิงรกุ โดยใชย้ ุทธศาสตรก์ ารมีสว่ นรว่ มให้คนในชมุ ชนไดต้ ระหนกั ถึงสภาพปัญหาของโรค
ไขเ้ ลอื ดออก เกิดความรบั ผดิ ชอบตอ่ ปัญหาทเี่ กดิ ข้นึ ในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวธิ ีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรค
ไข้เลือดออกเปน็ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสงิ่ แวดล้อม ดังนั้น การดำเนนิ งานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จงึ
ต้องปรับเปล่ียนใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ของโรคทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป โดยเนน้ ให้ประชาชนเหน็ ความสำคัญและถือเป็น
ภารกจิ ทีต่ อ้ งช่วยกัน กระตนุ้ และชกั นำใหป้ ระชาชน องค์กรชุมชน โรงเรยี น ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีสว่ น
รว่ มอย่างจริงจงั และต่อเนือ่ งจึงเป็นกจิ กรรมสำคญั ทีต่ ้องเรง่ รัดดำเนินการ

จากเหตผุ ลดังกลา่ ว กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ
พนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี จงึ ได้จัดทำโครงการฝกึ อบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง ขึ้น

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความร้คู วามเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอยา่ งถูกวิธี
2. เพือ่ ใหผ้ ูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหลง่ เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนอ่ื งสม่ำเสมอ
3. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรมนำความรู้ที่ไดร้ บั ไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

เปา้ หมาย (Outputs)

เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
ประชาชนตำบลไรห่ ลกั ทอง จำนวน 19 คน

เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
ผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการป้องกันโรคไข้เลอื ดออกอย่างถกู วิธี การทำลายแหลง่ เพาะพนั ธุ์

ยงุ ลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และนำความร้ทู ี่ไดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

ผลลพั ธ์

- ผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการป้องกนั โรคไข้เลอื ดออกอย่างถกู วิธี การทำลายแหล่งเพาะพนั ธุ์
ยงุ ลายอยา่ งต่อเน่ืองสม่ำเสมอ และนำความรู้ท่ีไดร้ บั มาปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน

2

ดชั นีช้วี ดั ผลสำเร็จของโครงการ

ตวั ชี้วัดผลผลติ (Outputs)
รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการปอ้ งกันโรคไขเ้ ลือดออกอย่างถกู วธิ ี

ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ์ (Outcomes)
รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม นำความร้ทู ี่ไดร้ ับมาปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน

3

บทที่ 2
เอกสารการศึกษาและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

ในการจัดทำสรปุ ผลโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง
คร้งั น้ี คณะผ้จู ัดทำโครงการได้ทำการค้นคว้าเน้ือหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง ดงั นี้

1. กรอบการจดั กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ
2. เอกสาร/งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1. กรอบการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต

นโยบายเรง่ ด่วน สำนกั งาน กศน.
ข้อที่ 1 น้อมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏบิ ัติ “หน่งึ ชุมชน หนึ่งนวตั กรรมการพัฒนาชุมชนถน่ิ ไทยงาม” เพื่อความ
กินดี อยู่ดี มงี านทำ เช่นโคกหนองนาโมเดล , คลองสวยน้ำใส, พลงั งานทดแทน (แสงอาทิตย์) ,จิตอาสา

2. เอกสาร/งานทเ่ี ก่ียวข้อง

โรคไขเ้ ลือดออก เป็นโรคติดต่ออนั ตรายท่ีระบาดในประเทศไทย โดยเฉพาะเม่อื เข้าสู่ช่วงฤดฝู น มนี ำ้ ขงั ทำให้ยุงชุกชุม
ซึ่งเอ้ือตอ่ การเพาะพนั ธุ์ของลูกน้ำยงุ ลาย เพื่อเปน็ การเฝ้า ระวังป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคไข้เลือดออก
รวมถึงการกำจดั ทำลายแหลง่ เพาะพันธุ์ลูกนำ้ ยงุ ลาย ทเี่ ปน็ พาหะน่าโรคไขเ้ ลือดออกในครวั เรือน หมูบ่ า้ น วดั โรงเรยี น อยา่ ง
ตอ่ เนื่อง เพื่อให้ประชาชนและขุมซน มคี วามรู้ ความตระหนัก และรว่ มมือกนั ชว่ ยลดปรมิ าณพาหะน่าโรคไขเ้ ลือดออก โดย
การกำจดั แหลง่ เพาะพันธุ ยุงลายอยา่ งจริงจัง สม่ำเสมอและตอ่ เนื่องการร่วมมือกนั ทำกิจกรรม
ความรู้เร่อื งไข้เลือดออก
สาเหตุของการเกดิ โรค

เกิดจากช้ือไวรัสแดงกมิ ิ 4 ชนดิ คอื แดงกิ 1, 2, 3, 4
การติดตอ่ ของโรค

มยี ุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยยงุ ลายจะกัดคนท่ีมเี ชื้อโรคไขเ้ ลอื ดออกแลว้ ไปกดั คนปกติ จะถา่ ยทอดเช้ือ ไปสู่คนปกติ
ยงุ ลายทีน่ ่าโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย สว่ นใหญเ่ ป็นยุงลายบา้ นท่ีมีแหลง่ เพาะพันธุอยูใ่ นภาชนะ ที่มนี ้ำขัง
อายแุ ละเพศผู้ป่วย

เปน็ ได้ทง้ั ในเด็กและผใู้ หญ่ แต่จากรายงานทางระบาดวิทยา พบวา่ กลุ่มอายทุ ี่ปว่ ยเป็นโรคไขเ้ ลือดออก มากท่ีสุด คอื
เด็กอายุ 5 - 14 ปี พบได้ทัง้ เพศหญิงและเพศชาย ผูท้ ่ีป่วยแลว้ มีโอกาสเป็นซำ้ ไดอ้ ีก และลา้ เป็นซำ้ ครั้งต่อมา ผู้ปว่ ยจะมี
อาการรุนแรงและจะมโี อกาสเสยี ชวี ิตสูง

ช่วงเวลาระบาด
พบได้ตลอดท้ังปี แต่พบมากในฤดฝู น ตงั้ แต่เดือนพฤษภาคมถงึ ตลุ าคม

อาการ
ผู้ป่วยไข้เลือดออก จะมีไขส้ ูงลอยไม่ลด (ประมาณ 38.5 - 40 องศาเซลเซยี ส) 2 - 7 วัน เบือ่ อาหาร คลืน่ ไล้ อาเจยี น

บางคนจะปวดทอ้ ง แนน่ ทอง หลังจากมีไข้ 2 - 3 วนั มกั จะมจี ดุ แดงท่ีผิวหนงั อาจมีเลอื ดกำเดา ออก เลือดออกตามไรฟัน
อาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายอจุ จาระสีดำ เมือ่ ไขล้ ดลงจะเรมิ่ หายเปน็ ปกติภายใน 7 วัน แตผ่ ู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะช็อก
หลังจากไข้ลด คอื มือ-เทา้ เย็น ซึม กระลบั กระส่าย ปสี ลาวะน้อยลง ล้าไม่ไดร้ ับ การรกั ษาอยา่ งถกู ต้องและทันทว่ งทีอาจ
เสียชีวิตได้

4

อาการสำคัญท่แี ตกต่างจากไข้หวดั
คือ ไขเ้ ลอื ดออกไม่มีน้ำมูก ไม่ไอ แต่จะปวดศรี ษะและปวดเมือ่ ยตามกลา้ มเน้ือมาก

อาการอนั ตรายทค่ี วรไปพบแพทยโ์ ดยเรว็
ในระยะไข้ลดลง ผู้ป่วยท่ีมีภาวะช็อก คือ มือ - เทา้ เย็น ซึม กระลบั กระส่าย ปสี ลาวะนอ้ ยลง ลา้ ไมไ่ ดร้ บั การรกั ษา

อยา่ งถูกต้องและทนั ทวี งทีอาจเสียชีวติ ได้

การปอ้ งกัน
โดยปอ้ งกันไมใ่ ห้ถูกยุงลายกัด ดว้ ยการกำจัดลูกนำ้ ยงุ ลาย ซ่ึงทำไดห้ ลายวธิ ี ดงั น้ี
1. การป้องกันไม่ให้ยงุ ลายกัด โดย

1.1 นอนในมุง้ หรือหอ้ งท่ีมีมุ้งลวด
1.2 จดุ ยากันยุงหรือใชย้ าทากันยงุ
1.3 ไมอ่ ยู่ในบรเิ วณที่อบั ลมหรอื เป็นมุมมืด มีแสงสว่างน้อย และควรเก็บสิง่ ของภายในบ้าน
ให้เปน็ ระเบยี บ เพราะยงุ ลายขอบเกาะพกั บริเวณมุมมดื ของหอ้ ง เครื่องเรือนตา่ งๆ มุ้ง สายไฟ ราวพาดผ้า และกองเส้ือผ้าที่มี
กลน่ิ เหง่อื ไคล
1.4 อาบน้ำ ชำระรา่ งกายใหส้ ะอาด ปราศจากกล่นิ เหง่ือไคล เพราะกล่นิ เหง่ือไคลจะดึงดูดยงุ ลาย ให้มากัดมากขน้ึ
2. การกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำได้หลายวิธี ดังนี้
2.1 ปดิ ฝาโอ่งนำ้ ใช้ - นำ้ ด่ืม ใหส้ นิท ทัง้ นอี้ าจปิดฝา 2 ขั้น โดยใช้ผ้าขาวบาง หรือผา้ พลาสติก คลุมปากโอง่ ก่อนปดิ
ฝา
2.2ใสท่ รายกำจดั ลูกนำ้ ในโอ่งน้ำหรือภาชนะท่ีไม่มีฝาปดิ ในอัตราสว่ นทรายกำจดั ลูกนำ้ 1 กรมั ตอ่ น้ำ 10 ลิตร
2.3 เกบ็ ทำลายวัสดแุ ละเศษภาชนะที่ไมใ่ ช้ในบา้ นและบริเวณรอบบ้าน เพ่ือไม่ให้มนี ำ้ ขงั และเป็น ทว่ี างไขข่ องยงุ ลาย
2.4 ใส่ผงซกั ฟอก หรือน้ำสม้ สายชู หรือเกลือแกงลงในนำ้ ท่ีจานรองขาตู้กันมด หรือเทนำ้ เดือดลง ในจานรองขาต้ทู กุ
สัปดาห์ หรอื ใช้ขันยาเรอื หรือขเ้ี ถา้ แทนการใส่น้ำ
2.5 ใสป่ ลากนิ ลกู น้ำในอ่างบวั และถงั เก็บน้ำในห้องนำ้ เข่น ปลาหางนกยูง ปลาสอด
2.6 ขัดล้างผวิ ดา้ นในของภาชนะเก็บน้ำทกุ ครง้ั เม่ือเปลี่ยนน้ำ เพอื่ ขจัดไข่ยงุ ลาย
2.7 เปลย่ี นน้ำในแจกันดอกไม้ทุก 7 วัน หรือใชก้ ระดาษหรือสำลอี ุดปากแจกกนั เพ่ือป้องกนั ยงุ ลายวางไข่
2.8 ปรับปรงุ สภาพแวดส้อมรอบบ้านและขุมซนใหส้ ะอาดไม่เป็นแหลง่ เพาะพนั ธยุ ุงลาย
3. การกำจัดยุงตวั เต็มวัย ทำได้หลายวธิ ี ดังน้ี
3.1 การพ่นเคมีกำจัดยงุ ตวั เต็มวัย โดยขอความร่วมมือจากเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ ใกลบ้ ้าน พน่ สารเคมีในกรณีมผี ปู้ ว่ ย
เกิดข้ึนในขุมซน
3.2 สำหรบั ในครวั เรอื น ทำได้หลายวิธี เขน่ ใชส้ เปรย์กระปองท่มี จี ำหนา่ ยตามรา้ นค้าทั่วไป ใชน้ ้ำ ผสมผงซักฟอกฉดี
พน่ ให้ถูกตวั ยุง ใชก้ ับดักไพ่ฟ้า ซึง่ แสงไพ่จะส่อให้ยุงบินเช้ากับดัก แล้วจะถูก กระแสไฟฟา้ ช๊อตตาย หรือใช้อุปกรณ์กำจัดยงุ
เข่น ไมต้ ยี ุง เป็นต้น
- การพน่ เคมีกำจดั ยุงตัวเต็มวยั มปี ระสิทธิภาพลดความหนาแนน่ ของยงุ ได้ประมาณ 3-5 วนั เท่านน้ั จงึ ตอ้ ง
ดำเนนิ การกำจัดลูกน้ำยงุ ควบคู่ไปด้วยเสมอ
- การพ่นเคมบี ่อยๆ โดยไม่จำเป็นจะทำให้ยุงด้อื ต่อสารเคมีกำจดั แมลง ซึ่งจะเกิดผลเสยี หายอยา่ งย่ิงใน การควบคุม
การระบาดของโรค

5

เน่ืองจากยุงลายบา้ นเปน็ พาหะนา่ โรคไข้เลอื ดออกในประเทศไทย และแหล่งเพาะพันธุยุงลายสามารถพบ ได้ทุกหลังคาเรือน
จงึ มคี วามจำเปน็ ท่ีประซาซนทุกหลังคาเรือนจะตอ้ งชว่ ยกนั ดแู ล กำจัดลกู นำ้ ยุงลายและลด แหล่งเพาะพนั ธุยงุ ลายใน
บา้ นเรือนซองตนเอง และมสี ่วนรว่ มในการวางแผนและตัดสินใจดำเนินงาน โดยมีองค์กร หลักในชมุ ซนช่วยกนั ดูแลองคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในฐานะเป็นหนว่ ยงานหลกั ในระดบั ห้องถิน่ จงึ มีบทบาท สำคัญอยา่ งมากต่อภารกิจน้ี

จากการดำเนนิ งานทผี่ า่ นมา ประซาซนประมาณร้อยละ 80 ยังเขา้ ใจผดิ เกยี่ วกับเร่อื งแหลง่ เพาะพันธุ ยุงลายว่าเปน็
แหล่งนำ้ ธรรมซาติ เช่น แหลง่ นำ้ เน่าเสยี ในหมบู่ ้าน ในท่อระบายนำ้ น้ำในคคู ลอง แหลง่ น้ำเหลา่ น้ี เป็นแหลง่ เพาะพันธุของ
ยุงรำคาญซงึ่ ไม่เปน็ พาหะน่าโรคไข้เลือดออก
ในความเป็นจรงิ ธรรมซาติของยงุ ลายชอบวางไข่ในน้ำ นิ่ง ใส สะอาด ดังนน้ั แหล่งเพาะพันธยุ งุ ลายจึงมัก อยใู่ นบ้านและรอบ
บา้ น ได้แก่ โอ่ง ภาชนะเก็บน้ำในหอ้ งน้ำ จานรองขาตกู้ ับข้าว แจกัน และยางรถยนต์เกา่ ซง่ึ เป็นทงั้ แหล่งเพาะพันธุยงุ ลาย
และท่หี ลบซ่อนของยงุ ลาย รวมทง้ั เศษวสั ดุที่ไมใ่ ช้ประโยชน์ เศษขยะท่ีสามารถ รองรบั น้ำได้ เช่น กลอ่ งโฟม ขวดน้ำดม่ื
กระป๋องนำ้ อดั ลม กล่องนม ดังน้ัน ถ้าเจ้าหนา้ ท่ีองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่นจะดำเนินงานดา้ นการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มแล้ว
จำเปน็ ตอ้ งให้ประซาซนร่วมมือดแู ลสิ่งแวดล้อมทงั้ ภายในและ บริเวณบา้ นดว้ ย นอกเหนือจากการดูแลแหล่งน้ำเสียต่างๆ
บทบาทหนา้ ทขี่ ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่
เม่ือรัฐบาลได้กระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขนั้ ตอน การกระจายอำนาจ
ให้แก่องค์กรปกครองสว่ นห้องถิ่น พ.ศ. 2542 องค์กรปกครองสว่ นห้องถ่นิ มหี น้าท่ีรบั ผดิ ชอบ ในการให้บริการแก่ประซาซน
โดยมีบทบาทหนา้ ทีโ่ ดยสรุป ดังน้ี

การศึกษา การทะนบุ ำรุงศาสนา และการสง่ เสริมวัฒนธรรม
การสาธารณูปการ
การปอ้ งกนั และระงับโรคติดต่อ
การจัดให้มีการบำรุงทางน้ำ ทางบก
การจัดให้มีการบำรงุ ทางระบายนำ้
การกำจัดขยะมลู ฝอยและสงิ่ ปฏกิ ลู
การจดั การให้มนี ำ้ สะอาดหรือการประปา
การจัดใหม้ ีโรงฆ่าสัตว์
การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
การจัดให้มแี ละบำรงุ การไฟฟ้าหรอื แสงสว่างโดยวิธีอื่นๆ
การจัดให้มีกิจการโรงรับจำนำหรอื สถานธนานุบาล
กิจกรรมสำคัญซงึ่ มีระบุไว้ในบทบาทหนา้ ทช่ี ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นท่เี ก่ียวชอ้ งโดยตรง คอื การป้องกนั และระงบั
โรคตดิ ตอ่ ส่วนกิจกรรมทสี่ อดคล้องและสามารถชว่ ยลดปัญหาแหล่งเพาะพนั ธุ์ยุงลายได้ มีอยู่ 2 กิจกรรม คือ การกำจัด ขยะ
มลู ฝอยและสง่ิ ปฏิกูล และการจัดให้มีนำ้ สะอาดและการประปา จะช่วยลดภาระการ กักเก็บน้ำของประซาซน ซึ่งเปน็ การลด
แหล่งเพาะพันธุยงุ ลายไดโ้ ดยทางอ้อมอีกด้วย
บทบาทของชุมชนงานปอ้ งกันและควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก
การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในระดับทอ้ งถนิ่ จะต้องเปน็ ความรว่ มมอื องชมุ ชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินมเี ครอื ข่ายครอบคลุมพ้ืนทท่ี ั่วประเทศและใกล้ชิดกบั ประซาซนมากที่สดุ มีการดดั เลอื ก บคุ ลากรมา
บริหารจัดการในหอ้ งถ่ินกนั เอง ทำใหเ้ กดิ ความใกลช้ ดิ การบรหิ ารจดั การไม่ซับซ้อนและเป็นทางการ มากเกนิ ไป และจาก
ภารกจิ หนา้ ท่บี ทบาทขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ส่วนหน่ึงเกีย่ วช้องกับการป้องกันและ ระงบั โรคติดต่อด้วยเหตุผล

6

ดงั กลา่ ว องค์กรปกครองสว่ นห้องถน่ิ จงึ นบั ว่าเป็นองคก์ รหลกั สำคญั โดยเปน็ แรงผลักดันให้ชุมซนดูแลตนเองให้ปลอดภยั จาก
โรคไข้เลอื ดออก ชว่ ยบริหารจัดการใหก้ ารดำเนินงานป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกขยายออกไปสชู่ มุ ซนได้อย่าง
กว้างขวาง และครอบคลมุ ทุกพ้นื ท่ีมากข้ัน เนื่องจากแหลง่ เพาะพนั ธุ์ยงุ ลายอยู่ใกลต้ ัวของประซาซน คือ ในบา้ นและบริเวณ
รอบบ้าน และจากสภาพบ้านในลงั คมไทย มีการ กักเกบ็ น้ำไวใ้ ช้อปุ โภค บรโิ ภค แทบทกุ หลังคาเรอื น ทำใหม้ ีโอกาสเกิดแหลง่
เพาะพนั ธยุ งุ ลายได้ในทุกครัวเรือน ในทางปฏบิ ัติทเ่ี หมาะสมและเปน็ ไปได้ คือ ชว่ ยสนบั สนนุ การรวมตวั ซองชุมซนเพ่ือช่วยกัน
ดแู ล สำรวจลูกนำ้ ยุงลายในเซตรับผดิ ชอบของตนเอง โดยดำเนนิ การดงั น้ี

1. เป็นแกนนำและศูนยก์ ลางในระดับท้องถน่ิ ซักซวนองคก์ ร ชมุ ซนอื่นๆ กลุม่ อาสาสมัครต่างๆ และ ประซาซนให้
ช่วยกนั สำรวจและควบคุมแหล่งเพาะพนั ธยุ ุงลายในบ้านตนเอง และในสาธารณสถานตา่ งๆ เชน่ วัด โบสถ์ มสั ยิด โรงเรยี น
ตลาด ฯลฯ และดูแลใหม้ ีการปฏิบัตอิ ย่างจรงิ จงั สม่ำเสมอตลอดปี โดยจดั แบ่งหน้าท่ีให้มี ทมี ตดิ ตามผลการสำรวจลูกน้ำ
ยุงลาย เป็นรายหม่บู ้าน/ชุมซน

2. สนับสนุนทรัพยากร ได้แก่ เคร่ืองพน่ เคมี สารเคมีกำจดั ลำนำ้ และสารเคมีกำจัดยุงตวั เตม็ วัย หรือเงิน
งบประมาณเพื่อการดำเนนิ การ

3. รว่ มเป็นคณะกรรมการจัดโครงการ/กิจกรรมพิเศษต่างๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกับการป้องกันและควบคุมโรค ไขเ้ ลอื ดออก
4. รว่ มกจิ กรรมการเผยแพรป่ ระซาสัมพนั ธ์เกยี่ วกบั โรคไขเ้ ลือดออก และส่งข่าวการป่วยหรือสงสัยว่ามี การป่วยด้วย
โรคไข้เลือดออกภายในชมุ ซน
5. ร่วมจดั กิจกรรมรณรงคห์ รือโครงการพิเศษต่างๆ ทเ่ี กยี่ วกบั การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
6. เป็นแกนกลางในการจัดตัง้ กองทุน ได้แก่ กองทุนสารเคมีกำจัดลูกน้ำ กองทนุ มุง้ กองทุนสมุนไพรไล่ยงุ ธนาคาร
ปลากนิ ลกู นำ้ หรือการน่าภูมิปัญญาท้องถิน่ มาใชป้ ระโยชน์ในการทำกิจกรรมป้องกันและควบคมุ โรค ไขเ้ ลอื ดออก เปน็ ต้น
7. กำหนดกฎระเบียบซองท้องถน่ิ เรื่อง การดแู ลรกั ษาความสะอาดซองบา้ นเรือนและชุมชน รวมทั้งการ กำจัดลูกนำ้
ยุงลายและแหลง่ เพาะพันธย์ ุงลาย
วธิ กี ารดำเนนิ งานปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออกให้มปี ระสิทธิภาพ
1. กำหนดให้มกี ิจกรรมการป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออก อยู่ในแผนการดำเนนิ งานขององค์กร ปกครองส่วน
ทอ้ งถ่นิ ทกุ ปี
2. กำหนดกจิ กรรมและมอบหมายภารกิจให้แต่ละหมบู่ า้ น/ชุมชน สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพนั ธ์ุยุงลาย โดยมี
จำนวนหลงั คาเรอื นทร่ี ับผดิ ซอบอย่างแน่นอน
3. สนบั สนนุ ใหม้ กี ารจัดทมี ติดตามตรวจสอบการสำรวจลูกน้ำอย่างน้อยทุก 2 สัปดาห์ ในฤดูกาลระบาด (เดือน
พฤษภาคม - ตลุ าคม) และเดือนละ 1 คร้งั ในขว่ งก่อนฤดูการระบาด (เดือนพฤศจิกายน - เมษายน)
4. ใหก้ ารสนับสมุนการพน่ เคมี เพอื่ ควบคมุ การระบาด (กรณมี ีผปู้ ่วยไข้เลือดออก) โดยการจดั ซ้อื สารเคมี หรอื เคร่ือง
พ่น หรอื งบประมาณในการดำเนินงาน
5. รว่ มกับสถานีอนามยั จัดทำโครงการ/กิจกรรมตา่ งๆ เกีย่ วกบั การป้อกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

มาตรการในการปอ้ งกันและควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก
โรคไข้เลอื ดออกจะเกิดขึ้นได้ต้องมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ ดือ

คน ดอื บคุ คลทเ่ี สีย่ งต่อการเกดิ โรค ซ่ึงไดแ้ ก่ เด็กท่ีมอี ายตุ ้งั แต่ 15 ปีลงมาเป็นส่วนใหญ่
เช้ือ ดอื ไวรัสแดง มี 4 ชนิด ดอื 1, 2, 3 และ 4 ซ่ึงมีในกระแสเลือดผู้ป่วยกอ่ นมีไข้ 1 วัน และ
ระยะมีไข้ประมาณ 2 - 4 วนั

7

ยุงลาย ดือ ยงุ ลายทมี่ ีเชอื้ จากการท่ไี ปกัดผู้ปว่ ย จะเปน็ ยุงพาหะนำเชื้อมาสูค่ น
หากชุมซนใดมีองคป์ ระกอบท้ัง 3 ประการอยูค่ รบถ้วน โรคไข้เลอื ดออกก็สามารถเกิดและระบาดในชุมซน น้ันได้ ในขณะนี้
วคั ซนี ป้องกันโรคไขเ้ ลอื ดออกยงั อยใู่ นระหวา่ งการพัฒนาสำหรบั เชือ้ ไวรัสยังไม่มยี าฆา่ เช้ือ โดยเฉพาะได้ ดงั นั้น กลวิธคี วบคมุ
โรคไขเ้ ลือดออกในปัจจุบัน ดอื การควบคุมยงุ พาหะน่าโรคให้นอ้ ยลง ซ่ึงทำได้โดยการ ควบคมุ แหล่งเพาะพันธ์ และการกำจดั
ยงุ ตวั เตม็ วยั
หลกั การควบคุมโรคไข้เลอื ดออก

แบง่ เปน็ 2 ระยะ คือ การป้องกนั โรคลว่ งหนา้ และการควบคมุ เมื่อมีการระบาด

มาตรการป้องกันโรคล่วงหน้า
การปอ้ งกนั โรคล่วงหน้า เปน็ กจิ กรรมดำเนินงานเตรียมความพร้อมเพ่ือป้องกันโรคไข้เลือดออกเกิดข้ึน กอ่ นทีจ่ ะถงึ

ฤดูกาลระบาด โดยลดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายและยงุ ตัวเต็มวยั ให้เหลอื จำนวนน้อยท่ีสุด ถือว่า เป็นกิจกรรมท่ีมี
ความสำคัญ การปอ้ งกันโรคล่วงหนา้ มกี จิ กรรม ดังนี้

1.ใหค้ วามรกู้ บั ประชาชน ในเรือ่ งปัจจัยทก่ี ่อใหเ้ กิดการป่วย โดยการจัดการบ้านเรือนของตนไม่ให้มีแหล่ง เพาะพันธ์ุ
ยงุ และวิธีการปฏิบัติเม่ือสงสยั วา่ จะป่วยเป็นโรคไขเ้ ลือดออก อาจจะทำไดห้ ลายช่องทางด้วยกัน คือ

X ทางสื่อมวลชน เช่น วทิ ยุ โทรทศั น์ หนงั ลือพิมพ์ เสียงตามสาย และหอกระจ่ายข่าว X ทางโรงเรยี น
โดยให้ความรเู้ รื่องโรคไขเ้ ลือดออกแกน่ ักเรยี น เพื่อใหน้ ักเรียนนา่ ความรไู้ ปถา่ ยทอด และ ไปปฏิบตั ทิ ี่บา้ น

X แจกเอกสาร เช่น แผน่ พับ คมู่ อื
X ซอความร่วมมือจากหนว่ ยงานราชการในห้องท่ี ใหเ้ ผยแพร่ความรู้เรื่องโรค
ไข้เลือดออก
X ขอความรว่ มมอื จากผ้นู ำท้องถิ่น ในการประชาสัมพนั ธข์ อความร่วมมือประชาชน
2. การกำจดั แหล่งเพาะพนั ธุ์ยุงลาย

2.1 วธิ ีทางกายภาพ ได้แก่
ปดิ ภาชนะเกบ็ น้ำ เพื่อป้องกันไม่ให้ยุงวางไข่
เปลีย่ นนำ้ ในภาชนะ ทุกๆ 7 วัน เพ่อื ไมใ่ ห้กลายเปน็ แหล่งเพาะพนั ธุ์ยงุ ลาย
จัดการส่งิ แวดล้อม เซน่ กำจัดแหล่งขยะทีม่ ภี าชนะน้ำขังได้

2.2 วิธที างชวี ภาพ ไดแ้ ก่
การปล่อยปลากินลกู นำ้

2.3 วธิ ที างเคมี ได้แก่
ใสท่ รายอเบท
การพ่นเคมีกำจัดยงุ ตัวเตม็ วยั เปน็ วิธีควบคมุ ยุงลายทไี่ ดผ้ ลดี แต่ใหผ้ ลเพียงระยะสั้น

(เพียง 3 - 5 วัน) นอกจากนยี้ ังมีข้อดอ้ ย คือ ราคาแพง ต้องใชเ้ ครอื่ งมือพ่น และควรปฏิบัตโิ ดยผู้ ทม่ี คี วามรู้ เพราะ เคมีภัณฑ์
อาจเป็นพิษต่อคนและสตั ว์เล้ียง และอาจทำให้เกิดการดื้อยา ดังน้ัน จงึ ควรใชก้ ารพน่ เคมีภัณฑ์เฉพาะเมอื่ จำเป็นจริงๆ เท่าน้นั
ดงั นี้

สำหรับประชาชนท่วั ไป หากควบคุมแหลง่ เพาะพันธุ์ยุงลายในบา้ นและบรเิ วณบา้ น อาจจะซ้ือ
เคมภี ัณฑ์กำจดั ยงุ ที่มขี ายตามท้องตลาดมาใช้ฉดี ฆา่ ยุงในบา้ นเป็นครัง้ คราว

8

สำหรับเจ้าหน้าท่ีที่รบั ผิดชอบในการควบคุมยงุ หากพบผ้ปู ว่ ยในพืน้ ท่ี ใหด้ ำเนินการ พน่ เคมีภายใน
24 ชั่วโมง เพือ่ ตดั วงจรการแพร่เชือ้ โดยพ่นในบ้านผปู้ ว่ ยและพ้นื ท่รี อบบ้านผู้ป่วย ในรศั มอี ยา่ งน้อย 100 เมตร และพ่น 2
คร้งั หา่ งกัน 7 วัน

*การพน่ เคมกี ำจัดยุงลายไม,วา่ โดยวธิ ใี ด จะมผี ลลดจำนวนยงุ ได้เพยี งระยะสั้น จำเปน็ ตอ้ งมี การควบคุมแหลง่
เพาะพนั ธยุ ุงลายร่วมด้วยเสมอ
วธิ กี ารพน่ เคมกี ำจดั ยงุ ลาย
สำหรบั เจา้ หน้าทสี่ าธารณสุขที่ใช้กนั ทั่วไปมี 2 วิธี คอื
1.การพน่ ฝอยละออง หรอื ยู แอล วี (Ultra Loe Volume) นำ้ ยาเคมจี ะถกู พ่นจากเครื่องพ่นโดยแรงอดั อากาศผ่านรพู ่น
กระจายออกมาเปน็ ฝอยละอองขนาดเล็กมากระจายอยใู่ นอากาศ แลว้ อาศยั กระแสลมพัดพาเชา้ ไปในบ้านเรือน จึงต้องเปิด
ประตหู นา้ ต่างขณะพน่ เพอ่ื ใหส้ มั ผสั กับตวั ยงุ ในบา้ น
2.การพน่ หมอกควัน นำ้ ยาเคมีจะถูกพน่ โดยอาศัยอากาศร้อนชว่ ยในการแตกตวั ของสารเคมจี ากเครื่อง พ่นกลายเป็นหมอก
ควนั พึงกระจาย วธิ ีการพ่นหมอกควนั กำจดั ยงุ ให้ได้ผลดี จะตอ้ งอบควันในบา้ นอย่างน้อย 30 นาที จงึ ต้องปดิ ประตหู นา้ ตา่ ง
ทุกบานให้มดิ ชดิ คนและสตั ว์เลย้ี งทุกชนิดจะต้องออกมาอยู่นอกบา้ น สำหรบั อาหารควรปกปิดให้มิดชิด
*การพน่ เคมีกำจดั ยงุ ลายขององค์การบรหิ ารส่วนตำบลร่อนทอง ใช้วธิ ีการพ่นหมอกควัน ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการพ่น
สารเคมี
1.ช่วงเวลาในการพน่ เคมีกำจัดยงุ จะต้องดำเนนิ การในชว่ งเวลากลางวันท่ียงุ ลายออกหากนิ
2.การพ่นเคมีต้องทำอย่างระมดั ระวัง เพื่อลดอันตรายต่อเจ้าหน้าท่ผี ดู้ ำเนินการพ่น ประซาซนและ สตั ว์เลี้ยง โดยเจ้าหน้าทีผ่ ู้
ปฏิบตั คิ วรมสี ง่ิ ป้องกันตัว เชน่ สวมเสื้อผ้าหนาๆ สวมใส่หน้ากากปดี ปากและจมูกให้ มดิ ชดิ และปฏบิ ตั ิให้ถูกวิธีเพ่ือให้เกดิ
ประสิทธิผลในการควบคุมยงุ ไดด้ ี
3.กอ่ นพน่ เคมีจะต้องประซาสัมพนั ธล์ ่วงหนา้ โดยแจง้ ใหเ้ จ้าของบา้ นและบา้ นใกล้เคียงได้รับทราบ เพ่ือป้องกนั ผลกระทบที่ไม่
พึงประสงคจ์ ากการพ่นเคมี

การเลือกสารเคมีท่ีใชใ้ นการควบคุมแมลงพาหะนำโรค
ควรเป็นสารเคมีที่มปี ระสิทธิภาพสงู ในการกำจัดแมลง แตม่ ีพิษน้อยตอ่ คนและสตั ว์ และควรมคี ุณสมบัติ ทำให้แมลง

ตายทันทเี มื่อแมลงโดนสมั ผัสดว้ ยสารเคมนี ้ัน วธิ กี ารเก็บสารเคมตี อ้ งเกบ็ รักษาใหถ้ ูกต้อง เพอื่ ไมใ่ ห้เกิด อนั ตรายและให้
สารเคมคี งสภาพไดน้ านท่ีสุด ไม่เสือ่ มคุณภาพ
มาตรการควบคุมเม่ือมีการระบาด
มาตรการหลัก

การใชส้ ารเคมีพ่นในบ้านและบริเวณบ้านผูป้ ว่ ยและในรศั มี 100 เมตร เพื่อควบคมุ การระบาด โดยมี วตั ถุประสงค์
เพอ่ื กำจัดยงุ ท่ีมีเชื้อไขเ้ ลือดออกให้หมดไปเรว็ ทส่ี ดุ
มาตรการเสริม

รณรงค์ประซาสมั พนั ธ์ใหค้ วามรู้แก่ประซาซน และขอความร่วมมอื ในการกำจัดและทำลายแหลง่ เพาะพันธ์ลูกนำ้
ยุงลาย

9

แนวทางการดำเนนิ งานป้องกันและควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออกในช่วงระบาดของโรค
1.สนบั สนนุ งบประมาณและดำเนนิ การรว่ มกบั เจ้าหน้าท่สี าธารณสุข เพอ่ื กำจดั แหล่งเพาะพนั ธุยงุ ลาย รวมท้งั พน่ สารเคมี
ควบคุมการระบาดในชุมซน โรงเรียน และคาสนสถานทุกแห่ง
2.เนน้ กำจดั แหลง่ เพาะพนั ธุลกู น้ำยุงลายในชว่ งทม่ี ีการระบาดในชมุ ซน และต้องไมม่ ีแหลง่ เพาะพันธุ์
ยุงลาย
3.ให้ทุกภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการป้องกันและควบคุมโรคไซ้เลือดออกอยา่ งต่อเน่ือง กรณีไมไ่ ดร้ บั ความ ร่วมมือในการกำจดั
แหลง่ เพาะพันธลุ ูกน้ำยุงลายในช่วงทร่ี ะบาด ใหน้ า่ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กำหนดใหแ้ หลง่ เพาะพนั ธยุ ุงลายเปน็
เหตุรำคาญ และแต่งตง้ั เจ้าพนักงานเพิ่มเตมิ มาเป็นข้อบังคบั ใช้ในท้องถ่นิ อยา่ งจริงจงั
4.ประซาสัมพันธใ์ ห้ประซาซนและเจ้าหนา้ ทีใ่ นหนว่ ยงานราชการทุกหน่วยทราบถงึ วิธกี ารปอ้ งกันโรค ไซ้เลอื ดออก และ
อาการท่ีสงสัยว่าเป็นไซ้เลือดออก รวมทง้ั อาการท่ีต้องรีบพบแพทย์

บทท่ี 3 10

วิธีดำเนนิ งาน

การดำเนินโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การปอ้ งกนั ควบคุม โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง ไดด้ ำเนินการตาม
ข้นั ตอนต่างๆ ดังน้ี

1. ขัน้ เตรยี มการ

 การศึกษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับโครงการฝกึ อบรมรณรงคก์ ารปอ้ งกัน ควบคมุ โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบล
ไรห่ ลกั ทอง

ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการได้ศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารท่เี กีย่ วข้องเพ่ือเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนินการโครงการ

ฝึกอบรมรณรงค์การปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง ดังนี้
1. ศกึ ษาเอกสาร / คมู่ ือ ข้อมูลจากหนังสือ เก่ียวกับการรณรงค์การป้องกนั ควบคุม โรคไขเ้ ลือดออก

เพื่อเป็นแนวทางเกีย่ วกับการจดั โครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคุม โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง

2. ศกึ ษาข้นั ตอนการดำเนนิ โครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทอง
เพอื่ เปน็ แนวทางในการจดั เตรียมงาน วัสดอุ ปุ กรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม

 การสำรวจความต้องการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรัฐบาล)
กลุม่ ภารกิจ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ

กลมุ่ เป้าหมายเพ่ือทราบความตอ้ งการทแ่ี ท้จรงิ ของประชาชนในตำบล และมีขอ้ มลู ในการจัดกจิ กรรมที่ตรงกบั ความต้องการ
ของชมุ ชน

 การประสานงานผู้นำชุมชน / ประชาชน /วิทยากร
1. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกับหวั หนา้ /ผูน้ ำชุมชนและประชาชนในตำบลเพ่อื รว่ มกันปรึกษาหารือใน

กลมุ่ เกยี่ วกบั การดำเนนิ การจัดโครงการใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน
2. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกับหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเพ่ือจดั หาวทิ ยากร

 การประชาสัมพนั ธ์โครงการฯ

ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการประชาสมั พันธ์การจัดโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรค
ไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง เพื่อใหป้ ระชาชนทราบข้อมูลการจดั กจิ กรรมดงั กล่าวผ่านผนู้ ำชมุ ชน

 ประชมุ เตรียมการ / วางแผน

1) ประชุมปรกึ ษาหารือผทู้ ่เี ก่ียวข้อง

2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ า่ ยตา่ งๆ เตรยี มดำเนนิ การ
3) มอบหมายหนา้ ท่ี แต่งต้งั คณะทำงาน
 การรับสมคั รผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ

ครู กศน.ตำบล ได้รบั สมัครผู้เขา้ ร่วมโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคุม โรคไข้เลือดออก กศน.

ตำบลไร่หลักทอง โดยใหป้ ระชาชนทว่ั ไปท่ีอาศยั อยู่ในพืน้ ที่ตำบลไร่หลักทอง เข้ารว่ ม เป้าหมายจำนวน 19 คน
 การกำหนดสถานทีแ่ ละระยะเวลาดำเนนิ การ

ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานที่ในการจัดอบรมคอื กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง หมทู่ ่ี 7 ตำบลไร่หลักทอง

อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี ในวนั ท่ี 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วัน เวลา 08.30-12.00 น.

11

2. ขนั้ ดำเนินงาน

 กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนตำบลไรห่ ลกั ทอง จำนวน 19 คน

 สถานที่ดำเนินงาน
ครู กศน.ตำบล จดั กิจกรรมโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบล

ไรห่ ลักทอง โดยจดั กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้ ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 08.30-12.00 น. ณ กศน.ตำบล
ไรห่ ลกั ทอง หม่ทู ่ี 6 ตำบลไรห่ ลกั ทอง อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี

 การขออนุมัตแิ ผนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน
กศน.ตำบล ไดด้ ำเนนิ การขออนุมัติแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต โครงการฝกึ อบรม

รณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง ต่อสำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบุรี เพื่อให้ต้นสงั กัดอนุมัติ
แผนการจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวติ

 การจดั ทำเครอ่ื งมือการวัดความพงึ พอใจของผู้ร่วมกิจกรรม
เครอื่ งมือท่ีใช้ในการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจ

 ข้ันดำเนนิ การ / ปฏิบัติ
1. เสนอโครงการเพอ่ื ขอความเหน็ ชอบ/อนมุ ตั จิ ากตน้ สงั กดั
2. วางแผนการจดั กิจกรรมในโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบล

ไร่หลักทอง โดยกำหนดตารางกิจกรรมที่กำหนดการ
3. มอบหมายงานใหแ้ กผ่ รู้ บั ผิดชอบฝ่ายตา่ งๆ
4. แต่งตง้ั คณะกรมการดำเนินงาน
5. ประชาสัมพันธ์โครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคมุ โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง
6. จัดกิจกรรมโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง ตาม

ตารางกจิ กรรมท่กี ำหนดการ
7. ติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบล

ไรห่ ลกั ทอง

3. การประเมินผล

 วิเคราะหข์ ้อมลู
1. บนั ทกึ ผลการสังเกตจากผู้เข้ารว่ มกิจกรรม
2. วเิ คราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมินความพึงพอใจ
3. รายงานผลการปฏิบตั ิงานรวบรวมสรุปผลการปฏิบัตงิ านของโครงการนำเสนอต่อผ้บู ริหารนำปญั หา

ข้อบกพร่องไปแก้ไขครัง้ ต่อไป

12

 คา่ สถิติทีใ่ ช้

การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสำเร็จของโครงการ

ตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถิตริ ้อยละออกมาได้ดังนี้

คา่ สถิติรอ้ ยละ 90 ขน้ึ ไป ดีมาก

ค่าสถติ ิร้อยละ 75 – 89.99 ดี

ค่าสถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้

คา่ สถิติร้อยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง

ค่าสถติ ิรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น

ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ

นำมาเปรยี บเทยี บ ได้ระดับคณุ ภาพตามเกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี

เกณฑ์การประเมนิ (X)

คา่ นำ้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คือ ดมี าก

ค่านำ้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ดี

ค่านำ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คือ พอใช้

คา่ น้ำหนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรับปรุง

คา่ นำ้ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน

13

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ งานและการวิเคราะห์ข้อมลู

ตอนที่ 1 รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการฝึกอบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบล
ไรห่ ลักทอง

การจัดกจิ กรรมโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง สรุปรายงาน
ผลการจดั กจิ กรรมไดด้ ังน้ี

ในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรตู้ ามโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไร่
หลักทอง เป็นการอบรมใหค้ วามรู้ โดยมี นางสาวโศภิดา บุญมี เปน็ วทิ ยากรในการบรรยายให้ความรู้ เรอื่ ง ความรทู้ ว่ั ไป
เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ลกั ษณะของโรคไขเ้ ลือดออก สาเหตุการเกดิ โรคไข้เลือดออก วิธีการติดต่อของโรคไขเ้ ลือดออก
ระยะฟกั ตวั ระยะติดต่อของโรคไขเ้ ลือดออก หลังจากเสรจ็ สิ้นกจิ กรรมดังกล่าวแล้ว ผู้เข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ
ในการปอ้ งกนั โรคไข้เลือดออกอย่างถูกวธิ ี พร้อมมีพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพนั ธุย์ ุงลายอยา่ งต่อเน่ืองสม่ำเสมอ และ
สามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตอนที่ 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการฝึกอบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบล
ไร่หลักทอง

การจัดกจิ กรรมโครงการฝึกอบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทองซง่ึ สรุป
รายงานผลจากแบบสอบถามความคิดเหน็ ข้อมูลท่ีได้สามารถวเิ คราะห์และแสดงคา่ สถติ ิ ดังนี้

ตารางท่ี 1 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ

รายละเอียด เพศ หญิง
ชาย 16
84.21
จำนวน (คน) 3

รอ้ ยละ 15.78

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามที่เขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ
โครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคมุ โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง เป็นหญิง จำนวน 16 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 84.21 และเป็นชาย จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.78

ตารางท่ี 2 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ

รายละเอยี ด อายุ (ป)ี

อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ขน้ึ ไป
7 12
จำนวน (คน) - - - 63.16
36.84
ร้อยละ - - -

14

จากตารางที่ 2 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต
โครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง มีอายุ 50-59 ปี จำนวน 7 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 36.84 มี และมอี ายุ 60 ปีขน้ึ ไป จำนวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 63.16

ตารางที่ 3 ผู้เขา้ ร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชีพ

รายละเอียด เกษตรกรรม รบั จ้าง อาชพี ค้าขาย อ่ืนๆ
รบั ราชการ/รัฐวิสาหกจิ 2 16
84.21
จำนวน (คน) - 1 - 10.52

ร้อยละ - 5.26 -

จากตารางท่ี 3 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ
โครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง มีอาชีพรบั จ้าง จำนวน 1 คน คิดเป็น
ร้อยละ 5.26 มีอาชพี ค้าขาย จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.52 และอาชีพอืน่ ๆ จำนวน 16 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 84.21

ตารางที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดับการศึกษา

รายละเอียด ระดับการศึกษา

การศึกษา ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีขน้ึ ไป
-
จำนวน (คน) 8 5 6 -

ร้อยละ 42.10 26.31 31.57

จากตารางท่ี 4 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต
โครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคมุ โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง มรี ะดบั ประถม จำนวน 8 คน คิดเป็น
ร้อยละ 42.10 ระดับม.ต้น จำนวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ26.31 และระดบั ม.ปลาย จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.57

ตารางท่ี 5 แสดงคา่ รอ้ ยละเฉลีย่ ความสำเร็จของตวั ชว้ี ดั ผลผลิต ประชาชนทวั่ ไป
เข้าร่วมโครงการจำนวน 19 คน

เป้าหมาย(คน) ผลสำเร็จของโครงการ คดิ เป็นร้อยละ
19 ผู้เขา้ ร่วมโครงการ(คน) 100

19

จากตารางท่ี 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ชีว้ ัดผลผลิตกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
โครงการฝกึ อบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง มีผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ซ่งึ บรรลุเป้าหมายด้านตวั ชี้วดั ผลผลิต

15

ตารางที่ 6 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการฝกึ อบรม

รณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทอง ในภาพรวม

รายการ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั

() () ความพงึ พอใจ

ด้านบรหิ ารจดั การ 4.49 0.56 ดี

ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.47 0.52 ดี

ด้านประโยชนท์ ไี่ ด้รับ 4.68 0.47 ดมี าก

รวมทุกดา้ น 4.55 0.52 ดมี าก

จากตารางที่ 6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจตอ่ โครงการฝึกอบรมรณรงคก์ ารปอ้ งกนั ควบคมุ

โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง ในภาพรวมอยู่ในระดับดมี าก (=4.55) เม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ดา้ น

ประโยชน์ทไี่ ด้รบั อยู่ในระดบั ดมี าก มีคา่ เฉลี่ย (= 4.68) รองลงมาคือ ด้านบริหารจัดการ มอี ยใู่ นระดบั ดี มคี า่ เฉลี่ย

(= 4.49) และ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ อยใู่ นระดับดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.47) ตามลำดับ โดยมสี ว่ นเบี่ยงเบน

มาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.47 - 0.56 แสดงว่า ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจสอดคล้องกนั

ตารางท่ี 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรม

รณรงคก์ ารปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง ดา้ นบริหารจัดการ

รายการ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบน ระดบั
() มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ

1. อาคารสถานที่ 4.79 0.41 ดีมาก

2. สิง่ อำนวยความสะดวก 4.42 0.59 ดี

3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.26 0.44 ดี

4. เอกสารการอบรม 4.63 0.58 ดมี าก

5. วทิ ยากรผู้ให้การอบรม 4.37 0.58 ดี

รวม 4.49 0.56 ดี

จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคุม
โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง ด้านบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.49) เม่ือพิจารณา
เป็นรายข้อ พบว่า อาคารสถานที่ มีค่าเฉลี่ย (= 4.79) รองลงมา คือ เอกสารการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.63) ส่ิงอำนวย

ความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (= 4.42) วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.37) และกำหนดการและระยะเวลาในการ
ดำเนินโครงการ มคี า่ เฉล่ยี (= 4.26) ตามลำดับ โดยมีสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.41 - 0.59 แสดงว่า ผตู้ อบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดยี วกนั

16

ตารางที่ 8 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมที่มคี วามพึงพอใจต่อโครงการฝกึ อบรม
รณรงคก์ ารป้องกัน ควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

รายการ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ
() มาตรฐาน () ความพึงพอใจ
6. การจดั กจิ กรรมโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน 4.32
ควบคุม โรคไข้เลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง 0.46 ดี
7. การใหค้ วามรูเ้ ร่ืองการรณรงค์การป้องกนั ควบคมุ 4.53
โรคไขเ้ ลือดออก 0.50 ดีมาก
8. การตอบข้อซักถามของวิทยากร 4.68
4.26 0.46 ดมี าก
9. การแลกเปลี่ยนเรยี นรูข้ องผู้เขา้ รบั การอบรม 4.58 0.44 ดี
10. การสรุปองค์ความรูร้ ว่ มกัน 4.47 0.59
11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.47 0.50 ดมี าก
0.52 ดี
รวม ดี

จากตารางที่ 8 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรค
ไข้เลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับดี มคี า่ เฉล่ีย (= 4.47) เมอ่ื
พิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ การตอบข้อซกั ถามของวิทยากร มคี ่าเฉลย่ี (= 4.68) รองลงมาคือ การสรปุ องคค์ วามรู้รว่ มกัน
มคี ่าเฉลย่ี (= 4.58 ) การให้ความรู้เรอ่ื งการรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก มีคา่ เฉลย่ี (= 4.53 ) การวดั ผล
ประเมินผล การฝกึ อบรม มีค่าเฉลีย่ (=4.47) การจัดกิจกรรมโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรค
ไขเ้ ลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง มีค่าเฉล่ยี (= 4.32) และการแลกเปล่ยี นเรียนรขู้ องผู้เข้ารบั การอบรม มีคา่ เฉลี่ย
( = 4.26) ตามลำดับ โดยมสี ่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.44 - 0.59 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความ
คิดเห็นสอดคล้องกัน

ตารางท่ี 9 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมทม่ี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการฝึกอบรม
รณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ

รายการ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบน ระดบั ความ
() มาตรฐาน () พงึ พอใจ

12. ได้เรยี นรู้และฝึกตนเอง เก่ยี วกับการรณรงค์การ 4.74 0.44 ดมี าก

ปอ้ งกนั ควบคุม โรคไข้เลือดออก

13. นำความร้ทู ีไ่ ด้รับมาปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั 4.63 0.48 ดมี าก

รวม 4.68 0.47 ดมี าก

จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรค

ไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.68) เม่ือ

พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ไดเ้ รียนร้แู ละฝกึ ตนเอง เก่ยี วกับการรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลอื ดออก มีคา่ เฉลี่ย

17

(= 4.74) รองลงมา นำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.63) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
() อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.48 แสดงว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั

สรปุ ในภาพรวมของกิจกรรมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.01 มคี า่ น้ำหนักคะแนน 4.55 ถือวา่ ผู้รับบริการ
มคี วามพงึ พอใจทางด้านตา่ งๆ อยู่ในระดับดีมาก โดยเรียงลำดบั ดงั น้ี

 อนั ดบั แรก ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั คดิ เปน็ ร้อยละ 92.72 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.68 อยู่ในระดับคุณภาพ
ดมี าก

 อันดับสอง ด้านบริหารจัดการ คิดเปน็ ร้อยละ 89.89 มีค่าน้ำหนักคะแนน 4.49 อยใู่ นระดับคุณภาพดี
 อันดบั สาม ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คิดเปน็ ร้อยละ 89.47 มคี า่ น้ำหนกั คะแนน 4.47 อยใู่ นระดับ
คุณภาพดี

บทที่ 5 18

อภิปรายและข้อเสนอแนะ

ผลการจดั กิจกรรมโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคมุ โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง ได้ผลสรุป

ดังน้ี

วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความรูค้ วามเข้าใจในการปอ้ งกนั โรคไข้เลือดออกอย่างถกู วิธี

2. เพอื่ ให้ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธยุ์ งุ ลายอย่างต่อเน่อื งสม่ำเสมอ

3. เพ่อื ใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรมนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวัน

เปา้ หมาย (Outputs)

เป้าหมายเชิงปรมิ าณ

- ประชาชนตำบลไร่หลกั ทอง จำนวน 19 คน

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

- ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการป้องกันโรคไขเ้ ลือดออกอย่างถูกวธิ ี พร้อมมีพฤติกรรมใน

การทำลายแหล่งเพาะพนั ธยุ์ ุงลายอยา่ งต่อเนอ่ื งสม่ำเสมอ และสามารถนำความรทู้ ่ีไดร้ ับไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในคร้ังน้ี คือ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

การเก็บรวบรวมข้อมลู

ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ท่ีรบั ผดิ ชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความพงึ พอใจ

ให้กบั ผรู้ ว่ มกจิ กรรม โดยใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมประเมินผลการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ ตามโครงการฝึกอบรมรณรงค์การปอ้ งกัน

ควบคุม โรคไข้เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง

สรุปผลการดำเนนิ งาน

กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทองไดด้ ำเนนิ การจดั กิจกรรมตาม โครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคุม โรคไข้เลอื ดออก

กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง โดยดำเนนิ การเสรจ็ ส้นิ ลงแล้วและสรุปรายงานผลการดำเนินงานไดด้ งั นี้

1. ผรู้ ว่ มกิจกรรมจำนวน 19 คน มคี วามรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถกู วธิ ี พรอ้ มมีพฤติกรรม

ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลายอย่างต่อเน่ืองสมำ่ เสมอ และสามารถนำความร้ทู ่ีได้รับไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้

2. ผรู้ ่วมกจิ กรรมรอ้ ยละ 92.63 นำความร้ทู ่ีได้รับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั

3. จากการดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการดงั กลา่ ว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจ

ตอ่ โครงการ อย่ใู นระดบั “ดีมาก ” และบรรลุความสำเรจ็ ตามเป้าหมายตัวชีว้ ัดผลลพั ธ์ทตี่ ั้งไว้ โดยมีคา่ เฉลย่ี ร้อยละภาพรวม

ของกจิ กรรม 91.01 และคา่ การบรรลุเปา้ หมายคา่ เฉล่ีย 4.55

ข้อเสนอแนะ
- อยากให้มีการจดั กิจกรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชวี ิตต่อไป

บรรณานกุ รม

ที่มา
กรมการศึกษานอกโรงเรยี น (2546)
บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญส่ง นิลแก้ว (2535 หน้า 22-25)
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร . (2543).
https://www.angelfire.com/ri2/rangsan/important.html
https://dokkaew.wordpress.com/2013/08/03/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B
8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-
%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3/

ภาคผนวก

โครงการฝึกอบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคมุ โรคไข้ เลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง
วนั ที่ 18 กมุ ภาพันธ์ 2564

วิทยากรให้ความรู้ โดยนางสาวโศภิดา บุญมี ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณ สุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลไร่หลักทอง เรื่องความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับโรคไข้เลือดออก ลักษณะของโรคไข้เลือดออก สาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออก
วิธกี ารติดต่อของโรคไข้เลือดออก ระยะฟกั ตวั ระยะตดิ ต่อของโรคไข้เลือดออก

(นางสาวจนั ทกานต์ ทำเนาว์)
ครู กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง

แบบสอบถามความพงึ พอใจ

โครงการฝกึ อบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรคไข้ เลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทอง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กศน.อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี

คำช้ีแจง

1. แบบสอบถามฉบับนีม้ ีวัตถุประสงค์ เพอ่ื ใช้ในการสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการฝกึ อบรมรณรงค์การปอ้ งกัน ควบคุม โรคไข้ เลือดออก
กศน.ตำบลไร่หลักทอง
2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังนี้

ตอนท่ี 1 ถามขอ้ มลู เกี่ยวกับผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ข้อ ให้ทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งใหต้ รงกบั สภาพจรงิ
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกนั ควบคมุ โรคไข้ เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง จำนวน 13 ขอ้
ซ่ึงมีระดบั ความพึงพอใจ 5 ระดบั ดังนี้

5 มากที่สุด หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ
4 มาก หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก
3 ปานกลางหมายถึง มคี วามพงึ พอใจปานกลาง
2 น้อย หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ย
1 นอ้ ยทีส่ ุด หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อยท่สี ดุ
ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะตอ่ โครงการฝกึ อบรมรณรงคก์ ารปอ้ งกัน ควบคุม โรคไข้ เลือดออก กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม หญงิ 40 ปี – 49 ปี

เพศ 30 ปี – 39 ปี
ชาย 60 ปขี น้ึ ไป

อายุ
15 ปี – 29 ปี
50 ปี – 59 ปี

การศึกษา ต่ำกวา่ ป.4 ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย
ประกอบอาชพี อนุปริญญา ปรญิ ญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

รบั จ้าง
คา้ ขาย
เกษตรกร
ลกู จา้ ง/ข้าราชการหนว่ ยงานภาครฐั หรอื เอกชน
อนื่ ๆ ………………………………….

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการฝกึ อบรมรณรงคก์ ารป้องกัน ควบคุม โรคไข้ เลอื ดออก กศน.ตำบลไร่หลักทอง

ข้อท่ี รายการ ระดบั ความคิดเหน็
5 432 1

ด้านบรหิ ารจัดการ

1. อาคารและสถานที่

2. สง่ิ อำนวยความสะดวก

3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ

4. เอกสารการอบรม

5. วิทยากรผ้ใู หก้ ารอบรม

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

6. การจดั กจิ กรรมโครงการฝึกอบรมรณรงค์การป้องกัน ควบคุม

โรคไข้ เลือดออก กศน.ตำบลไร่หลกั ทอง

7. การให้ความร้เู ร่ืองการรณรงค์การป้องกัน ควบคุม โรคไข้

เลือดออก

8. การตอบขอ้ ซกั ถามของวิทยากร

9. การแลกเปลย่ี นเรียนรขู้ องผู้เข้ารบั การอบรม

10. การสรปุ องค์ความร้รู ่วมกนั

11. การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม

ด้านประโยชน์ที่ไดร้ ับ

12 ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ยี วกบั ปฏบิ ตั กิ ารรณรงคก์ าร

ป้องกนั ควบคุม โรคไข้ เลอื ดออก

13 นำความรทู้ ่ีได้รับมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

ตอนที่ 3 ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ

ขอ้ คดิ เหน็ .............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ ..........................................................................................................................................................................

ขอบขอบคณุ ทีใ่ หค้ วามรว่ มมอื
กศน. อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี

คณะผ้จู ดั ทำ

ทป่ี รึกษา หมื่นสา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม
การงานดี ครู
1. นางณัชธกัญ ทำทอง ครูผู้ช่วย
2. นางสาวมุทกิ า ศรีบณุ ยะแกว้ ครผู ้ชู ว่ ย
3. นางพริ ุฬห์พร
4. นางสาวณภษร ครู อาสาสมัคร กศน.
ครู กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง
คณะทำงาน
ครู กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง
1. นางสาวเฟ่ืองฟ้า คลงั สินธ์
2. นางสาวจนั ทกานต์ ทำเนาว์

บรรณาธกิ าร

- นางสาวจันทกานต์ ทำเนาว์


Click to View FlipBook Version