The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การดำเนินกิจกรรม 5 ส และการจัดบอร์ดกิจกรรม 5 ส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Janyaporn Gongsan, 2019-11-17 20:50:58

กิจกรรม 5 ส

การดำเนินกิจกรรม 5 ส และการจัดบอร์ดกิจกรรม 5 ส

การดาเนนิ การ 5 ส

ความหมายและความสาคัญของ 5 ส
5 ส คือ เทคนิคหรือวิธีการจัดหรือปรับปรุงสถานท่ีทางาน หรือสภาพทางานให้เกิดความสะดวก

ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด หรือเอ้ืออานวยให้เกิดประสิทธิภาพในการทางาน ความปลอดภัยและ
คณุ ภาพของงาน อันเปน็ พ้ืนฐานในการเพมิ่ ผลผลิต

สะสาง = SEIRI (เซรี) = ORGANIZAION การจัดแยกระหว่างส่งิ ท่ีจาเปน็ ตอ้ งใช้ในการปฏิบตั ิงาน
กับสงิ่ ของท่ีไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านให้ออกจากกันอยา่ งชดั เจน

สะดวก = SEITON (เซตง) = NEATNESS การจัดส่ิงของท่ีจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานให้ถูกที่
ถกู ทางเพ่อื ใหเ้ กดิ ความสะดวกในการหยิบใช้งานมากทสี่ ุด

สะอาด = SIESO (เซโซ) = CLEANING การกาจดั สง่ิ สกปรก ฝ่นุ ละออง และสิ่งไมพ่ ึงประสงค์ให้หมด
ไป

สขุ ลักษณะ = SEIKISO (เซเคทซี)=STANDARDIZATION การรกั ษาและปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ิ 3 ส
แรก โดยกาหนดเป็นมาตรฐานและปฏบิ ตั ิใหด้ ขี ้ึนและรักษาให้ดตี ลอดไป

สร้างนิสัย = SHITSKE (ซทิ ซเี คะ) = DICIPLINE การมีความสามารถท่ีจะปฏบิ ตั ิในวิธีการต่าง ๆ ที่
สนบั สนนุ เพื่อสร้างใหส้ ภาพภายในสถานทีท่ างานเกิดอุปนสิ ยั ทีด่ ี และมีระเบยี บวินยั

ความสาคัญของ 5 ส
5 ส เป็นหลักเบ้ืองต้น / พื้นฐานเพ่ือทาให้หน่วยงานมคี วามเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดปลอดภัย

นา่ อยู่ น่าทางาน
1. มีความเกย่ี วข้องอย่างลึกซงึ้ กบั การเพม่ิ ผลผลติ
2. มีความเกย่ี วข้องกบั การประหยดั ทรพั ยากรและเวลา
3. มคี วามเกยี่ วข้องกบั ความเช่อื ถอื ของผรู้ ับบริการ
4. มคี วามเกย่ี วข้องกับปัญหามลภาวะ
5. มสี ว่ นสนบั สนนุ ใหเ้ กิดการทางานเปน็ ทมี และความสามคั คใี นหน่วยงาน

ส 1 สะสาง

“แยกให้ชัดเจน ขจดั ใหอ้ อก”
ทาไมตอ้ งสะสาง

1. ท่ที างานคบั แคบลง (ทกุ วนั ) รวมทั้งมขี องทว่ี างเกะกะมากขึ้น
2. ไม่มีท่ีจะเกบ็ ของ หรือตเู้ ก็บของไม่พอ
3. หาเอกสารหรอื ของใชท้ จี่ าเปน็ ไมพ่ บ
4. เสียเวลาค้นหาเอกสารหรอื ของใช้ (ครงั้ ละหลายนาทีหรอื มากกว่า
5. เคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ หรอื วัสดุอุปกรณ์เกดิ ความสูญเสยี หรอื เสยี หายบอ่ ยหรือเสื่อมสภาพ
6. ตรวจสอบเอกสารหรือวัสดอุ ุปกรณต์ า่ ง ๆ ยาก
7. ของหายบอ่ ย ของที่ควรจะอยูใ่ นทหี่ นงึ่ กลับไปอยทู่ หี่ นง่ึ ฯลฯ

ทาไมตอ้ งเสยี เวลาค้นหา
1. มขี องทไี่ ม่ต้องการใชป้ ะปนอย่เู ป็นจานวนมาก
2. มีการวางสงิ่ ของไมเ่ ปน็ ที่แน่นอน
3. ไมม่ ปี ้ายแสดงบอกตาแหนง่ ของสงิ่ ของไว้
4. ไมเ่ ก็บของเข้าท่เี ดิม (เม่อื นาไปใช้แล้ว)

หลกั การสะสาง
“แยกของท่ไี ม่ต้องการ/ไม่จาเปน็ ต้องใช้ ออกจากส่ิงทตี่ ้องการ/จาเป็นต้องใช้”

การเริม่ ต้นสะสาง
1. การกาหนดเกณฑว์ า่ สิง่ ของอะไรบา้ งทจ่ี าเป็นต้องทาการสะสาง และแจ้งรายละเอียด ให้

ทุกคนทราบ
2. แยกของท่ี “จาเป็น” และสิง่ ของท่ี “ไมจ่ าเป็น” ออกจากกนั
3. ขจดั สิง่ ทีข่ องท่ี “จาเปน็ ” หรอื ของทีม่ ีมากเกินความจาเป็นออกแล้วทิ้งหรอื ทาลาย

2

ผงั แสดงวธิ กี ารสะสาง Flow Chart

สารวจพจิ ารณาส่ิงท่ีอยรู่ อบตัว
แยกสงิ่ ของ/เอกสาร

ของจาเป็นตอ้ งดาเนนิ การ ของไมจ่ าเป็น/เกนิ
ตามข้นั ตอน ส.สะดวก พิจารณาสภาพ

หาที่จดั เกบ็ ขจดั ตามสภาพ/เง่ือนไข
3

ขาย/ให้ ทงิ้ /ทาลาย

จดุ ท่ีควรสะสาง
1. บนโต๊ะทางานและล้ินชักโต๊ะทางานของแตล่ ะคน
2. ตเู้ ก็บเอกสาร/ ตู้เกบ็ ของ/ชั้นวางของ
3. บรเิ วณรอบโตะ๊ ทางาน
4. ห้องเกบ็ ของ
5. มุมอับตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกทท่ี างาน
6. พืน้ ของสถานทที่ างานรวมทงั้ เพดาน
7. บอรด์ ประกาศ คาสงั่ ระเบยี บ

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากสะสาง
1. ขจัดความสิ้นเปลืองของการใช้พ้ืนท่ี กล่าวคือ มพี ้ืนท่ีว่างจากการขจัดส่ิงของท่ีไม่จาเป็น

หรือวางไว้เกะกะออกไป
2. ขจัดความส้ินเปลืองทรัพยากร วสั ดุ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใช้
3. ลดปรมิ าณการเกบ็ /สารองวัสดุสิง่ ของ
4. ลดการเก็บเอกสารซ้าซ้อน
5. เหลอื เน้ือท่ขี องหอ้ งทางาน ตู้ หรือชน้ั เกบ็ เอกสารไวใ้ ชป้ ระโยชนม์ ากข้ึน
6. ลดเวลาการคน้ หาเอกสาร
7. สถานที่ทางานดกู วา้ งขวาง โปร่ง / สะอาดตายิง่ ข้ึน
8. ลดขอ้ ผิดพลาดจากการทางาน

ข้อควรระวงั ของดีติดไปของไมด่ ี = สูญเปล่า / ของไมด่ ีติดไปกับของดี = เสียช่ือ

3

ส 2 สะดวก

“หยบิ งา่ ย หายก็รู้ ดูก็งามตา”
หลกั การสะดวก

1. วางของที่ใชง้ านใหเ้ ป็นที่ทาง/มีปา้ ยบอก
2. นาของไปใชง้ านแล้วนามาเก็บไว้ทเ่ี ดิม
3. วางของทีใ่ ชง้ านบอ่ ยไว้ใกลต้ ัว
4. จดั ของท่ีใช้งานให้เปน็ หมวดหมู่

ขนั้ ตอนวิธกี ารดาเนนิ กิจกรรมสะดวก ขจัดของที่ไม่ต้องการทิ้งไป
สะสาง

สะดวก จัดวางใหเ้ ป็นหมวดหมู่

กาหนดทวี่ างของใหแ้ น่ชัด

มีป้ายชอ่ื แสดงทว่ี างของ

ของที่วางไว้ต้องติดชือ่ ดว้ ย

เขียนที่วางของตา่ ง ๆ ไวใ้ นผัง

ตรวจเช็คพน้ื ท่เี ปน็ ประจา

รายละเอยี ดการดาเนนิ การในแต่ละข้นั ตอน มดี ังน้ี
1. การกาหนดที่วางของในสานักงาน ตู้เก็บเอกสาร ชั้นวางของ โต๊ะทางาน เคร่ืองถ่าย

เอกสาร โต๊ะวางคอมพวิ เตอร์ โต๊ะพมิ พ์ดีด ควรจดั ทาผังห้องทางานและตาแหน่งของอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวไว้
เพื่อให้ทราบท่ัวไป (หลังจากมีการปรึกษาหารือร่วมกันแล้ว) ต่อจากน้ันควรศึกษาเทคนิคในการวางของและ
เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสม เชน่

 การจดั แยกของใชต้ ามหนา้ ท่ใี นการใชง้ านและนาวางไว้ในท่กี าหนดไว้ (ตามผงั )

 ควรวางส่ิงของที่จาเป็นตอ้ งใชบ้ ่อยๆ ไว้ให้ใกล้มอื ส่วนของท่ไี ม่ใช้บอ่ ย หรือนานๆ ใช้
ใหว้ างแยกไวต้ า่ งหาก

 การวางของท่ีมีรปู ทรงสูงให้วางไวด้ า้ นใน (ของตู้ / ชั้นเก็บของ) สว่ นของทม่ี ีรปู ทรง
ตา่ กวา่ ใหว้ างไวด้ ้านนอก

4

 การวางของหนัก ควรวางไว้ข้างล่าง (ของต/ู้ ชน้ั เกบ็ ของ) ส่วนของที่เบาใหว้ างไว้ข้างใน
 สาหรบั ของทีใ่ ชบ้ อ่ ยครง้ั วางไว้ในระดบั ความสูงเท่ากับช่วงตวั

ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากสะดวก
1. ลดเวลาการหยิบของมาใช้งาน โดยไมต่ ้องเสยี เวลาคน้ หา
2. ลดเวลาการทางานในภาพรวม ท้ังนี้ หากงานดังกล่าวสะดวกเป็นงานเก่ยี วกับการใช้บรกิ าร

ประชาชนก็จะทาให้ประชาชนได้รับบริการ ทร่ี วดเร็วขน้ึ
3. ตรวจสอบสิง่ ของตา่ ง ๆ ง่ายขึ้น ดูงามตา
4. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน ถ้าหากทางานในแต่ละเรือ่ ง / แต่ละชน้ิ เสร็จเรว็ ขน้ึ ก็จะมี

เวลาทางานอื่น ๆ ได้เพ่ิมมากขึ้น
5. เพิ่มคณุ ภาพของผลผลิต/ผลงาน ทัง้ น้ีจากการทผ่ี ูป้ ฏิบัตงิ านมีเวลาตรวจสอบคุณภาพ ของ

งานที่จะส่งมอบให้ประชาชนผู้รับบริการ ให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ครบถ้วนมากยิ่งข้ึน ซึ่งจะทาให้เกิด
ภาพลักษณ์ ทด่ี ตี อ่ หนว่ ยงานด้วย

6. ขจดั อบุ ัตเิ หตทุ าใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ิงานได้รบั ความปลอดภยั ในการทางานยง่ิ ข้นึ
7. เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการทางาน ซ่ึงจะส่งผลต่อสุขภาพกาย และใจท้ังของ
ผู้ปฏิบตั ิงานและประชาชนผู้รบั บริการ

ส 3 สะอาด

“เสยี เวลาเกบ็ ของเข้าที่ 1 นาที ดกี วา่ คน้ หา 45 นาที”
ทาไมต้องทากจิ กรรมสะอาด

1. สภาพแวดลอ้ มหรือบรรยากาศในการทางานไม่สดชืน่ แจ่มใส
2. เคร่ืองมือ/เครื่องใช้หรือวัสดุอุปกรณ์ในการทางานเสื่อมสภาพ หรือเสียบ่อยใช้งานไม่
สะดวก
3. ค้นหาสาเหตุที่อาจกอ่ ให้เกิดความสกปรกเลอะเทอะ หรือเกิดเศษขยะต่างๆ เพ่ือหาทาง
ขจดั สาเหตุของปัญหา และวางแผนดาเนนิ การแกไ้ ข
4. ปดั กวาด เช็ดถู ใหท้ ่ัวถงึ ไมเ่ วน้ แมก้ ระทงั่ จดุ เลก็ ขอบหรือมุมอับต่าง ๆ
5. ทารว่ มกันท้งั หน่วยงาน “BIG CLEANING DAY” อย่างน้อยปลี ะ 1 ครัง้

5

หลักสาคญั ในการทาความสะอาด
1. ต้องมีการมอบหมายความรับผิดชอบ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่างๆ เพ่ือให้ผู้ทาความ

สะอาดประจา
2. อปุ กรณ์ เคร่อื งใช้ ถ้าใช้งานร่วมกัน เม่ือใช้งานเสรจ็ แล้วให้ทาความสะอาดทนั ที หากเป็น

ของท่ีใช้เพียงผเู้ ดยี วใหท้ าความสะอาดกอ่ นเรม่ิ ทางานและหลงั เลกิ ทางาน
3. ควรมีการกาหนดช่วงเวลาการทาความสะอาดอุปกรณ์เคร่ืองใช้เป็นประจาทุกวนั เช่น 5

นาทีและมกี ารกาหนดวนั ทาความสะอาดเปน็ ประจาในแตล่ ะสปั ดาห์ แต่ละเดอื น และกาหนดวนั ความสะอาด
คร้ังใหญ่ โดยทกุ คนทุกพื้นท่ีทา พร้อมกันอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง (BIG CLEANIANG DAY)

4. เมื่อทาได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อาจจะเป็น 1-3 เดือนแล้วควรมีการกาหนดแนวทาง
วิธกี ารหรือขนั้ ตอนการทาความสะอาดท่วั ทง้ั สานกั งาน

จดุ ท่ีควรทาความสะอาด
1. ตามพน้ื ฝาผนงั บริเวณมมุ อบั ต่าง ๆ
2. บนและใตโ้ ตะ๊ ทางาน ชนั้ วางของ ตู้เอกสาร (ทั้งภายในและภายนอกตู้)
3. บรเิ วณเครื่องมือ/อุปกรณ์ และทต่ี วั เครอ่ื งมอื /อปุ กรณ์ เชน่ เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร เคร่อื งพิมพ์

เคร่ืองทาสาเนา ฯลฯ
4. เพดานห้อง และมมุ เพดาน
5. หลอดไฟ และฝาครอบหลอดไฟ

ประโยชน์ที่ได้รบั จากกิจกรรมสะอาด
1. สภาพ/บรรยากาศการทางานสดช่นื นา่ ทางาน/น่าอยู่
2. ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพการทางานของเครือ่ งมอื เครอื่ งใช้ วสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ
3. ช่วยยืดอายุการใช้งานของเครือ่ งมือ เคร่ืองใช้วัสดุอุปกรณ์ให้ยาวนานยิ่งข้ึนลดอัตราของเสีย

(ทเ่ี กดิ จากการเสือ่ มสภาพของอุปกรณ์ อาทิ กระดาษ กรณีเครื่องถ่ายเอกสารถา่ ยไดไ้ มช่ ดั )

“ทง้ั นสี้ ่งิ สาคัญในการรณรงคใ์ หท้ กุ คนรกั ษาความสะอาด ก็คือ หัวหนา้ ตอ้ งลงมอื ทาเอง”

6

ส 4 สุขลักษณะ

“ทา 3 ส เปน็ นจิ สุขภาพจิตสดใส”
ปฏิบตั ิ 3 ส คอื สะสาง สะดวก สะอาด อยา่ งต่อเน่อื งและปรับปรงุ ใหด้ ีขึ้น

ขั้นตอนการทาสขุ ลกั ษณะ
1. กาหนดให้มีการปฏิบัติกิจกรรมโดยเฉพาะ สะสาง สะดวก สะอาด อย่างต่อเน่ือง เช่น

สปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั ตามความเหมาะสมของหนว่ ยงาน
2. กาหนดมาตรฐาน หรือ แนวทางในการปฏิบัติท่เี กี่ยวข้องกับ 3 ส แรก อย่างชัดเจน และ

เป็นท่ียอมรับของสมาชิกในพ้ืนท่ีการกาหนดมาตรฐานของพื้นที่โดยทั่วไปมักให้กลุ่มสมาชิกในพ้ืนที่เป็นผู้
กาหนดในช่วงเรม่ิ ตน้ ทากิจกรรม เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏิบตั ิไดง้ า่ ย และไดร้ ับความร่วมมือจากสมาชกิ ในพนื้ ท่ี

3. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามผลการดาเนินกิจกรรม 5 ส เพ่ือให้เกิดการรักษามาตรฐาน
ต่อเนื่อง

หลกั เกณฑ์
1. จะตอ้ งรกั ษาสง่ิ ท่ีทาดมี าแล้วท้งั 3 ส ให้ดีตลอดไป
2. แก้ไขปรับปรุงสถานทท่ี างานใหส้ ดชื่นน่าทางาน
3. กาหนดเปน็ มาตรฐานของ ส แต่ละ ส โดยลาดบั วธิ ปี ฏบิ ตั ไิ ว้อยา่ งชัดเจน

ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการทาสขุ ลักษณะ
1. สถานที่ทางานเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย สดชน่ื น่าทางาน
2. ผูป้ ฏบิ ตั งิ านมีสุขภาพร่างกายและจิตใจท่ีสมบูรณ์
3. ผูป้ ฏบิ ตั ิงานเกิดความภาคภูมใิ จในหนว่ ยงาน
4. ผู้ปฏิบัตงิ านเขา้ ใจวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ (สขุ ลกั ษณะ) อย่างมมี าตรฐาน
5. ประสทิ ธภิ าพในการทางานเพิม่ ข้ึน

7

ส 5 สรา้ งนสิ ัย

“ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ วนิ ยั เปน็ นสิ ัยท่ีดี”
สรา้ งนสิ ยั เป็นกิจกรรมท่สี าคัญท่ีสดุ ของกจิ กรรม 5 ส เนอ่ื งจากกจิ กรรม 5 ส ในภาพรวมจะประสบ
ความสาเร็จหรือไม่นั้น ข้ึนอยู่กับคนท่ีเป็นผู้นากิจกรรมน้มี าดาเนนิ การโดยทา 4 ส อย่างต่อเนื่องเป็นปกติจน
กลายเป็นนสิ ยั

หลักการสร้างนสิ ัย
1. ปฏิบัตติ ามหลกั เกณฑ์ทกี่ ลา่ วมาแล้วท้ัง 4 ส ให้ดีตลอดไป
2. ให้ความรเู้ พิ่มเติมในด้านต่าง ๆ
3. กระตุ้นให้เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติตามมาตรฐานและระเบียบของหน่วยงาน ในเร่ืองราวต่าง ๆ

อย่างเครง่ ครัด
4. กาหนดวันทากิจกรรม 5 ส เป็นประจาทุกวัน อาทิ 5 นาที กับ 5 ส”หรือเป็นประจาทุก

สปั ดาห์เชน่ วันทาความสะอาดประจาสปั ดาห์
5. ผบู้ รหิ ารตอ้ งคอยกระตนุ้ และติดตามการปฏิบัตเิ สมอ โดยถือว่าการทากิจกรรม 5 ส เป็น

สว่ นหน่งึ ของการปฏบิ ัตงิ านปกติประจา
6. จัดกิจกรรมสง่ เสริม เชน่ การประกวดพ้ืนที่และมอบรางวลั เพ่ือสร้างขวญั และกาลงั ใจต่อ

ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม
“วันนี้ตอ้ งดกี ว่าเม่อื วาน และ พร่งุ น้ตี ้องดีกว่าวันนี้”

ประโยชนข์ องการทากิจกรรม 5 ส ในภาพรวม
แยกพจิ ารณา ไดเ้ ป็น 5 ส่วน คอื
1. ประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ผปู้ ฏิบัติงาน
 สามารถทางานไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็วยิง่ ขึ้น
 บรรยากาศการทางานและสถานที่ทางานดีขึ้น
 มีสภาพจิตใจแจ่มใส อารมณด์ ี และขวัญกาลังใจดี
 มีความปลอดภัยในการทางาน
 มีสว่ นรว่ มในการปรับปรุงงานและสถานทที่ างาน
 เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการทางาน
 สามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเอง
 มีสถานที่ทางานท่ีเป็นระเบียบเรยี บร้อย

8

2. ประโยชนข์ องหนว่ ยงาน
 เพิม่ ประสิทธภิ าพในการผลิตและสร้างผลงาน
 ลดการสูญเสียและความส้ินเปลือง
 มีพน้ื ท่ีและเน้อื ทใ่ี ชง้ านมากข้นึ
 ผู้รบั บรกิ ารให้ความเชือ่ ถอื และเช่ือม่นั มากยิ่งข้ึน
 เปดิ โอกาสให้สามารถนาเทคโนโลยีที่ทนั สมยั มาชว่ ยในการปฏิบตั งิ านไดง้ า่ ยขน้ึ

ปัจจัยสาคัญท่ีมผี ลต่อความสาเร็จในการทากจิ กรรม 5 ส
การทากิจกรรม 5 ส จะประสบความสาเร็จมากน้อยเพยี งไร ขน้ึ อยู่กับปัจจยั สาคัญ 2 ด้าน คือด้าน

บคุ คลและดา้ นการดาเนินงาน
ด้านบุคคล
ผบู้ ริหารระดบั สูง
1. ต้องให้ความสาคัญและสนบั สนนุ อย่างจริงจงั โดยถือว่าการทากจิ กรรม 5 ส เปน็ ส่วนหน่ึง

ของการทางานปกติ
2. ตอ้ งเอาใจใส่เข้าไม่มีส่วนร่วม อาทิ เป็นประธานกรรมการ 5 ส ของหน่วยงาน และคอย

ติดตามผลอยู่ตลอดเวลา
3. ต้องทาหนา้ ที่ ดังน้ี
 ทาตนให้เป็นตัวอย่างทด่ี ีในการทา 5 ส เช่น ลงมือสะสาง และทาความสะอาดร่วมกับ

เจ้าหนา้ ที่ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน
 ตรวจสอบการดาเนินงาน 5 ส ของผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาอยูเ่ สมอ
 ชมเชยหนว่ ยงานที่ทา 5 ส ได้ผลดี

ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน
1. ทกุ คนต้องมคี วามเข้าใจหลักการขนั้ ตอน วธิ ีการทากจิ กรรม 5 ส
2. ทุกคนตอ้ งมสี ่วนรว่ มเป็นผู้จัดทากจิ กรรม 5 ส (ไม่มีผูส้ งั เกตการณ์)

ด้านการดาเนินงาน
1. ต้องมีการให้การศึกษาอบรมเพ่ือสร้างความเข้าใจการทากิจกรรม 5 ส ให้ทุกคนใน

หนว่ ยงานทราบรวมทั้งจดั ให้มีการศกึ ษาดูงานท่ีสามารถเป็นตวั อยา่ งได้ รวมทั้งขจดั ขอ้ สงสยั ท้งั ปวง ต่อคาถาม
ท่ีว่าทาไมตอ้ งทา 5 ส

2. มกี ารกาหนดมาตรฐาน และปรบั ระดบั มาตรฐานให้สูงขึน้
3. มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังมีระบบรายงานผลความคืบหน้าของ
กจิ กรรม 5 ส ใหท้ ราบท่ัวกนั
4. จดั ให้มีกิจกรรมเพือ่ กระตนุ้ ส่งเสริมการทากิจกรรม 5 ส เปน็ ประจา เชน่

9

 จัดทาปา้ ย คาขวญั โปสเตอร์ กระดานขา่ ว
 จัดทาคู่มอื แผ่นพับ และเอกสารเผยแพร่
 การตรวจพน้ื ทเี่ ป็นระยะโดยผบู้ รหิ าร เชน่ การจดั ใหม้ กี จิ กรรม Morning Rally โดยไม่
บอกลว่ งหน้า เมือ่ ผู้บรหิ ารตรวจพืน้ ท่ใี ดแล้ว อาจให้ข้อสังเกต/ตักเตอื น ในรูปสญั ลักษณ์ เช่น ติดโบร์แดงท่ีโต๊ะ
ทรี่ กรงุ รงั เพ่อื ใหเ้ จา้ ของโตะ๊ ปรับปรุงใหด้ ีข้ึน
5. ทากจิ กรรม 5 ส ควบคไู่ ปกบั กิจกรรมอื่น อาทิ กิจกรรมปรับปรุง หรือระบบข้อเสนอแนะ
สาคญั ทสี่ ุด กค็ อื ความพยายามอย่างตอ่ เนื่องเพ่อื ทา วนั นีใ้ หด้ กี วา่ เมือ่ วานน้ี และทาพรุ่งน้ใี ห้ดกี วา่ วนั นี้

การจัดบอร์ด 5 ส
องคป์ ระกอบของการจดั บอร์ด 5 ส :

1. แผนผังโดยรวมของพน้ื ท่ี 5 ส (Lay out) : ติดรปู แสดงสมาชิกท่รี ับผดิ ชอบแตล่ ะพื้นทยี่ อ่ ย
การแสดงแผนผังโดยรวมเพ่ือดูว่า มีพื้นที่รับผิดชอบเท่าใด ใครเป็นผู้รับผิดชอบบ้าง เพ่ือประโยชน์ในการ
ติดตามผล ผู้รบั ผิดชอบพ้ืนท่ีควรมีการหมุนเวียนเปล่ียนกัน เพ่ือประเมินผลความก้าวหน้าของกิจกรรมเป็น
ระยะ ๆ

2. เป้าหมายของการทากิจกรรม 5 ส : สอดคล้องกับการที่ได้ทาการสารวจพ้ืนท่ีก่อนทา
กิจกรรมว่ามคี วามเป็นไปได้มากนอ้ ยเพียงใด ในการท่ีจะบรรลเุ ปา้ หมายในชว่ งระยะเวลาที่ เรากาหนดข้ึน

3. มาตรฐาน 5 ส : กล่มุ จะตอ้ งเปน็ ผกู้ าหนดมาตรฐานของแต่ละ ส โดยสมาชิกในกลมุ่ จะตอ้ ง
สารวจและพจิ ารณาว่าในพื้นที่น้ัน ๆ มีปัญหาอะไรและควรมีอุปกรณ์ที่จาเป็นอะไรบ้าง โดยกาหนดแยกเป็น
รายละเอียดของ ส สะสาง จากนั้นก็กระจายไปยัง ส2, ส3, ส4 กาหนดเป็นมาตรฐานของพื้นที่ข้ึนแล้วนามา
ลองปฏบิ ัตแิ ละพัฒนามาตรฐานของงานให้ดีขนึ้ ไปเรือ่ ยๆ

4. ถ่ายภาพแสดงสภาพพื้นที่ก่อนทา 5 ส และหลังทาเป็นระยะ ๆ วัน เดือน ปี ท่ีถ่ายภาพ
แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเปลี่ยนแปลงในการทา 5 ส ในมุมเดียวกนั หรอื เปน็ ภาพแสดงการทากจิ กรรมของสมาชิก
ในพนื้ ท่ี

5. ปฏิทินกิจกรรมการดาเนนิ งาน 5 ส เพอื่ เป็นแนวปฏบิ ตั ใิ ห้บคุ ลากรรับทราบ
6. ผลการประเมินเพื่อเป็นการประเมนิ ผลการดาเนนิ การ 5 ส ของพ้ืนรับผิดชอบของตนเอง
และผลการประเมนิ ภายนอกจากคณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 5 ส

********************

10


Click to View FlipBook Version