The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา และสติในองค์กร (ระบบการศึกษา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iandd.dcy, 2022-01-25 04:27:09

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา และสติในองค์กร (ระบบการศึกษา)

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา และสติในองค์กร (ระบบการศึกษา)

คู่มอื โปรแกรมการฝึ กอบรมผูใ้ หก้ ารปรึกษา
คู่มือโปรแกรมสรา้ งสุขดว้ ยสติในองคก์ ร

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

โครงการเตรยี มความพรอ้ มเดก็ และเยาวชนออกสู่สงั คมอย่างเป็ นสุข

โดย
สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย
ในพระราชปู ถมั ภส์ มเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ดาเนินการร่วมกบั
กรมกิจการเดก็ และเยาวชน
กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์

สนบั สนุนโดย
สานกั งานสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
โครงการเตรยี มความพรอ้ มเดก็ และเยาวชนออกสูส่ งั คมอยา่ งเป็ นสุข

คานา

ระบบการดูแลสุขภาพกายและใจ เป็ นหน่ึงใน 4 ของระบบหลักท่ีสถานสงเคราะห์
จัดเตรียมไว้สาหรับเด็กและเยาวชน อาทิเช่น การให้การปรึกษาการดูแลรักษาการเจ็บป่ วย การ
ออกกาลังกาย เป็นต้น โครงการเตรียมความพร้อมเดก็ และเยาวชนออกสู่สังคมอย่างเป็นสุข ได้
เพ่ิมโปรแกรมเข้าไป 2 โปรแกรม ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา ซ่ึงมี
เน้ือหาครอบคลุมเร่ือง ความหมายและวัตถุประสงคของการใหการปรึกษา ทักษะพ้ืนฐานใน
การใหการปรกึ ษา กระบวนการให้การปรกึ ษา การให้และการปรกึ ษาแบบกล่มุ กิจกรรมเปิ ดใจใน
บ้าน และกิจกรรมเสริมสร้างพลงครอบครัว และ 2) โปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
(Mindfulness In Organization : MIO)

สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ

สารบญั

บทนา ระบบการดูแลสุขภาพกายและใจ หนา้
คูม่ อื โปรแกรมการฝึ กอบรมผใู้ หก้ ารปรกึ ษา 1
3
กจิ กรรมท่ี 1 ความหมาย และวัตถุประสงคข์ องการให้การปรกึ ษา 4
กิจกรรมท่ี 2 ทกั ษะพ้นื ฐานในการให้การปรึกษา 8
กิจกรรมท่ี 3 กระบวนการให้การปรกึ ษา 15
กิจกรรมท่ี 4 การให้การปรกึ ษาแบบกล่มุ 22
กิจกรรมท่ี 5 เสรมิ สร้างพลงั ครอบครัว (Family Empowerment) 34
คู่มอื การใชส้ ตใิ นองคก์ รใหเ้ ป็ นวถิ ี 38
การใช้ สติในองค์กรให้ เป็ นวิถี 39
ภาคผนวก 43

บทนา

ระบบการดูแลสขุ ภาพกายและใจ

ระบบการดูแลสุขภาพกายและใจ เป็ นหน่ึงใน 4 ของระบบหลักท่ีสถานสงเคราะห์
จดั เตรียมไว้สาหรบั เดก็ และเยาวชนอย่แู ล้ว เช่น การให้การปรึกษาการดแู ลรกั ษาการเจบ็ ป่ วย การ
ออกกาลังกายเป็นต้น และโครงการเตรียมความพร้อมฯได้เพ่ิมโปรแกรมเข้าไป 2 โปรแกรม
ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา ซ่งึ มเี น้อื หาครอบคลุมเร่อื ง ความหมาย
และวัตถุประสงคของการใหการปรึกษา ทกั ษะพ้ืนฐานในการใหการปรึกษา กระบวนการให้การ
ปรึกษา การให้และการปรึกษาแบบกลุ่ม กิจกรรมเปิ ดใจในบ้าน และกิจกรรมเสริมสร้างพลง
ครอบครัว และ 2) โปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร (Mindfulness In Organization : MIO)

1) โปรแกรมการฝึ กอบรมผู้ให้การปรึกษา เป็ นกระบวนการหน่ึงท่ีผู้ให้การปรึกษา
จาเป็ นต้องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถในการใช้ทักษะต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เน่อื งจากผ้ใู ห้การปรึกษาจะเป็นผู้เอ้อื อานวยให้ผู้ขอรับการปรกึ ษาได้ใช้ศกั ยภาพในการใคร่ครวญ
ปัญหาของตนเองอย่างถ่องแท้ และเข้าใจ พร้อมกันน้ี กส็ ามารถแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมกับ
สภาพของตน คู่มือเล่มน้เี รียบเรียงข้นึ สาหรับผู้ท่ที าหน้าท่ใี ห้การปรึกษาในสถานรองรับเดก็ และ
ผู้สนใจใช้ทบทวนความรู้ความเข้าใจ คู่มือน้ีมิใช่ตาราท่ีใช้อ่านด้วยตนเองแล้ วนาไปปฏิบัติได้
สาหรับผู้ทไ่ี มเ่ คยเรยี นเรียนร้เู ร่อื งการให้การปรึกษามาก่อน ควรได้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตร
การให้การปรึกษา และนาไปปฏิบัติในการทางานจริง จึงจะเกิดทักษะตามหลักการท่เี สนอไว้ใน
คมู่ ือ

2) โปรแกรม สร้างสุขด้วยสติในองค์กร (Mindfulness In Organization: MIO) เป็ น
โปรแกรมสาคัญทน่ี ามาใช้ในโครงการเตรยี มความพร้อมเดก็ และเยาวชนโดยสอดแทรกอยู่ในทกุ
ระบบปฏิบัติการสถานสงเคราะห์ โดยมีแนวคิดการสร้างความสุขในองค์กรว่า เป็ นการทาให้
บุคคลากรในองค์กรร้สู กึ ถงึ คณุ คา่ ของตนเอง และมคี วามสขุ ในการทางานกบั องค์กร ไม่ว่าจะอย่ใู น
ตาแหน่งหน้าท่ใี ด ขณะเดียวกันคุณค่าในตนน้ันจะคงอยู่ได้ กต็ ้องอาศัยบรรยากาศการทางาน
ร่วมกันอย่างกัลยาณมิตร และสภาวะท่ดี ขี ององคก์ ร อันส่งเสริมและสะท้อนคา่ นยิ มขององคก์ รท่ี
ชดั เจน

การส่งเสรมิ คุณค่าของตนเองในบคุ คลากรทุกคน คือส่งเสรมิ ความรักความเมตตา ความ
อดทนอดกล้นั การให้อภยั การเป็นแบบอย่างท่ดี ี เป็นต้น คณุ คา่ เหล่าน้มี ลี ักษณะเป็นคุณค่าสากล
ของความเป็นมนุษย์ในทุกอาชีพท่ที างานกับชีวิตมนุษย์ คุณค่าเหล่าน้ีกย็ ่ิงมีความสาคัญมากข้ึน
เพราะเป็นคุณลักษณะท่ที าให้พัฒนาชีวิตคนอ่ืนได้เหมือนกับคุณลักษณะของแม่ท่เี ล้ียงดูลูก ซ่ึง
สอดคล้องกับวิถกี ารดูแลเดก็ และเยาวชนในสถานสงเคราะหเ์ ป็นอย่างมากท่เี ดก็ ๆต้องการความ
รักความเมตตาและการส่อื สารทางบวกจากผ้ใู หญ่รอบตัว ซ่งึ จะช่วยให้พวกเขาเห็นคุณคา่ ในตนได้
เป็ นอย่างดี

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
2

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

คุณลักษณะและการแสดงคุณคา่ ของความรักความเมตตา การให้อภัย และความอดทน
ฯลฯ ของคนเราเหล่าน้ีจะมีมากน้อยข้นึ กับอารมณ์ ในยามท่บี คุ คลมีความเครียด ความวติ กกังวล
ความท้อแท้ ฯลฯ บุคคลน้ันจะแสดงคุณค่าเหล่าน้ไี ด้น้อยลง แต่ในยามท่บี ุคคลมีจิตใจท่มี ีความ
สงบ ม่ันคง สมดุล คุณค่าเหล่าน้กี จ็ ะแสดงออกอย่างชัดเจน สมาชิกในองคก์ รท่มี ีความสขุ จงึ ต้อง
เรียนร้กู ารจัดการตนเอง หรือการจัดการกบั อารมณ์และความเครยี ด เพ่อื สร้างความสงบของจิตใจ
ด้วยการฝึกสมาธิ ซ่งึ จะช่วยลดอารมณแ์ ละความเครียดทส่ี ะสมอย่ใู นจติ ใจ

โปรแกรมน้มี ิได้มุ่งเน้นเพียงแตก่ ารจดั อบรมเท่าน้นั แต่เป็นการประสานการฝึกอบรมเข้า
กับการจัดระบบขององค์กร เพ่ือให้ บรรลุเป้ าหมายในการสร้ างความสุขในองค์กร การ
เปล่ยี นแปลงเชิงระบบ สาคัญๆ ท่จี ะต้องเกดิ ข้นึ คอื การสง่ เสรมิ การทางานอย่างมีสตโิ ดยการเปิ ด
ระฆังสตริ ะหว่างการทางาน การจดั กติกาการประชุมใหมใ่ ห้ใช้การสนทนาอย่างมีสติ ส่งเสริมให้
สมาชิกในองค์กรส่ือสารทางบวกท้งั ในการส่อื สารท่ีเป็นทางการ เช่น การประชมุ และการส่ือสาร
ทว่ั ไปทไ่ี มเ่ ป็นทางการ การส่อื สารจะพัฒนาข้นึ เป็นอย่างมากหากคนในองคก์ รได้รบั การฝึกฝนให้
ส่อื สารระหว่างกันอย่างมีสติ

โครงการจัดฝึ กอบรมสติในตนให้แก่เจ้าหน้าท่ีทุกคนของสถานสงเคราะห์ ต้ังแต่
ผู้ปกครองสถานสงเคราะห์ เจ้าหน้าท่ี รวมท้ังเดก็ และเยาวชนในสถานสงเคราะห์ เพ่ือให้นาไป
ปฏบิ ตั จิ นเกดิ เป็นวิถีองคก์ ร โดยมคี วามเช่อื ว่า เม่อื เจ้าหน้าทม่ี ีสติ มีจติ เมตตาและส่อื สารทางบวก
แก่เดก็ และเยาวชนซ่ึงเป็นกลุ่มเปราะบางแล้ว จะช่วยเพ่ิมคุณค่าในตนเองและความภาคภมิใจ
ให้แก่เดก็ และเยาวชนได้เป็นอย่างมาก

คู่มือโปรแกรมการฝึ กอบรมผูใ้ หก้ ารปรึกษา

คูม่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
4

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

กจิ กรรมท่ี 1 ความหมาย และวตั ถปุ ระสงคข์ องการใหก้ ารปรกึ ษา

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ให้ผู้ฝึกอบรม
2. อธบิ ายความหมายของการให้การปรกึ ษาได้
3. เคราะหว์ ตั ถุประสงคแ์ ละความจาเป็นของการให้การปรึกษาได้

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติกอ่ นจดั กจิ กรรม
2. ให้ผู้ฝึกอบรมจบั คูก่ ันและร่วมกนั คดิ “ข้อความ” ท่เี กีย่ วกบั “การให้การปรึกษา”
3. วิทยากรสุ่มถามผู้รับการฝึกอบรม 3 - 4 คน

- รวบรวมคาตอบท่ไี ด้จากกล่มุ
- วิทยากรและผู้เข้าฝึกอบรมร่วมกันสรุปและเช่ือมโยงถึงความหมายของ “การ

ให้การปรึกษา” และเพ่มิ เติมประเภทของการให้การปรกึ ษาทใ่ี ช้กนั ท่วั ไป
4. รวมกล่มุ ผ้ฝู ึกอบรมกล่มุ ละ 5-6 คน เพ่อื ร่วมกันอภิปรายให้ได้ข้อสรปุ ว่า เพราะเหตใุ ด
สถานสงเคราะห์เดก็ จงึ จาเป็นต้องมีกิจกรรม “การให้การปรึกษา” โดยให้ระบุเป็นข้อ ๆ และส่ง
ตวั แทนนาเสนอ (ใบกิจกรรมท่ี 1)
5. ตัวแทนกล่มุ นาเสนอ
6. วิทยากรเพ่ิมเตมิ และสรุปวัตถปุ ระสงค์ความจาเป็นและประเภทของการให้การปรกึ ษา
ในสถานรองรบั เดก็
7. ให้ผู้ฝึกอบรมแสดงความรู้สึกต่องาน “การให้การปรึกษา” ในสถานรองรับเด็กของ
ตนเองพร้อมทง้ั ให้เหตผุ ลประกอบสั้นๆ (ใบกจิ กรรมท่ี 2)
8. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติหลงั การจดั กิจกรรม

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
5

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบกจิ กรรมที่ 1
(ความหมายและวตั ถุประสงคข์ องการใหก้ ารปรกึ ษา)

คาช้ ีแจง

1. รวมกลมุ่ 5-6 รว่ มกนั อภปิ รายใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่ .... สถานรองรบั เด็กมงี าน “การให้
การปรึกษา” เพื่ออะไร

2. ระบุเป็ นขอ้ ๆ และส่งตวั แทนนาเสนอ
(เวลา 15 นาท)ี
สถานรองรบั เด็กมงี าน “การใหก้ ารปรึกษา” เพอ่ื
1.

2.

3.

4.

5.

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
6

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบกจิ กรรมท่ี 2
(ความหมายและวตั ถุประสงคข์ องการใหก้ ารปรกึ ษา)

คาช้ แี จง
ใหแ้ ต่ละคนแสดงความรูส้ ึกต่องาน “การใหค้ าปรึกษา” ในสถานรองรบั เด็กโดยทา

เคร่อื งหมาย ✓ ลงในช่องท่ีตรงกบั ความรูส้ กึ ของทา่ น พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบส้นั ๆ

ความรูส้ กึ เหตผุ ล

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
7

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

ใบความรู้
(ความหมายและวตั ถุประสงคข์ องการใหก้ ารปรกึ ษา)

ความหมายของการใหก้ ารปรกึ ษา

การให้การปรึกษาเป็นกระบวนการให้ความช่วยเหลือในปัญหาท่เี กิดจากจิตใจ อารมณ์
และสังคม รวมถงึ ความเช่อื คา่ นิยม และวัฒนธรรม ดงั น้นั จะเน้นการแก้ปัญหาโดยให้ความสาคญั
ในเร่อื งอารมณ์ ความร้สู กึ ท่จี ะเป็นตวั สืบค้นต่อไปถึงปัญหาพฤตกิ รรม เพ่อื ปรับเปล่ยี นพฤติกรรม
ให้เหมาะสม

- เน้นสัมพันธภาพท่ดี รี ะหว่างผ้ใู ห้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา ให้เกิดความไว้วางใจ
ผอ่ นคลาย กล้าเปิ ดเผยตนเอง ยอมรบั รู้ ทาความเข้าใจและแก้ไขปัญหาของตนเอง

- เป็นกระบวนการพูดคุยอย่างมีเป้ าหมายท่เี น้นผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง คือ ให้
ความสาคัญตอ่ ความร้สู ึกนึกคิด ปัญหา และความต้องการของผ้รู บั การปรกึ ษา นอกจากน้กี ารรบั รู้
ปัญหา การตดั สินใจเลอื กและการแก้ไขปัญหาต้งั อยู่บนศักยภาพของผ้รู ับการปรกึ ษาเอง

เพ่ือให้การดูแลเด็กในสถานรองรับเด็กมีประสิทธิภาพมากข้ึน จึงสมควรมี “การให้
คาปรึกษา” อย่างน้อย 2 ประเภท คือ การให้การปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling)
และการให้การปรึกษาแบบกล่มุ (Group Counseling)

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
8

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

กจิ กรรมที่ 2 ทกั ษะพ้ นื ฐานในการใหก้ ารปรึกษา

วตั ถุประสงค์

เพ่อื ให้ผู้ฝึกอบรม มคี วามรู้ เข้าใจและมที กั ษะพ้นื ฐานในการให้การปรกึ ษา

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตกิ ่อนดาเนินกจิ กรรม
2. วิทยากรชวนสนทนา ประสบการณเ์ ดมิ ในการให้การปรึกษาของผู้ฝึกอบรมว่า ในการ
ให้การปรึกษาเคยพบปัญหาอะไรบ้างและจดั การอย่าไร
3. วิทยากรบรรยายทกั ษะการให้การปรึกษาท่สี าคญั (ใช้ใบความร้ปู ระกอบ)
4. ให้ผู้ฝึกอบรมจับคู่เพ่อื สังเกต “การสาธิตการให้การปรึกษา” ของวิทยากร และบันทกึ
ลงในแบบบันทกึ การสังเกตการณ์
5. วิทยากรสุ่มถามและร่วมกันอภิปรายถึงทกั ษะท่ใี ช้ในการให้การปรึกษา จุดเด่น และ
ข้อเสนอแนะ
6. แบง่ กล่มุ ผู้เข้าอบรมเป็นกล่มุ ละ 3 คน ฝึกเป็นผู้ให้การปรึกษา ผู้รับการปรกึ ษา และผู้
สังเกตกุ ารณ์ ผลดั เปล่ยี นกนั ไปจนทุกคนได้มีโอกาสเป็นผู้ให้การปรึกษา
7. วิทยากรชวนสนทนา โดยสะท้อนจุดเด่นในการให้การปรึกษา อภิปรายผลการฝึ ก
ปฏบิ ตั ิของทกุ กล่มุ และแนวทางการพฒั นาอย่างตอ่ เน่อื งตอ่ ไป
8. ฝึกสมาธิ/ สติ หลังจบกจิ กรรม

ค่มู อื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
9

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบความรู้
ทกั ษะทจี่ าเป็ นในการใหก้ ารปรึกษา

ทกั ษะในการให้การปรึกษา เป็นสิ่งท่ใี ช้ในชีวติ ประจาวนั อย่แู ล้ว เช่นการฟัง การถาม การ
ทวนความ การสรปุ ความและการให้ข้อมูล ดังน้ี

1. การฟัง
ผู้ฟังจะต้องสังเกตภาษาท่าทาง น้าเสียงของผู้พูด รวมท้ังการรับรู้ ความคิด

ความร้สู ึก และความเช่อื ของผ้พู ูดเพ่อื
- เปิ ดโอกาสให้ผู้รับการปรกึ ษาระบายความคิด อารมณ์ ความร้สู ึกนึกคิดของตน

และได้เรยี นร้เู ข้าใจตนเองและผู้อ่นื ดีข้นึ - ให้ผู้ให้การปรึกษา สามารถจับประเดน็ สาคัญในปัญหา
ของผู้รบั การปรกึ ษาได้

- ให้ผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษาเกิดความเข้าใจตรงกัน การฟังท่ใี ช้ใน
การให้การปรึกษาน้นั เป็นการฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening) โดยต้งั ใจฟังทง้ั เน้อื หาสาระ และ
อารมณ์ของผู้รับการปรึกษาทแ่ี สดงออก

การฟังอย่างใสใ่ จ มีองคป์ ระกอบ 6 ประการ คอื
(1) L: LOOK มองประสานสายตาเป็ นระยะ ต้ังใจฟัง มีสติ และ

พยายามจับประเดน็ สาคญั ในปัญหาของผู้รบั การปรึกษา
(2) A: ASK ซักถามในประเด็นท่ยี ังสงสัย และแกะรอยตามประเดน็

ปัญหาของผู้รบั การปรึกษา
(3) D: DON’T INTERRUPT ไม่แทรกหรือขัดจังหวะ ในกรณีผู้รับการ

ปรึกษาพูดยาวหรือวกวน ควรใช้การสรปุ ประเดน็ ปัญหาเป็นช่วง ๆ เพ่อื ให้เกิดความเข้าใจตรงกนั
(4) D: DON’T CHANGE THE SUBJECT ไม่เปล่ียนเร่ือง แต่ให้

ตดิ ตามประเดน็ ปัญหาของผู้รบั การปรึกษา ไม่เปล่ยี นเร่อื งไปมา
(5) E: EMOTION ใสใ่ จการแสดงออกทางอารมณ์ของผู้รบั การปรึกษา

ทง้ั ภาษาท่าทาง และการพูด
(6) R: RESPONSE แสดงสีหน้า ทา่ ทางตอบสนอง เช่น การมองสบตา

การย้มิ การผงกศรี ษะ หรอื การพยักหน้า การออกเสียง เช่น คะ่ อ้อ อึม รวมทง้ั คาพูดสั้น ๆ เช่น
ง้ันหรอื แล้วยงั ไงต่อไป เป็นต้น

คูม่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
10

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

2. การถาม
คอื การทผ่ี ู้ให้การปรึกษาต้งั คาถามผู้รบั การปรึกษา เพ่อื ค้นหาสาเหตุของปัญหา

และ ความต้องการของผู้รับการปรึกษา คาถามแบ่งออกเป็น 2 แบบ คอื
1) คาถามเปิ ด เป็นคาถามท่ไี ม่ได้กาหนดขอบเขตของการตอบ เปิ ดโอกาสให้

ผู้ตอบ ตอบได้อย่างอิสระ พูดหรือแสดงความคิด ความรู้สึก และส่ิงท่ีเป็ นปัญหาตามความ
ต้องการของตน คาถามเปิ ดมักเป็นคาถามท่ใี ช้คาว่า “อย่างไร” “เพราะเหตุใด” “อะไรบ้าง”
“เพราะอะไร”

2) คาถามปิ ด เป็นคาถามท่กี าหนดทศิ ทางในการตอบไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ตอบ
เพียงเลือกทิศทางใดทิศทางหเท่าน้นั เช่น ใช่หรือไม่ใช่ จริงหรือไม่จริง เห็นด้วยหรือไม่ เป็นต้น
คาถามลกั ษณะน้ผี ู้ตอบไมม่ ีโอกาสแสดง

ความรู้สึกนึกคิด ช่วยให้ทราบข้อมูลเฉพาะเร่ืองและช่วยยืนยันข้อเทจ็ จริง ซ่ึงมี
ลักษณะคล้ายการสอบสวนหรือการซกั ในการให้การปรึกษา ควรใช้คาถามเปิ ดให้มากทส่ี ุดเทา่ ท่จี ะ
ทาได้ เพ่อื ให้โอกาสแกผ่ ู้รับการปรกึ ษาได้สารวจความร้สู กึ นกึ คดิ ของตน ผู้รับการปรกึ ษามกั จะไม่
ร้สู กึ ราคาญจากคาถามเปิ ด ส่วนคาถามปิ ดไม่ค่อยเอ้อื ให้เกดิ การเปิ ดเผยตนเอง และได้ข้อมูลน้อย
นอกจากน้นั ให้ระมัดระวงั การใช้คาถามว่า “ทาไม” เน่อื งจากทาให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความรู้สึก
ว่า ตนเองทาผิด ซ่ึงอาจมีผลต่อความสัมพันธ์อันดี จึงไม่เหมาะสมท่ีจะนามาใช้ในการให้การ
ปรึกษา

ในการให้การปรึกษา ควรเปิ ดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาได้มีโอกาสพูดหรือ
อธบิ ายเร่อื งราวและความร้สู ึกทเ่ี กย่ี วกับเร่อื งทจ่ี ะปรึกษา รวมท้งั มหี ้วงเวลาคิดคานงึ ถึงปัญหาของ
ตนเอง เพ่ือช่วยให้ผู้ให้การปรึกษาเข้าใจปัญหา ความรู้สึก และความคดิ ของผ้รู ับการปรึกษามาก
ย่ิงข้นึ

3. ทกั ษะการใหก้ าลงั ใจ
เป็ นทักษะท่ีใช้กับปัญหาด้านจิตใจ ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาพูดหรือแสดง

ความร้สู กึ ออกมา ซ่งึ ใช้เม่อื ผู้รับการปรึกษาขาดความม่นั ใจ และช่วยแก้ปัญหาทางด้านจติ ใจ
การให้กาลังใจจะช่วยกระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาได้รู้ว่ามีคนเข้าใจ เขาไม่ต้อง

เผชญิ กับปัญหาเพยี งลาพงั ช่วยให้ผู้รบั การปรึกษาร้วู ่าตนเองมีศักยภาพมคี ุณค่า ทง้ั ตอ่ ตนเองและ
สังคม ช่วยลดความรู้สึกท้อแท้ของผู้รับการปรึกษา เป็ นการกระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาพูดถึง
ความสามารถหรือศกั ยภาพของตนออกมาได้ ตวั อย่างเช่น “ป้ าว่าหนูเข้มแขง็ นะ ขนาดกาลงั กังวล
อย่ยู งั ดโู อเคเลย”

4. ทกั ษะการเงยี บ
เป็นช่วงระยะเวลาการปรึกษาทไ่ี ม่ส่อื สารด้วยวาจา ในทางปฏบิ ตั ิจะต้อง พิจารณา

ว่าการเงยี บทเ่ี กดิ ข้นึ เป็นการ เงียบทางบวก หรอื เงยี บทางลบ กล่าวคือ

คูม่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
11

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

1) การเงียบทางบวก ผู้รับการปรึกษาเงียบเพ่ือทบทวนความคิดความรู้สึกของ
ตน เพ่ือท่จี ะทาให้สามารถจดั การกบั ความรู้สกึ ของตนได้ดขี ้นึ หรืออาจเงียบเน่อื งจากรู้สกึ เจบ็ ใจ
หรือเสียใจ หรืออาจเงียบเพ่ือรอคอยให้ผู้ให้การปรึกษาพูดอะไรบางอย่างไม่ว่าจะเป็นการให้
กาลังใจ การให้ข้อมูล หรอื เป็นการเงยี บเพ่อื คิดกไ็ ด้

2) การเงียบทางลบ เป็นการเงียบของผู้รับการปรกึ ษาท่แี สดงถงึ ความรู้สึกท่ไี ม่ดี
เช่นอาย ไม่สบายใจ ความกลัว การตอ่ ต้าน หรือสบั สน ผู้ให้การปรึกษาควรให้การยอมรบั และให้
กาลังใจ

5. ทักษะการสังเกต ผู้ให้การปรึกษาใช้การสังเกต เพ่ือช่วยให้รับรู้ถึงความรู้สึกและ
พฤติกรรม การแสดงออกต่าง ๆของผู้รับการปรึกษา เช่น สังเกตอารมณ์ สีหน้าท่าทาง นา้ เสยี ง
ตลอดจนคาพูดและภาษาท่ีใช้ ผลท่ีได้คือ ทาให้ผู้ให้การปรึกษาเข้าใจและสามารถสะท้อน
ความร้สู ึกได้อย่างเหมาะสม

6. ทักษะการทวนซา้ เป็นการพูดในส่ิงท่ผี ู้รับการปรึกษาได้บอกเล่าอกี คร้ังหน่งึ โดยไม่มี
การเปล่ียนแปลง ท้ังภาษาและความรู้สึกท่ีแสดงออกมา เพ่ือช่วยให้ผู้รับการปรึกษาได้เข้าใจ
ตนเองชัดเจนข้นึ ทวนซา้ แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท

6.1 ทวนซา้ อย่างเดียว กับสงิ่ ทผ่ี ู้พูดเป็นการทวนซา้ ทกุ คาพูด
6.2 ทวนซา้ แบบเปล่ยี นหรือเพ่มิ สรรพนามของผู้รับการปรึกษา
6.3 ทวนซา้ เฉพาะประเดน็ ทส่ี าคัญเพียงส่วนเดียว
6.4 ทวนซ้าแบบสรุป การทวนซา้ เป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับเฉพาะสาระสาคัญท่ี
ผู้รับการปรกึ ษาส่อื ออกมาเทา่ น้นั ทาให้ผู้รับการปรึกษาชดั เจนในสิง่ ท่พี ูดมากข้ึน จูงใจให้ผู้รับการ
ปรกึ ษาพูดตอ่
7. ทกั ษะการจับและสะท้อนความรู้สกึ การสะท้อนความร้สู กึ เป็นการรับร้คู วามร้สู ึกและ
อารมณ์ตา่ ง ๆ ทผ่ี ู้รบั การปรึกษาได้แสดงออกมาไมว่ ่าด้วยวาจา หรอื กริยาทา่ ทาง และเป็นการให้
ข้อมูลย้อนกลับอย่างชดั เจน
การสะท้อนความร้สู ึกจะช่วยขยายขอบเขตในการมองสภาพการณข์ องตนเองของผู้รับการ
ปรึกษาได้ชดั เจนและเป็นจรงิ มากข้ึน ทาให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความไว้วางใจ เน่อื งจากมคี นเข้าใจ
ในปัญหาของตนเอง
ผลทเี่ กดิ จากการใชท้ กั ษะการจบั และสะทอ้ นความรสู้ กึ

- ช่วยให้ผู้รบั การปรกึ ษา ร้สู ึกว่ามคี นเข้าใจตนอย่างลึกซ้งึ
- ช่วยให้ผู้รับการปรกึ ษา เข้าใจอารมณค์ วามร้สู ึกของตนมากข้ึน
- เป็นการสร้างสมั พันธภาพ ช่วยให้ผู้รับการปรึกษา เปิ ดเผยตนเองมาก

ข้นึ
- ช่วยให้ผู้รบั การปรึกษา ประเมินตนเองได้ดีข้นึ
- ช่วยให้ผู้รับการปรกึ ษา เข้าใจปัญหาของตน

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
12

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

8. ทกั ษะการสรุปความ เป็นการรวบรวมสง่ิ ทเ่ี กดิ ข้ึนในระหว่างการให้การปรึกษา หรอื
เม่อื ยุตกิ ารให้การปรกึ ษา โดยใช้คาพูดสนั้ ๆให้ได้ใจความสาคญั ท้งั หมด ซ่งึ จะมที ง้ั การสรุปเน้อื หา
และความร้สู ึกในการให้การปรึกษาในคร้งั น้นั ในกรณกี ารปรึกษาใช้เวลามากกว่าหน่งึ คร้งั ในคร้งั
สดุ ท้ายควรจะสรปุ ส่ิงตา่ ง ๆ ท้งั หมดของการปรึกษาทผ่ี ่านมาต้งั แต่คร้งั แรกจนถงึ คร้งั สุดท้าย จะ
ทาให้ผู้รับการปรึกษา ร้สู กึ ว่าการปรึกษา ได้ผล และมีประโยชน์ช่วยให้ผู้รับการปรกึ ษาเห็นภาพ
ท้งั หมด

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
13

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

แบบบนั ทึกการสงั เกตการณก์ ารใหก้ ารปรกึ ษา

ผสู้ งั เกต มี ไมม่ ี จุดเด่น ข้อเสนอแนะ
ทกั ษะพ้นื ฐาน

1. การฟังอย่างใส่ใจ

2. การต้งั คาถาม (คาถามเปิด คาถาม
ปิ ด)

3. การให้กาลังใจ

4. การเงียบ

5. การสงั เกต

6. การทวนซา้

7. การสะท้อนความร้สู ึก

8. การสรปุ ความ

ค่มู ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
14

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบกิจกรรม

คาช้ แี จง
1) แบ่งกลุ่ม 3 คน ฝึ กทักษะเบ้ืองต้น ในการให้คาปรึกษา รอบแรก คนท่ี 1.

เป็นผู้ให้การปรึกษา คนท่ี 2.เป็นผู้รับการปรกึ ษา คนท่ี . เป็นผู้สงั เกตการณ์ ทา 3 รอบเพ่อื ให้ทกุ
คนได้มโี อกาสฝึกเป็นผู้ให้การปรึกษา

2) เลอื กประเดน็ ปัญหาท่เี คยมปี ระสบการณใ์ นสถานรองรับเดก็
3) ผู้สงั เกตบนั ทกึ ตามแบบบันทกึ การสงั เกต

A ผูใ้ หก้ ารปรกึ ษา

B ผูร้ บั การปรกึ ษาปรึกษา C ผูส้ งั เกตการณ์

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
15

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

กจิ กรรมท่ี 3 กระบวนการใหก้ ารปรกึ ษา

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ให้ผู้ฝึกอบรมสามารถวเิ คราะห์กระบวนการให้การปรกึ ษาได้
2. เพ่อื ให้ผู้ฝึกอบรมสามารถให้การปรกึ ษาตามข้นั ตอนของกระบวนการให้การปรกึ ษาได้

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธิและฐานสติกอ่ นดาเนนิ กจิ กรรม
2. ทกั ทายผ้ฝู ึกอบรมโดยการพูดคุยถงึ ประสบการณก์ ารให้การปรกึ ษาเดก็ และเยาวชนใน
สถานรองรับ
3. วทิ ยากรบรรยายเร่อื ง กระบวนการให้การปรึกษา
4. ให้ผู้ฝึกอบรมจับคู่ เพ่อื เตรยี มตวั สงั เกตการสาธติ การให้การปรึกษา
5. วิทยากรสาธิตการให้การปรกึ ษาให้ครบข้นั ตอนในการให้การปรึกษา
6. ให้ผู้เข้าฝึกอบรมร่วมกนั วิเคราะหว์ ่าในกระบวนการให้การปรึกษามขี ้นั ตอนอะไรบ้าง
7. วทิ ยากรสุม่ ถามและสรุป
8. ฝึกปฏบิ ัติ โดยให้ผู้เข้าฝึกอบรมรวมกล่มุ 3 คน

คนท่1ี เป็นผ้ใู ห้การปรกึ ษา
คนท่ี 2.เป็นผ้รู ับการปรกึ ษา
คนท่ี 3 เป็ นผู้สังเกตการณ์ ฝึ กปฏิบัติ ให้คาปรึกษาตามกรณีศึกษา ท่ีได้รับ

มอบหมาย
ท้งั น้ี หมุนเวยี น 3 รอบ เพ่อื ให้ทกุ คนได้ฝึกเป็นผู้ให้การปรกึ ษา
9. ให้ผู้ฝึกอบรมแสดงความเห็นว่า ได้เรียนร้อู ะไรบ้าง และจะนาไปปรับใช้อย่างไรในการ
ทางานจริง/ สรุปสาระสาคัญของกจิ กรรมน้ี
10. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติ หลงั จัดกจิ กรรม

ค่มู ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
16

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบความรูท้ ี่ 1
กระบวนการใหก้ ารปรึกษา

เป็ นกระบวนการให้ความช่วยเหลือท่ีอาศัยสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างผู้ให้การปรึกษา
(counsellor) กับผู้รับการปรึกษา(counselee ) ใช้ การส่ือสารสองทาง โดยใช้ ทักษะและ
กระบวนการในการให้การปรกึ ษาทเ่ี หมาะสม เพ่อื ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาได้ใช้ศักยภาพของตนเอง
ในการทาความเข้าใจปัญหาของตนเอง ท้งั สาเหตุและความต้องการของตน และเกดิ ความร่วมมอื
ในการแก้ไขปัญหาได้

กระบวนการใหก้ ารปรกึ ษามขี ้นั ตอนหลกั ๆ ดงั น้ ี
1. การสรา้ งสมั พนั ธภาพ เป็นการสร้างบรรยากาศให้ผู้รับการปรึกษารู้สึกสบาย

ใจ อบอุ่นและเป็นมิตร เร่ิมจากการทักทายและสนทนาเร่ืองท่ัว ๆไป โดยยังไม่มุ่งประเดน็ เร่อื งท่ี
ผู้รับการปรึกษามาพบ เพ่ือลดความวิตกกังวลของผู้รับการปรึกษา และให้แสดงความใส่ใจด้วย
ภาษาท่าทางและภาษาพูดท่บี ่งบอกถงึ ความกระตือรือร้นท่จี ะช่วยเหลือ ตัวอย่าง การแสดงความ
ใสใ่ จด้วยภาษากายและภาษาพูดดังน้ี

• ภาษากาย เช่นการจัดทา่ น่งั ท่เี หมาะสม ดังน้ี
S = Squarely การน่งั แบบมมุ ฉาก ไมป่ ระจนั หน้ากนั
O = Open เปิ ดใจรับ และให้ความสนใจตอ่ ผ้รู บั การปรึกษา
L = Lean โน้มตวั ไปข้างหน้าเลก็ น้อย
E = Eye Contact สบสายตาแสดงความสนใจ
R = Relaxมีทา่ ททางสบาย ๆ ไมเ่ คร่งเครียด

• การเปิ ดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาได้พูดถึงปัญหาท่ตี ้องการมาพบ
ผู้ให้การปรึกษา

• มีการตกลงกันในเบ้ืองต้นเรียกว่า การตกลงบริการ คือการสร้าง
ความเข้าใจกับผ้รู ับการปรึกษาให้ร้ถู งึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการปรกึ ษา รู้
บทบาทของท้งั สองฝ่ าย และพร้อมท่จี ะร่วมมือกัน การตกลงบริการ
มีความสาคัญดังน้ี
- ร้ทู ศิ ทาง เพ่อื ให้ผู้ให้การปรึกษาและผู้รบั การปรึกษาพูดคุยไป
ในทศิ ทางเดยี วกนั
- รู้บทบาท เพ่ือให้รู้บทบาทของผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการ
ปรึกษา
- เตรยี มความพร้อมของทง้ั 2 ฝ่ าย
- ร้ขู อบเขตของการพดู คยุ

คู่มอื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
17

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

- รู้ประโยชน์ท่ีผู้รับการปรึกษาจะได้รับ เพ่ือเป็ นการสร้าง
แรงจูงใจผู้รับการปรึกษาให้พร้อมท่จี ะร่วมมือในการช่วยกนั
คิด ช่วยกันแก้ไขปัญหา นาไปสู่การยุติบริการได้อย่าง
เหมาะสม

2. การสารวจปัญหา เป็นข้นั ตอนทจ่ี ะช่วยให้ ผู้ให้การปรกึ ษาเรียนร้รู ายละเอียด
ตา่ ง ๆ ของผู้รบั การปรกึ ษา เพ่อื ให้เข้าใจปัญหา อารมณแ์ ละความร้สู กึ ต่อปัญหา ปัจจัยท่เี กย่ี วข้อง
กับ ภูมิหลัง ผลกระทบจากปัญหา โดยใช้วิธีผสมผสานทกั ษะพ้ืนฐานต่าง ๆ และใช้วิธีแกะรอย
(Tracking) ไปตามผู้รับการปรกึ ษา เพ่อื เอ้อื อานวยและกระต้นุ ให้ผู้รับการปรึกษาใช้ศักยภาพของ
ตนในการสารวจปัญหาและความต้องการของตนเอง ปฏกิ ิริยาท่พี บบอ่ ยของผู้มาปรกึ ษา โดยมาก
พบดังน้ี ปฏกิ ิริยาด้านความร้สู กึ ปฏิกิรยิ าด้านร่างกาย และ ปฏกิ ริ ิยาด้านความคดิ

- ด้านความรู้สึก รู้สึกโกรธ ผิดหวัง เสียใจต่อเหตุการณ์ท่เี กิดข้ึน เจ็บปวดต่อ
เร่อื งราวท่เี กดิ ข้นึ น้อยใจ ร้สู ึกโดดเด่ยี ว วิตกกงั วล และร้สู ึกว่าได้รบั กาลงั ใจ เป็นต้น

- ด้านความคิด ต้องการแก้แค้น คิดมุ่งม่ันต้ังใจ คิดช่วยเหลือ คานึงถึงสังคม
ส่วนรวม คิดถึงความไม่ยุติธรรม ช่องว่างทางกฎหมาย คิดคาดหวังว่าจะได้รับการช่วยเหลือจาก
หน่วยงาน คิดวนเวียนถงึ เหตุการณ์เดมิ คดิ ถึงคนในครอบครวั ญาตพิ ่นี ้องในหมบู่ ้าน เป็นต้น

- ด้านร่างกาย มคี วามระวงั ตัว ห่วงความปลอดภยั ของตนเอง มีสีหน้าเปล่ยี นไป
นา้ ตาคลอ กามือแน่น แสดงความร้สู กึ อึดอดั ท่าทางฉนุ เฉียว เม่อื เล่าเร่อื งทท่ี าให้โกรธ

- ด้านความสัมพนั ธ์กับบคุ คล ทาตวั แปลกๆ ถอยห่างจากผ้คู น ขัดแย้งกับผ้อู ่นื
การทางานบกพร่อง/ การเรียนบกพร่อง เป็นต้น

- ความรู้สึกท่เี กิดข้นึ ภายหลัง กลัวคนภายนอกรู้ว่าเกิดอะไรข้นึ กับตัว ละอายใจ
ถ้าจะกลับบ้าน รู้สึกผิดท่ที าผิดพลาดอย่างรุนแรง/ ไม่น่าอภัย โกรธตนเองท่ปี ล่อยให้เหตุการณ์
เช่นน้เี กดิ ข้นึ โกรธคนอ่นื ทไ่ี มช่ ่วย ไร้อานาจ ช่วยตนเองไมไ่ ด้ ร้สู กึ เป็นตราบาป ถกู รงั เกียจ ปฏิเสธ

3. เขา้ ใจสาเหตุและความตอ้ งการ เป็นข้ันตอนท่ผี ู้ให้การปรึกษาช่วยให้ผู้รับ
การปรึกษานาข้อมูลท่ไี ด้จากการสารวจปัญหามาทาความเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการ
โดยผสมผสานทักษะพ้นื ฐานตา่ ง ๆ และใช้วิธีการแกะรอย (Tracking)* เพ่ือนาไปสู่การวางแผน
แก้ไขปัญหาต่อไป

4. การวางแผนแกไ้ ขปัญหา เป็นการช่วยเหลอื ผู้รบั การปรกึ ษา ในการจัดลาดับ
ความจาเป็นรบี ดว่ นของปัญหา และวางแผนแก้ไขปัญหา โดยมีข้นั ตอนดังน้ี

- ดคู วามต้องการ หรอื แรงจูงใจของผู้รบั การปรกึ ษาทจ่ี ะแก้ไขปัญหาของตนเอง
- กาหนดเป้ าหมายท่ชี ดั เจนในการแก้ไขปัญหา
- กาหนดทางเลอื ก ทางออกเพ่อื แก้ปัญหา
- ผู้รับการปรึกษา เป็นผู้ตัดสินใจเลือกทางออกท่เี หมาะสมกับสภาพการณ์และ

ความต้องการของตนเอง

คูม่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
18

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

- วางแผนปฏิบัติ เป็นรูปธรรม หรือซ้อมปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความม่ันใจก่อนลง
มอื จริง

- การแก้ไขปัญหา เป็นข้ันตอนสุดท้ายของกระบวนการให้การปรึกษา เม่ือผู้รับ
การปรึกษากระจ่างในปัญหาของตนเองอย่างแท้จริง และสามารถหาวธิ แี ก้ไข
ปัญหาด้วยตนเองได้ การยุติการปรึกษาควรเป็นไปด้วยท่าทที ่อี บอนุ่ เป็นมิตร
ต่อผู้รับการปรึกษา ไม่ว่าจะเป็นการยุติการปรึกษาของแต่ละคร้ัง ซ่ึงบางคร้งั
อาจจะต้องส่งตอ่ ไปยงั หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง

5. ยุติการปรึกษา เป็นข้ันตอนสุดท้ายของกระบวนการให้การปรึกษา เม่ือผู้รบั
การปรึกษากระจ่างในปัญหาของตนเองอย่างแท้จริงและสามารถหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้
การยุติการปรึกษาควรเป็นไปด้วยท่าทีท่อี บอนุ่ เป็นมิตร และเอ้ือเฟ้ื อต่อผู้รับการปรึกษา ไม่ว่าจะ
เป็นการยุติการปรกึ ษาของแต่ละคร้งั ซ่งึ บางคร้งั อาจจะต้องสง่ ตอ่ ไปยังหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง

คูม่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
19

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบความรูท้ ี่ 2
แผนผงั กระบวนการใหก้ ารปรกึ ษา

หมายเหตุ : C (counsellor) = ผู้ให้การปรึกษา
Cl (counselee) = ผู้รบั การปรกึ ษา

คู่มอื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
20

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

ใบความรูท้ ่ี 3
คณุ สมบตั ิของผใู้ หก้ ารปรกึ ษา

คุณลักษณะและบุคลิกภาพของผู้ให้การปรึกษาจะต้องเป็นผู้ท่มี องโลกในด้านบวกตาม

ความเป็นจริง เช่ือว่าคนสามารถพัฒนาได้ และมีความรู้และทักษะท่จี าเป็นในการให้การปรึกษา

จึงจะสามารถทาให้กระบวนการให้การปรึกษาประสบความสาเรจ็ นอกจากน้ัน จะต้องมีความรู้

ความเข้าใจเร่ืองจิตวิทยาพัฒนาการของเด็กและเยาวชน ตลอดจนเร่ืองราวต่าง ๆท่ีเด็กและ

เยาวชนเผชิญอยู่ เช่นเร่ืองเพศ อนามัยการเจริญพันธุ์ เอชไอวีเอดส์ และความรุนแรงเป็นต้น

คณุ สมบัตพิ ้ืนฐานควรเป็นดงั น้ี

1. มองโลกในแง่ดี

2. มวี ุฒิภาวะทางอารมณ์ คือ มคี วามอดทน ใจเยน็

3. เหน็ คุณคา่ เช่อื ในศักยภาพของทกุ คน มคี วามเช่อื ว่า คนทกุ คนมศี กั ยภาพ

4. มีความเช่อื ว่าการให้การปรึกษา ช่วยพฒั นาคนได้

5. รักษาความลบั ได้ดี

6. มกี ารพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีทกั ษะการส่อื สารท่ดี ี

7. เข้าใจ และเคารพการตัดสนิ ใจของผู้รับการปรกึ ษา

8. ไม่ใช้การส่ือสารท่เี ป็นการแสดงอานาจเหนือกว่าผู้รับการปรึกษาท้งั ท่าทาง

และคาพดู

9. ไมม่ ีอคติ (Bias) เพราะ รัก โกรธ หรอื กลัว

10 ในการให้การปรึกษาต้องไม่แสดงออกดังน้ี

- ออกคาสัง่ - ขู่

- ส่ังสอน เทศนา - โต้เถียง หว่านล้อม

- วจิ ารณ์ - ย่วั แหย่ กลบเกล่อื น

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
21

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

กรณศี ึกษา

กรณศี ึกษาที่ 1

นายเอ อายุ15ปี พ่อแม่ยากจน ต้ังใจฝากเล้ียงท่สี ถานรองรับเดก็ ไว้ช่ัวครามต้งั แต่อายุ 7
ขวบ นาน ๆครอบครวั จงึ มาเย่ียมสักคร้งั เน่อื งจากต้องทามาหากิน เม่อื ปิ ดเทอม กร็ ับลกู กลับไป
ช่วยงานท่บี ้าน นายเอเป็นเดก็ ชอบช่วยงานทุกอย่าง ท้งั ในสถานรองรับเด็ก และงานท่พี ่อแม่ให้
ช่วย แต่กต็ ิดเพ่ือนมาก ชอบหนีเรียน และชอบลักเล็กขโมยน้อยเป็นประจา เขามักจะถูกรุ่นพ่ี
แกล้ง เพราะเป็นคนยอมคน ไม่กล้าแสดงออก พูดน้อย เกบ็ กด ผู้ดูแลเคยเรียกไปพูดคุยและ
ตักเตอื นเร่อื งลกั ขโมยหลายคร้งั นายเอไม่กล้าคยุ ให้ใครฟัง ไม่มเี พ่อื นสนทิ และมีบคุ ลิคทอ่ี มทุกข์
หมองเศร้า

กรณีศึกษาท่ี 2

นายบี อาย1ุ 7 ปี ถกู พ่อแม่ท้งิ ให้อยู่กบั ยาย พอยายเสยี ชีวิตเม่อื อายไุ ด้ 12 ขวบ จงึ เข้ามา
อยู่ในสถานรองรับเด็ก มีพฤติกรรมเกเร ติดเกมส์ ชอบรังแกเด็กท่มี ีพฤติกรรมรักเพศเดียวกนั
เคยติดซิฟิ ลิสมาจากเพ่ือน เคยถูกทาโทษโดยตัดเงินเดือนและค่าขนม ชอบเป็นหัวโจก ต่อต้าน
กฎระเบียบของสถานรองรับเดก็ การเรียนพอใช้ได้ ชอบช่วยเหลือ ประจบผู้ดูแลเป็นพเิ ศษ ช่วง
หลงั จบั ได้ว่าลกั ขโมย เพราะอยากได้โทรศพั ทม์ อื ถอื เป็นทห่ี นักใจของผู้ดแู ลมาก

กรณีศกึ ษาที่ 3

เดก็ หญิงต๋ิม อายุ14ปี ชอบพูดปด ขาดเรียนบ่อย การเรียนไม่ดี หัวอ่อนเช่ือคนง่าย ติด
เท่ยี ว มีแฟน ติดแฟน เคยพลาดโดยท้อง 2 เดือน และแฟนพาไปทาแท้ง ชอบแต่งตัว ชอบเล่น
เฟส เคยหนีออกจากสถานรองรับเดก็ เพ่ือไปเท่ยี วกับแฟน ผู้ดูแลคาดโทษไว้หลายคร้ัง มีประวัติ
ว่าถูกแยกจากครอบครัวต้ังแต่อายุ 9 ขวบ พ่อใช้ยาเสพติดและกินเหล้า เวลาเมาจะทาร้ายทุบตี
ภรรยาและลูกเป็นประจา เดก็ หญิงติ๋มมขี ้อดีคอื ชอบช่วยงานในสถานรองรบั เดก็ อย่างสม่าเสมอ

กรณศี ึกษาท่ี 4
นายห้างอายุ 16 ปี เป็นเดก็ หน้าตาดี มีครอบครัวอุปถัมภ์ ตอนเด็กเป็นคนน่ารัก เช่ือฟัง

พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์เป็นอย่างดี พอเร่ิมเป็นวัยรุ่นมักกลับบ้านดึก ติดเกมส์ ติดเพ่ือน ชอบ
เรียกร้องอยากได้วตั ถุส่ิงของ ทาให้ครอบครัวฯหนักใจมาก ส่งมาสถานรองรับเดก็ บอ่ ยคร้ัง และ
เวลาเจ้าหน้าท่ไี ปเย่ียม พ่อแม่อุปถัมภ์ปรารภว่าหนักใจมาก ตอนเดก็ พ่อแม่อุปถัมภ์เล้ียงดแู บบ
ตามใจมากเพราะมีบุตรเองไม่ได้ พอเป็นวัยรุ่นนายห้างท้งั ติดบุหร่ี ติดยาเสพติด คบเพ่ือนเกเร
เอาแต่ใจตนเอง ไมร่ บั ผดิ ชอบตัวเอง เรยี นหนังสือไม่ดี

คู่มอื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
22

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

กจิ กรรมที่ 4 การใหก้ ารปรกึ ษาแบบกลุ่ม

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ให้ผู้ฝึกอบรมสามารถให้การปรกึ ษาแบบกล่มุ ได้

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธิและฐานสตกิ อ่ นจดั กิจกรรม
2. ให้ผ้เู ข้าฝึกอบรมจับคู่ ทบทวนกระบวนการให้การปรึกษา (5 ข้นั ตอนและทกั ษะตา่ ง ๆ
ทใ่ี ช้ในการให้การปรกึ ษา)
3. วิทยากรสุ่มถาม 3 - 4 คู่ และสรุปข้ันตอนและทักษะท่ใี ช้ในการกระบวนการให้การ
ปรกึ ษา
4. รวมกลุ่ม 5-6 คน ทากิจกรรมฝึกปฏิบัตกิ ารให้การปรึกษาแบบกลุ่ม ตามกรณีศึกษาท่ี
ได้รบั (ใบกจิ กรรม)
5. ผู้แทนกลุ่มท่ีทาหน้าท่ีผู้ให้การปรึกษา” (Counselor) รวบรวมความเห็นกลุ่มและ
นาเสนอทลี ะกล่มุ
6. วิทยากรนาอภิปราย ให้ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติมเร่ืองบทบาทของผู้ให้กาปรึกษาแบบกล่มุ /
สรปุ
7. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตหิ ลงั จดั กิจกรรม

กรณีศกึ ษาเรื่อง

: ติดเพ่อื น, เบ่อื เรียน, อยากได้มอื ถือ, ติดเกมส์, อยากลองสบู บุหร่ี ฯลฯ

คูม่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
23

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

ใบกิจกรรม
(การใหก้ ารปรกึ ษาแบบกลุ่ม)

คาช้ ีแจง

1. รวมกล่มุ 5-6 คน (ไม่ควรเกิน 9 คน)
2. ฝึกปฏบิ ัติการให้การปรกึ ษาแบบกล่มุ ตามกรณศี ึกษากลุ่มละ 1 เร่อื ง ใช้เวลา 45 นาที
(ก่อนเร่มิ กิจกรรมอาจใช้เพลงหรือเกมสน์ ากอ่ นเพ่อื ละลายพฤติกรรม)

2.1 กาหนดผู้เข้าอบรม 1 คน เป็นผู้ให้การปรึกษา (Counselor)
2.2 ผู้เข้าอบรมท่เี หลอื เป็นผู้รบั การปรกึ ษา (Counselees)
3. หลังการฝึก ให้ทุกคนสะท้อนความคิดเห็นต่อการให้การปรึกษากลุ่มแต่ละรอบตาม
ประเดน็ ต่อไปน้ี

บทบาทผู้ให้การปรึกษา จุดแขง็ จุดทค่ี วรพัฒนา

1.กระบวนการให้การปรกึ ษาเป็นไปตามขน้ั ตอน

2.ทกั ษะท่ใี ช้ในการให้การปรึกษา
3. ภาพรวมของการให้การปรกึ ษา

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
24

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

ใบความรูท้ ่ี 1
กระบวนการใหก้ ารปรกึ ษาแบบกลุ่ม

การให้การปรกึ ษาแบบกลุ่ม ใช้ทกั ษะและกระบวนการคล้ายกับการให้การปรกึ ษาแบบเด่ยี ว แต่
มบี างทักษะท่ีเพ่มิ เช่นการถาม ให้ถามสมาชิกทุกคนหรือถามเวยี น (circular question)

การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม ช่วยให้สมาชิกในกลุ่มตดิ ต่อส่ือสารกัน เข้าใจความคดิ ความร้สู ึก
ของแต่ละคนและสามารถร่วมกันใช้ศักยภาพของพลงั กลุ่มแก้ปัญหาได้ดีกว่าสู้คนเดียวตามลาพัง ผู้ให้
การปรกึ ษาควรปฏิบตั ดิ ังน้ี

1. ต้องฟังและตอบสนองกบั หลายคนในเวลาเดียวกัน
2. ต้องพยายามให้ทกุ คนได้มีโอกาสพูด และให้ฟังผ้อู ่นื พูดด้วย
3. ต้องพยายามให้ทกุ คนเข้าใจความคดิ ความร้สู กึ ของผ้อู ่นื ก่อนทจ่ี ะตดั สินใจในการ
แก้ปัญหาด้วยศักยภาพของกลุ่ม

ขอ้ ดขี องการใหก้ ารปรึกษาแบบกลมุ่
1. ทาให้เข้าใจระดบั ความสัมพันธข์ องสมาชกิ ในกล่มุ ได้ดีข้นึ
2. ทาให้มองเห็นปัญหาหรอื จุดเดน่ จุดด้อยของสมาชิกทุกคน
3. ทาให้สมาชกิ ในกล่มุ เข้าใจซ่งึ กนั และกันได้ดขี ้นึ
4. ประหยดั เวลาได้มาก

แนวทางการใหก้ ารปรึกษาแบบกลุ่ม
1. การต้อนรับถ้าสมาชิกใหม่ท่ีมาเข้ากลุ่มคร้ังแรก จะต้องให้ความสาคัญก่อน

โดยการทกั ทาย และช่นื ชมท่ตี ดั สินใจมาร่วมกล่มุ
2. ให้สมาชิกเลือกท่นี ่ังเอง จะมีบางคนท่มี าโดยไม่รู้ว่าต้องมาทาไม อาจแยกอยู่

ตา่ งหาก
3. บอกวัตถุประสงคข์ องการคยุ กัน
4. ในการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม ผู้ให้การปรึกษาสามารถแสดงความช่ืนชม

สมาชิกได้ดังน้ี
4.1 ช่นื ชมในตวั สมาชิกทุกคนท่มี าร่วมในการปรึกษา
4.2 ช่นื ชมทส่ี มาชกิ สามารถตดิ ต่อส่อื สาร ทาความเข้าใจกันได้ดี
4.3 ช่นื ชมสมาชิกท่เี สียสละและต้งั ใจทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงตนเองและเพ่ือน
สมาชกิ ในกล่มุ

5. หากมีการนัดคร้ังต่อไป ควรทาการตกลงกันว่าจะมาหมดทุกคน หรืออาจมา
บางคน หรอื จะนาสมาชกิ ท่ไี มไ่ ด้มาคร้งั น้มี าเข้ากล่มุ ด้วย

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
25

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

6. การใช้สรรพนามและการเร่ิมต้นสนทนา ผู้ให้การปรึกษาควรใช้สรรพนามและ
เร่มิ ต้นสนทนาให้เหมาะสมในการสร้างสัมพันธภาพและละลายพฤตกิ รรมเช่น

- ครู/ป้ า/แม่/พ่.ี ..ดใี จมากทพ่ี วกเรามาตามนัด
- เป็นอย่างไรกนั บ้างวันน้เี ป็นวนั หยุดแทนที่จะได้ไปเทีย่ วข้างนอกกนั
- ขอบใจนะที่สละเวลามาคุยกนั ทานอะไรกันมาหรือยัง หิวไหมมีอาหารว่าง

และนา้ อยูม่ มุ น้ันนะ น่ังตามสบาย
- พวกเรารู้ไหมวา่ เราจะมาคยุ กนั เร่อื งอะไร เน่อื งจากเดก็ บางคนอาจไมท่ ราบ

ว่าจะมาทาอะไร เพราะพ่ีเล้ียงไม่ได้บอก หรืออาจกังวลว่าจะต้องทา
อะไรบ้าง
7. ควรเร่ิมจากการแนะนาตวั เองและบอกวตั ถปุ ระสงค์ของการทากลุ่ม เช่น จะคุยเร่อื ง
อะไร ใช้เวลาประมาณก่นี าที และถามความพร้อมก่อนเร่มิ กจิ กรรม รวมท้งั บอกกติกากลุ่มเช่น ขณะท่ีมี
คนพูดขอให้ทกุ คนต้ังใจฟัง ถ้าต้องการแสดงความคิดเห็นให้ยกมือข้นึ ขอให้เป็นความลบั นอกจากเจ้า
ตัวอนุญาต เป็นต้น
8. ในการพูดคุย หากมีบางคนพูดยาวหรือส้ันเกินไป ผู้ให้การปรึกษาต้องมีวิธีการ
จัดการโดยไมใ่ ห้เสยี นา้ ใจ เช่น ขอโทษนะ ทเ่ี ล่ามาพอเข้าใจแล้ว ขอให้ช่วยสรุปให้เพ่อื นๆด้วย เพราะมี
อีกหลายคนยังไมม่ ีโอกาสพูด.....หรือคนท่พี ูดสัน้ ผู้ให้การปรึกษาอาจใช้การทวนซา้ เช่น ตอนท่ีเพ่อื น
ชวนโดดเรียนเราต่ืนเต้นมากไม่คิดอะไร อยากออกข้างนอกเบ่ือมาก ๆ เรียนกไ็ ม่ทันเพ่ือน มีอะไรจะ
บอกพวกเราอกี ไหม
9. ขณะท่ีผู้รับการปรึกษาเล่าถึงปัญหา ผู้ให้การปรึกษาต้องใช้ทักษะต่าง ๆอย่าง
เหมาะสม เช่นการฟัง การใส่ใจ การสังเกต การสะท้อนความรู้สึก การทวนความเป็นต้น ตัวอย่างเช่น
“ทกุ วันน้ยี ังเสยี ใจอยู่ทห่ี นีเรยี นคร้งั น้นั ” “บางคร้งั สับสนตวั เอง เหมือนผกู ตวั เองไว้กบั เพ่อื นเพราะเพ่อื น
คนน้เี ขาชมว่าเราเจ๋งจริง” “คดิ ว่าเขาเข้าใจเรา” เป็นต้น
10. ผ้ใู ห้การปรึกษาสามารถให้กาลังใจโดยใช้คาพดู ดงั ตวั อยา่ ง “มฟี ้ ามืดกม็ ีฟ้ าสว่าง”
“คนท่ีลาบากกวา่ เรายังมีอกี เยอะ เคยเหน็ คนพกิ ารไหมท่เี ขาพยายามฝึกฝนเป็นนกั กฬี า” “เรายังโชคดี
นะท่ีมสี ถานรองรับท่ีน่ีคอยดูแลให้ที่พักให้ทุนเรียนหนังสือ ให้เราฝึกอาชีพ เวลาออกจากทีน่ ่ีเราจะได้มี
อาชีพ เล้ียงตัวเองได้” “ปัญหามไี ว้ให้แก้ ไมม่ ไี ว้ให้กล้มุ เราต้องฝึกคดิ บวกเสมอ ๆ นะ”

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
26

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบความรูท้ ี่ 2

ก่อนเร่ิมกิจกรรมกลุ่มอาจมีเพลง เกมส์ ทาความคุ้นเคย/ ละลายพฤติกรรมก่อน เช่น
อาจจะให้เลือกสตั วท์ ่ชี อบเราจะได้เห็นภาพของแต่ละคน นสิ ัยใจคอเขาเป็นอย่างไร

คู่มอื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
27

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
28

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

แบบทดสอบทายใจ ทายนิสัยกับสัตว์ เราลองมาเล่นเกมทายนิสัยท่แี ท้จริงของตวั เราเล่น
กับแบบขาๆ ดีกว่า หรือว่าจะลองเอาไปเล่นกับเพ่ือนๆ กไ็ ด้ เป็นแบบทดสอบแบบจิตวทิ ยาท่มี ี
ความแม่นพอสมควรและเล่นได้แบบงา่ ยๆ เลยล่ะ

สิ่งทีต่ อ้ งเตรียม
- กระดาษและดินสอ

วธิ เี ล่น
ข้นั ตอนที่ 1 เลอื กสตั วท์ ่ชี อบ ตามโจทยเ์ หล่าน้ี
1. สตั ว์ท่คี ุณชอบสุดๆ
2. สตั วท์ ค่ี ณุ อยากจะเอามาเป็นสัตว์เล้ียง
3. สตั ว์ทช่ี อบรองลงมาไม่ว่าจะเป็นสัตวเ์ ล้ยี งหรือสตั วป์ ่ ากไ็ ด้
(1. แมว 2. หมี 3. ลงิ 4. สนุ ขั 5. หนู 6.กระต่าย 7. แรคคนู 8. ชา้ ง

9. สิงโต 10. หมาป่ า 11.ไก่ 12. หมู 13. ววั 14. มา้ ลาย 15. เสือ 16. กวาง 17.แกะ 18.
แพนดา้ 19. เพนกวิน 20. นกฮกู 21. ยีราฟ 22. เมน่ 23. วาฬ 24. เต่า 25. เป็ด 26. มา้ 27.
นก)

ข้นั ตอนที่ 2 จากน้นั กเ็ ขยี นผลลพั ธจ์ ากสตั วท์ ค่ี ณุ เลือก
1. แมว = รักความอิสระ เซก็ ซ่ี มีความคิดอิสระ ชอบเท่ยี วกลางคืน มี

ความเป็นผู้นา ชอบเรยี กร้องความสนใจ
2. หมี = ชอบคิดลึกคิดมาก ชอบปกป้ องคนอ่ืน เป็นนักฝัน ชอบดูแล

รักษา และชอบความเงียบ
3. ลิง = มีความม่ันใจสูง ร่าเริง มีความตลก แต่กม็ ีความเป็นการเป็น

งาน เกง่ หลายด้าน ทกั ษะเยอะ และยังมคี วามฉลาดแกมโกงนิดๆ
4. สนุ ขั = ซ่อื สตั ย์ ออ่ นน้อมถอ่ มตน อธั ยาศยั ดี ใจกล้า ชอบปกป้ องและ

รักษา
5. หนู = ชอบทางานหนัก มีความน่าเช่ือถือ เจียมเน้ือเจียมตัว ข้ีอาย

ชอบความเรยี บง่าย
6.กระต่าย = อ่อนน้อมถ่อมตน ฉลาดแกมโกง ชอบความรวดเร็ว ข้ี

หงดุ หงิด แตก่ ช็ อบความเงียบ
7. แรคคูน = กระฉับกระเฉง มีความรับผิดชอบ อัจฉริยะ แต่ข้ีระแวง

ชอบเท่ยี วกลางคนื
8. ช้าง = แน่วแน่ แน่นอน รักความสงบ เป็ นผู้รักษา ขยันหม่ันเพียร

ปากแขง็
9. สิงโต = แขง็ แกร่ง อดทน ชอบปกป้ อง มีความม่ันใจสูง ใจเยน็ รัก

ครอบครัว

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
29

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

10. หมาป่ า = กระฉบั กระเฉง รสนยิ มดี ชอบการจดั การ ฉลาดแกมโกง
11.ไก่ = มีความสามารถเยอะ มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบทาอะไรท่ี
พสิ ดาร ข้เี ล่น มีความเป็นศิลปิ น
12. หมู = ใจกว้าง ไว้ใจได้ ซ่ือสัตย์ มีความยุติธรรม มีความอดทน ไร้
เดียงสา และอธั ยาศัยดี
13. วัว = ชอบเข้าสังคม ชอบการผจญภัย คิดมาก ใจดี ใจเย็น ชอบ
ปกป้ อง แต่บางคร้งั กช็ อบความเงยี บ
14. ม้าลาย = ซ่ือสัตย์ มีความอัจฉริยะ ไอเดียกระฉูด ด้ือ ชอบความ
อิสระ ชอบพูดถึงแตต่ วั เอง
15. เสือ = มีพลัง มีความสง่า เผด็จการ กระตือรือร้น คาดเดาอารมณ์
ไมค่ ่อยได้ ชอบความสันโดษ
16. กวาง = สุภาพ อ่อนโยน ข้ีสงสาร กระฉับกระเฉง ชอบความเรียบ
งา่ ย รักครอบครวั
17.แกะ = ลังเล อัธยาศัยดี เช่ือฟังและทาตามคาส่ังดีมาก อนุรกั ษน์ ิยม
ชอบทางานหนกั ชอบความเงียบ
18. แพนด้า = ชอบความรักใคร่ปรองดอง แคร์คนอ่ืนมาก ข้ีเล่น ชอบ
พ่งึ พาตวั เองมากกว่าพ่งึ พาผู้อ่นื เป็นนกั ฝัน
19. เพนกวนิ = สุภาพ ใจกว้าง แต่มีความลกึ ลบั ทกั ษะเยอะ ชอบความ
เรียบง่าย 20. นกฮูก = มีลางสังหรณ์ ลึกลับ ชอบความอิสระ ชอบสังเกต เงียบสงบ ยึดม่ันใน
ศาสนา 18. ยีราฟ = มคี วามม่นั ใจสงู มีความเกไ๋ ก๋ มีเสน่ห์ หย่งิ 19. เมน่ = จกิ กดั เกง่ ฉลาดแกม
โกง ชอบฉวยโอกาส ชอบทากิจกรรม ชอบอย่ลู าพัง
20. วาฬ = ชอบความเงียบ อัธยาศัยดี น่าเช่ือถือ ซ่ือสัตย์ ชอบจัดการ
คดิ มาก เป็นเพ่อื นทด่ี ี
21. เต่า = ชอบปกป้ อง มีความอดทน ใจแคบ ปากแขง็ รักความสงบ ข้ี
เบ่อื
22. เป็ด = เจ๊ยี วจา๊ ว
23. ม้า = ดดู มี ีสกลุ ซ่อื สัตย์ มีสปิ ริต พลงั สูง แขง็ แรง อ่อนน้อมถ่อมตน
24. นก = ร่าเริง สวยมาจากภายใน คิดบวก มีสปิ ริต ชอบความเรียบ
งา่ ย
ข้นั ตอนที่ 3 แต่ละขอ้ บ่งบอกไดด้ งั น้ ี
1. สตั วช์ นิดแรกท่คี ุณเลือก ผลลพั ธ์คือ สิ่งทค่ี ุณเป็นจรงิ ๆ
2. สตั ว์ชนิดท่สี อง หมายความว่า คนอ่นื มองคุณเป็นอย่างไร
3. สตั ว์ชนิดทส่ี าม คือ สิง่ ท่คี ณุ เหน็ ว่าตัวเองเป็น

คู่มอื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
30

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
31

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ตวั อยา่ งกิจกรรมการใหก้ ารปรกึ ษา สาหรบั เด็กเยาวชนในสถานรองรบั เดก็

กจิ กรรมการให้การปรกึ ษา สาหรบั เดก็ เยาวชนในสถานรองรับเดก็ การให้การปรกึ ษาแบบ
กลุ่ม (Group Counselling) การเสริมสร้างพลังกลุ่ม (Group Support) การเสริมสร้างพลัง
ครอบครวั (Family Empowerment) กจิ กรรมการให้การปรกึ ษาแบบกล่มุ (Group Counselling)

ลกั ษณะของกจิ กรรม

1. กจิ กรรมสาหรับเดก็ บางกล่มุ ทม่ี คี วามต้องการการปรับตัว
2. กิจกรรมสาหรบั การส่งเสริมพัฒนาตนเอง
3. ระยะเวลาทากิจกรรมกลุ่ม ประมาณ 45 - 60 นาท/ี คร้ัง สัปดาห์ละคร้ัง หรือเม่ือมี
ความจาเป็ น

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื พฒั นาเดก็ ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจและมีทกั ษะในการเผชญิ ปญั หาและสามารถ
แก้ไขปญั หาชีวติ ได้

2. เพ่อื พฒั นาให้เดก็ และเยาวชนเข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ของตนเอง และผู้อ่นื

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติก่อนจัดกจิ กรรม
2. ผู้จดั กิจกรรมหรือพ่เี ล้ยี ง / ผ้ดู แู ล แนะนาตนเอง แนะนาผู้ช่วย พดู คยุ สอบถาม ละลาย
พฤตกิ รรม เพ่อื แสดงความเป็นกันเองกอ่ นเร่มิ ทากจิ กรรม
3. ผู้จัดกิจกรรมตกลงกับสมาชิกกลุ่ม เร่ือง เวลาท่ใี ช้ทากิจกรรม และกาหนดกติกากล่มุ
ร่วมกัน เช่น การเป็นผู้ฟังท่ดี ี หากมีข้อสงสัย หรือข้อซักถาม ให้ยกมือก่อนพูดทุกคร้ัง ในการทา
กิจกรรมกลุ่ม ขอให้รักษาความลับของสมาชิกกลุ่มทุกคน ไม่นาไปเปิ ดเผยกับบุคคลภายนอกท่ี
ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม และไมน่ าไปล้อเลียนภายหลงั หากมีคาพูดใดทก่ี ดดันจติ ใจ ให้เข้าใจว่าเป็น
กระบวนการท่ที าความเข้าใจกนั เป็นต้น
4. ให้สมาชกิ กลุ่ม แนะนาตวั เอง และข้อมูลส่วนตัวเทา่ ท่ตี ้องการบอก และตกลงว่าคร้ังน้ี
จะเลือกเร่อื งใดทเ่ี ป็นเร่อื งทก่ี ล่มุ ให้ความสนใจ เช่นเร่อื ง ชนิดของกฬี าทอ่ี ยากเล่น การทาการบ้าน
และการดูทวี ี เป็นต้น
5. ผู้จัดกจิ กรรมให้สมาชกิ ผลัดกนั พูดถึงเร่อื งท่สี มาชกิ กงั วลหรือไมเ่ หน็ ด้วย ความร้สู ึกท่ี
มีต่อเร่ืองน้ัน วิธีการหาทางออก รวมท้งั ผลท่เี กิดข้ึน โดยผู้จัดกิจกรรมและสมาชิกกลุ่มฟังอย่าง
ต้งั ใจ เม่อื เล่าจบกเ็ ปิ ดโอกาสให้สมาชิกกลุ่มได้พดู ความคดิ ความร้สู กึ และวิธกี ารของตนเอง โดย
ทุกคนต้ังใจฟังเช่นเดียวกัน อนุญาติให้ออกความเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ โดยไม่ให้พูดซา้ กัน จน
ครบทกุ คนทต่ี ้องการ

คู่มือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
32

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

6. ผู้จัดกิจกรรมสรุปประเดน็ โดยสรุปว่าวิธีการใดบ้างท่เี กิดผลดีและวธิ ีการท่เี กิดผลเสยี
ท้งั ตอ่ ตนเองและสว่ นรวม

7. ให้กล่มุ แสดงความคดิ เห็นว่า วธิ ใี ดบ้างทเ่ี กิดผลดีเป็นส่วนใหญ่ และกล่มุ ยอมรบั ได้
8. ทกุ คนให้กาลงั ใจซ่งึ กันและกนั
9. ให้เดก็ บันทกึ ประเดน็ ทน่ี ่าสนใจในสมดุ บันทกึ กิจกรรม
10. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตหิ ลังจัดกจิ กรรม
11. ผู้จัดกจิ กรรมบนั ทกึ ผลการจัดกิจกรรมเพ่อื ใช้ประโยชนต์ อ่ ไป

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
33

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

ใบกจิ กรรม / สอื่ ประกอบกจิ กรรมเสริมสรา้ งพลงั กลุ่ม

1. เกณฑก์ ารคัดเลอื กกล่มุ ควรคานึงถงึ องคป์ ระกอบดงั ตอ่ ไปน้ี
- อายุ (12 - 15 ปี ) /(16 - 18 ปี )
- เพศ บางประเด็นควรแยกเพศ หรืออาจแยกเพศก่อนในคร่ึงแรกแล้วมา
รวมกันอกี ในคร่งึ หลังกไ็ ด้
- ช้นั เรียน ประถมศกึ ษา/ มัธยมศึกษา

2. กล่มุ ท่ตี ้องการปรับตวั , กล่มุ ทต่ี ้องการพัฒนาการส่อื สาร การร้จู ักตนเอง ฯลฯ
แผนผงั กลุ่มสนทนาประมาณ 9 คน

3. ทกั ษะทจ่ี าเป็นผู้จดั กิจกรรมควรมี
- ทกั ษะการฟังอย่างต้งั ใจ
- การถาม การทวนความในสง่ิ ท่เี ดก็ พูด
- จับอารมณ์ ความร้สู กึ ของผ้พู ูด (เข้าใจอารมณค์ วามร้สู กึ )
- การทาความกระจ่างชดั ในเน้อื หาน้นั
- การเช่อื มโยงประเดน็
- การสรุป ฯลฯ

4. ภาพการ์ตูนแสดงอารมณ์ต่าง ๆ (ดใี จ โกรธ เสยี ใจ สบั สน ตน่ื เต้น ฯลฯ)

คูม่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
34

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

กิจกรรมที่ 5 เสริมสรา้ งพลงั ครอบครวั (Family Empowerment)

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือสร้างความเข้าใจและแก้ปัญหาเล็ก ๆ ภายในครอบครัวเพ่ือเสริมพลังของ
ครอบครัวก่อนจะส่งเดก็ กลบั สคู่ รอบครัวเดิม

กระบวนการ

1. นัดหมายผู้ปกครอง (พ่อ – แม่ - ญาติ) ท่มี าเย่ียมเดก็ บ่อย ๆ มาทากิจกรรมกลุ่ม
เสรมิ สร้างพลังครอบครวั (Empower Family)

2. จัดกลุ่มเฉพาะผู้ปกครอง (พ่อ – แม่ - ญาติ) พูดคุยในประเดน็ ก่อนการทากิจกรรม
เสริมสร้างพลงั ครอบครัว

3. ผู้จัดกิจกรรมช้ีแจงวัตถุประสงค์และชวนคุยสาระทุกข์สุกดิบ เร่ืองท่วั ๆไปเพ่ือสร้าง
ความคุ้นเคย ละลายพฤตกิ รรมของ (พ่อ – แม-่ ญาต)ิ

4. ร่วมพูดคยุ ประเดน็ ทเ่ี ป็นเร่อื งทน่ี ่ารกั และเร่อื งท่ไี ม่น่ารกั ของเดก็
4.1 ถามครอบครัวว่า เร่ืองท่นี ่ารักในตวั ลูกในมุมมองท่านเป็นอย่างไรแล้วเขียน

ลงในกระดาษชารท์
4.2 ถามครอบครัวว่า เร่อื งท่ไี มน่ ่ารกั ในตัวลกู ในมมุ มองท่านเป็นอย่างไร
4.3 สรปุ ประเดน็ ในการชวนคยุ เร่อื งท่นี ่ารกั และเร่อื งท่ไี มน่ ่ารักของเด็ก

5. ผู้จัดกิจกรรมชวนคยุ และสรปุ ประเดน็ จากการพูดคยุ บันทกึ ในกระดาษชารท์
5.1 ท่านรู้สึกอย่างไรเก่ียวกับเร่ืองดี ๆ ท่ีน่ารักและเร่ืองท่ีไม่น่ารักยังต้องการ
ปรับปรงุ
5.2 ท่านเป็นห่วงอะไรเก่ยี วกบั เร่อื งน้บี ้าง
5.3 คดิ ว่าอนาคตของเขา จะเป็นอย่างไร
- ส่งผ้แู ทน นาเสนอในกล่มุ

6. ผู้จดั กิจกรรมกล่มุ ชวนคุยและสรปุ ในประเดน็
- เร่อื งดี ๆ ทน่ี ่ารักในตวั เดก็ – เป็นเช่นทเี หน็ เหมือนๆ กันทุกวนั ไหม
- เร่อื งท่ไี ม่น่ารักต้องการปรบั ปรุงแก้ไข – เป็นเช่นทเี ห็นเหมือนๆ กนั ทุกวนั ไหม
- ทา่ นเป็นแบบใดแบบหน่งึ ..............ตลอดไปหรอื ไม่
- เราทุกคนต่างมีวันน่ารัก วันไม่น่ารกั วนั ถกู วันผดิ วันมดื วันสว่าง ใช่ไหม
- สะท้อนให้ผู้ปกครองเหน็ เหรยี ญ 2 ด้าน ไมค่ วรมองแคด่ ้านเดียว

7. ผู้จดั กิจกรรมเชญิ ผู้ปกครองและเดก็ เข้ากล่มุ พร้อมกัน
8. ผู้จดั กจิ กรรม บอกเล่ากจิ กรรม ให้เดก็ และผู้ปกครองรบั ทราบ บอกกติกาว่าจะต้องฟัง
เม่อื คนอ่นื พูด ถ้าจะถามให้ยกมอื ข้ึน และจะใช้เวลาพูดคยุ กนั 1.30 ชม.

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
35

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

- ให้เดก็ เลือกบัตรคาท่ชี อบใส่ช่องอบอุ่น ปลอดภัยแล้วถามเดก็ ว่าเพราะอะไร
เกดิ อะไรข้นึ

- เลอื กบตั รคาใบทไ่ี ม่ชอบใสช่ ่องไม่อบอุน่ ไมป่ ลอดภยั
- ถามครอบครัว...คุณแมค่ ิดและร้สู ึกอย่างไรกับบัตรคาใบน้นั แล้วคณุ พ่อ ..คุณ

ป้ า..พ่สี าวคดิ
อย่างไร
- เม่ือทาครบแล้ว ผู้ดาเนินรายการ สรุปโดยถามเดก็ ว่า ตอนน้ีรู้สึกอย่างไรบ้าง

อยากจะพูด หรือบอกอะไรกบั ใครบ้างพ่อ...แม่...ป้ า...พ่ี ( ขอบคณุ ทเ่ี ข้าใจ..
ผมขอโทษท่เี คยทาให้แม่เสยี ใจ)
- ผู้จดั กิจกรรม ถามพ่อ...แม่...ญาติ.... อยากจะบอกอะไรกับลูกบ้าง หรือจะเข้า
ไปโอบกอดให้กาลงั ใจ

ปัจจยั ทท่ี าใหเ้ ด็กรูส้ กึ อบอ่นุ ปลอดภยั ปัจจัยทีท่ าใหเ้ ดก็ รูส้ กึ ไมอ่ บอ่นุ ไมป่ ลอดภยั

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
36

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

บตั รคา

1. อบอ่นุ แต่โคตรอดึ อดั 15. ใหก้ าลงั ใจ
2. ตเี สน้ ตีกรอบ 16. ใหก้ ารสนบั สนุน
3. ทะเลาะ 17. รงั เกียจ
4. ไม่รบั ฟังความคิดเห็นของเด็ก 18. ไม่มีพ้ นื ท่ีสว่ นตวั
5. ตาหนิ 19. วุ่นวาย
6. ถูกบงั คบั 20. ถูกรงั แก
7. ถูกจับตา จบั ผิด 21. ไดร้ บั คาชม
8. คิดแทนเดก็ 22. ไม่มตี วั ตน ไม่มคี วามหมาย
9. ลาเอียง 23. ใหค้ วามรกั
10. ซ้าเตมิ 24. ยาเสพติด
11. จะดีกว่าน้ .ี ..ถา้ ไมบ่ น่ มากเกนิ ไป(ข้ บี ่น) 25. มคี วามสขุ
12. ตะหวาด / ตะคอก 26. ใจดี
13. รูส้ กึ อบอ่นุ /ปลอดภยั 27. เจา้ ระเบยี บ
14. ยอมรบั / มคี ุณคา่ 28. เหนบ็ แนม ประชดประชนั
29. ปลอ่ ยปละละเลย ไมใ่ ส่ใจต่อลูก
30. เอาใจใส่
31. มีความมนั่ คงในอารมณ์
32. ไมร่ งั เกยี จ
33. ใหอ้ ภยั

15. สบายใจ มอี ิสรภาพ

16. ลกั ขโมย

17. รา้ นเกมส์

13. ชอบ / ประทบั ใจ....ตรงท่คี รอบครวั ทา...
ให้ (ผม/หนู)

14. ไม่ไดร้ บั คาชม

คูม่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผ้ใู ห้การปรกึ ษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
37

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั

1. เดก็ มีความภูมิใจ อบอนุ่ ใจทผ่ี ้ดู แู ลยอมรับ ทาให้เขามที ่ยี นื มที ่ที ากิจกรรมภายใน
ครอบครัว

2. ครอบครวั เข้าใจ มองเหน็ ด้านสว่างของเดก็ ทาให้ยอมรับเดก็ มากข้นึ
3. เพ่มิ ต้นทนุ เพ่มิ พลงั ให้ครอบครัว ได้มกี ารปรับตวั มากข้นึ
4. เดก็ ร้ตู ัวตน มีแรงจูงใจในอนาคต มีความหวัง มกี าลังใจ

การประเมนิ ผล

1. แบบติดตามการเย่ยี มบ้าน
2. แบบวัดคุณค่าในตัวเอง / แบบสอบถาม
3. สังเกตพฤติกรรม การแสดงออก

คู่มอื การใชส้ ติในองคก์ รใหเ้ ป็ นวถิ ี

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสติในองค์กร
39

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

การใชส้ ติในองคก์ รใหเ้ ป็ นวิถี

โครงการเตรียมความพร้อมเด็กและเยาวชนออกสู่สังคมอย่างเป็ นสุขได้ขับเคล่ือน
โครงการโดยใช้การสติในองค์กรเป็นวถิ ี (Mindfulness in Organization: MIO) ทเ่ี น้นการพัฒนา
จิตให้เป็นวิถีองค์กร หรือเรียกให้สั้นลงว่า “การพัฒนาสติในองคก์ ร” ให้ความสาคัญกับเร่อื งสติ
ในฐานะท่เี ป็นสภาวะจิตท่มี ีคุณภาพในการทางานไปสู่ปัญญาภายใน และคุณภาพจิตท่มี ีคุณค่า
ท้งั หลาย เช่น ความรกั ความเมตตา ความเสียสละ ความอดทน การให้อภัย ฯลฯ โดยนาสติมาใช้
เป็นวถิ ีองค์กร ทง้ั การทางานอย่างมสี ตขิ องแตล่ ะคน การทางานร่วมกนั เป็นทมี ด้วยสตสิ ่อื สาร และ
การพัฒนาภารกิจขององค์กรด้วยสติสนทนา หัวใจสาคัญจึงเป็นเร่ืองของการสร้างวิถีในองคก์ ร
เน้นให้เข้าไปอย่ใู นวถิ กี ารทางาน และระบบขององค์กร โดยไม่ต้ององิ กับศาสนาใดเป็นการเฉพาะ

ความหมายของสติ (Mindfulness) และสมาธิ (Mindfulness)
การพัฒนาสติให้เป็นวิถีขององคก์ รจะต้องทาความเข้าใจกับคาว่าสติ และสมาธิ

ซ่ึงในตามความหมายทางพุทธศาสนา แปลว่า ความระลึกได้ นึกได้ ไม่เผลอ การคุมใจไว้กับจิต
หรือคุมจิตไว้กับสิ่งท่เี กี่ยวข้องหรือการปฏิบตั ิน่นั เอง หรืออธิบายเพ่มิ เติมได้ว่า ความรู้ตัวในสิงท่ี
คิด พูด และทาในขณะปัจจุบัน ไม่หลงลืม เลินเล่อ ไม่ประมาท สามารถยับย้ังช่ังใจตัวเองได้
ป้ องกันม่ให้คิด พูด และทาอย่าหุนหันพลันแล่น หรือทาตามความเคยชิน หรือนิสัยเดิม ๆ อีก
ตอ่ ไป

สติ (Mindfulness)
หมายถึง การคงไว้ซ่งึ การร้ตู วั ทกุ ช่วั ขณะในความคิดอารมณค์ วามร้สู กึ ความร้สู ึก

ทางกายและสง่ิ แวดล้อมท่อี ยู่รอบตวั เรา สติยงั รวมถงึ การยอมรบั ซ่งึ หมายถึงการท่บี ุคคลต้งั ใจอยู่
กบั ความคิด และความร้สู ึกทง้ั หลาย โดยไมไ่ ปตัดสินผิดถกู ในช่วั ขณะน้นั เม่อื ฝึกสติแล้วความคิด
ของคนเราจะถูกปรับให้อยู่กับส่ิงท่เี กิดข้นึ ณ ปัจจุบัน ไม่ต้องหมกมุ่นกับอดีตหรือวิตกกังวลกบั
อนาคต

สมาธิ (Tranquil Meditation)
หมายถึง ความต้ังม่ันแห่งจิตเพ่ือให้จิตพัก โดยว่างจากความคดิ ท้งั ปวง เพราะ

โดยท่วั ไปจติ จะมีความคิดอย่เู สมอ เม่ือสะสมความคดิ ท่ไี ม่ถกู ใจจะกลายเป็นความว้าวุ่น อารมณ์
และความเครยี ดในท่สี ุด การฝึกสมาธิ เป็นการฝึกความต้งั ใจให้จดจ่อกับเสียง วัตถุ ภายในใจ ลม
หายใจ การเคล่ือนไหว หรืออยู่กับความต้ังใจของตนเอง เพ่ือท่จี ะเพ่ิมความรู้ตวั ต่อปัจจุบันขณะ
ช่วยลดความเครียด ส่งเสริมการผ่อนคลาย และก่อให้เกิดความเจริญเติมโตของบุคคลและจิต
วิญญาณ

คู่มอื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสุขด้วยสติในองค์กร
40

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

นายแพทยย์ งยทุ ธ วงศภ์ ิรมยศ์ านต์ิ ที่ปรึกษากรมสุขภาพจิต กล่าวถึง ความแตกต่าง
ของสติกับสมาธิว่า สตเิ ป็นจิตทม่ี คี ุณภาพระหว่างทางาน ส่วนสมาธเิ ป็นจติ ท่มี ีคุณภาพในขณะพัก
น่นั คือ จิตในขณะทม่ี ีสติจะทางาน โดยไมว่ อกแวกและควบคุมอารมณแ์ ละความคดิ ได้ ส่วนจติ ใน
ขณะท่มี สี มาธจิ ะหยดุ คดิ จนเกดิ ความสงบและผอ่ นคลายท้ังร่างกายและจิตใจ แต่ท้งั สตแิ ละสมาธิ
ตา่ งกม็ คี วามสัมพนั ธแ์ ละเก้อื กลู กนั น่นั คอื เม่อื จติ ออกจากสมาธแิ ล้วย่อมมีสติได้ง่าย และการฝึก
สมาธเิ ป็นประจาจะทาให้การฝึกสติได้โดยไม่ลาบาก

การพฒั นาสตใิ นองคก์ ร
ในการพฒั นาสติให้เป็นวิถีในองค์กร โครงการเตรยี มความพร้อมเดก็ และเยาวชน

ออกสู่สังคมอย่างเป็นสุข ได้ดาเนินการโดยจัดให้มีการพัฒนาบุคลากรในสถานสงเคราะห์นาร่อง
จานวน 5 แห่ง จัดให้มีการอบรม หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือสร้างความตระหนักรู้ ความรู้
ความเข้าใจ และสามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ จานวน 3 คร้งั คอื คร้งั ท่ี 1 ประชุมช้แี จงผ้ปู กครอง และ
ทมี นาของสถานสงเคราะห์ เวลา 1วนั คร้งั ท่ี 2 ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารสาหรบั ทมี คณุ ภาพของสถาน
สงเคราะห์ จานวน 5 – 6 คน เวลา 3 วัน (Training of the Trainer: TOT) คร้ังท่ี 3 ประชุมเชงิ
ขยายผลไปยังบุคลากรทุกคนในสถานสงเคราะห์ทุกแห่งในโครงการฯ (ประชุมเชิงปฏิบัติการ
100%) เวลา 2 วัน โดยจัดท่สี ถานสงเคราะห์นาร่อง วตั ถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรมเพ่อื ให้สมาชิก
ในองค์กรทุกคนตระหนกั ถึงคณุ คา่ ในตนเอง ใช้สมาธิและสติในการพัฒนาคุณคา่ ในตนเอง ฝึกการ
ฝึกสติและสมาธิได้ วางแผนนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ สตสิ ่อื สาร การพดู การฟังอย่างมีสติ การมี
ทกั ษะ “ภาษาฉัน” และอวัจนภาษาในการส่ือสารกับผู้อ่ืน สติในการคิดบวก สติกับการพัฒนา
องค์กรด้วยกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยใช้การประชุม 2 แบบ
ได้แก่ การประชมุ แบบกัลยาณมิตรสนทนา และการประชมุ อภปิ รายอย่างสร้างสรรค์

สร้างการฝึกอบอรม ประกอบด้วย 3 หน่วยการเรยี นรู้ ดังน้ี
หน่วยท่ี 1 สตกิ บั การพัฒนาคน
เร่อื งท่ี 1.1 คณุ คา่ ในตน
เร่อื งท่ี 1.2 สมาธิ : จิตพกั เพ่อื คลายอารมณ์ และความเครียด
เร่อื งท่ี 1.3 สติ : สร้างความสงบในการทางาน
หน่วยท่ี 2 สตใิ นการทางานร่วมกนั
เร่อื งท่ี 2.1 สติส่อื สาร : พูดและฟังอย่างมีสติ
เร่อื งท่ี 2.2 การส่อื สาร : ส่อื สารระหว่าวงบุคคลอย่างมสี ติ
เร่อื งท่ี 2.3 สติในการคดิ : คิดบวก
หน่วยท่ี 3 สติกบั การพฒั นาองค์กรด้วยกระบวนการ PLC (Professional
Learning Community)
เร่ืองท่ี 3.1 การประชุม PLC ด้วยการประชุมแบบกัลยาณมิตร

สนทนา

คมู่ ือโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรกึ ษา/ คู่มอื โปรแกรมสร้างสุขด้วยสตใิ นองค์กร
41

(ระบบการดูแลสุขภาพกายใจ)

เร่อื งท่ี 3.2 การประชมุ PLC ด้วยการอภิปรายอย่างสร้างสรรค์
การฝึกอบรมหรือการประชุมปฏิบัติการน้ี มิได้เน้นแต่การจัดฝึกอบรม แต่เป็น
การประสานการฝึกอบรมเข้ากับการจัดระบบขององคก์ รเพ่อื ให้บรรลเุ ป้ าหมายในการพฒั นาการม
ใช้สติในองค์การให้เป็นวิถีในองค์กร โดยจะต้องมีการพัฒนาจิตในองค์กรอย่างต่อเน่ือง มีการ
ดาเนินการพฒั นาปรบั ปรุงระบบให้ควบคูแ่ ละสอดคล้องกบั การพฒั นาคน

การขบั เคล่อื นพนั ธกจิ องคก์ รโดยใชส้ ตเิ ป็ นวถิ ี
การพัฒนาสติในองค์กร เพ่ือให้บรรลุเป้ าหมายจะต้องดาเนินการพัฒนาและ

ปรับปรุงระบบคุณภาพควบคู่กันไปให้สอดคล้องกับการพัฒนาคน การเปล่ียนแปลงเชิงระบบท่ี
สาคัญ ๆ ทจ่ี ะต้องเกดิ ข้นึ คือ

- ทาสมาธิก่อน และหลงั เลกิ งาน (รวมทง้ั การทาสมาชิกในชีวติ ประจาวัน)
- การส่างเสรมิ การทางานอย่างมีสติ โดยใช้ระฆงั สติหรอื ส่อื อ่นื ระหว่างการทางาน
- การจัดให้มกี ติกาการอย่รู ่วมกัน กตกิ าการประชมุ ให้มกี ารทาสมาธกิ ่อนประชุม

และหลงั การประชุม และสรปุ การประชุมด้วยความคิดทางบวก
- ส่งเสรมิ ให้มกี ารสนทนาอย่างมสี ติ การใช้ภาษาฉนั การส่อื สารอย่างมสี ติ
- ใช้การประชุม 2 แบบ ท้ัง แบบกัลยาณมิตรสนทนา และแบบการอภิปราย

อย่างสร้างสรรค์เป็นเคร่อื งมอื ในการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง
- การปรับปรงุ และพัฒนาการบรกิ ารและการทางานให้สอดคล้องกบั ค่านิยม

ระบบคณุ ภาพสถานสงเคราะห์

คมู่ อื โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ให้การปรึกษา/ คู่มือโปรแกรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นองค์กร
42

(ระบบการดูแลสขุ ภาพกายใจ)

เพ่อื ให้การพัฒนาคุณภาพของสถานสงเคราะห์ ดาเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ สถาน
สงเคราะหเ์ ดก็ ทุกแห่งจะต้องพฒั นาระบบคุณภาพเพ่อื เป็นกลไกในการขับเคล่อื นการทางานโดยผู้
ปฏิบัติในแต่ละระบบ มีข้ันตอนการทางาน มีวิธีปฏิบัติเกณฑ์ และตัวช้ีวดั ความสาเร็จ และบันทกึ
คุณภาพเป็นแนวทางเดยี วกัน เพ่ือให้เกิดความเช่ือมโยง (บูรณาการ) การทางานระหว่างระบบ
หลักด้วยกันเอง และระหว่างระบบหลักกับระบบสนับสนุน ให้เกิดการสนับสนุนด้านปัจจัยจาก
ระบบสนับสนุนแก่ระบบหลักได้อย่างตรงประเดน็ ท้งั น้ี เพ่ือให้การพัฒนาระบบคุณภาพภายใน
สถานสงเคราะห์เด็ก มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(PMQA) ในลกั ษณะของห่วงโซ่คณุ ภาพ (Quality Chain) อน่งึ การขับเคล่อื นพนั ธกจิ ขององค์กร
เป็นไปอย่างก้าวกระโดด โดยโครงการได้ใช้เคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพเพ่ิมเติมอีกเครืองมอื
ได้แก่ การเทยี บระดับ (Benchmarking)

ปัจจัยความสาเร็จ
1. ผู้นาองค์กรต้องมีความชดั เจน ว่าพฒั นาองค์กรจะต้องพัฒนาจติ ของบุคลากร

ทกุ ระดับ โดยการพัฒนาจติ เป็นสว่ นหน่งึ ของการทางาน
2. จะต้องมีทมี งานทเ่ี ข้มแขง็ (Core Team) ในการดาเนนิ การและขับเคล่อื น ซ่งึ

จะทาหน้าท่เี ป็นท่ปี รึกษาติดตามการดาเนินงาน ประเมินผล ท้งั น้ี ควรจัดให้มีการประชุม PLC
เก่ียวกับการใช้สติเป็นวถิ ใี นองค์กร เพ่ือแลกเปล่ยี นเรียนรู้อย่างด้วยไตรมาสละคร้ัง (ช่วง 2 – 3
เดือน)

3. พฒั นาระบบคณุ ภาพให้มีความเข้มแขง็ และขับเคล่ือนพันธกิจตามระบบ โดย
ใช้สติท่เี น้นการพัฒนาจิตเป็นส่วนหน่งึ ของการทางาน โดยเฉพาะการจัดระบบให้มีการทาสมาธิ
ก่อนและหลงั การเลิกงาน ใช้ระฆงั สติเพ่อื เสริมการทางานอย่างมีสติ การประชุมท่เี น้นการสนทนา
อย่างกัลยาณมิตรและอภิปรายอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้การสนทนาอย่างมีสติเป็ นเคร่ืองมือ และ
ส่งเสริมให้บุคลากรจัดระบบงานให้สอดคล้องกบั วิสยั ทศั น์และค่านิยมขององค์กร

4. ประกาศให้เป็นวิถีขององค์กร และการส่ือสารให้บคุ ลากรทุกคนในองค์กรให้
ความสาคญั กบั การใช้สตใิ นการทางาน

5. ให้ความสาคัญกบั การให้บุคลากรในสถานสงเคราะห์มุ่งปฏิบัติจนเกิดเป็นวิถี
ด้วยตนเองกอ่ น จากน้นั ขยายไปยังผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย (Stakeholders) หรือผู้มสี ่วนเก่ียวข้อง

ภาคผนวก

รายชือ่ สถานรองรบั ผมู้ ีส่วนร่วม และวทิ ยากรพเี่ ล้ ยี งประจาโครงการฯ ในการร่าง
คู่มือการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต)

รายชอ่ื สถานรองรบั

1. สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านปากเกรด็
2. สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านราชสมี า
3. สถานสงเคราะห์เดก็ หญงิ บ้านอดุ รธานี
4. สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านเชียงใหม่
5. สถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านปัตตานี

รายชอ่ื ผมู้ สี ่วนรว่ ม ผู้ปกครองสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านปากเกรด็
สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านปากเกรด็
1. นายวทิ ยา บตุ รเพชรรัตน์ ผู้ปกครองสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านราชสีมา
2. นางสาวกาญจนา เอมดษิ ฐ์ สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านราชสมี า
3. นายทรงศกั ด์ิ จินะกาศ ผู้ปกครองสถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านอุดรธานี
4. นางสาวสภุ าพร ลอื ชา หัวหน้ าฝ่ ายการศึกษาและวิชาชีพสถาน สงเคราะห์
5. นางอรนุช เลศิ ไกล เดก็ หญงิ บ้านอุดรธานี
6. พสิ มัย ลพี ฤติ ผู้ปกครองสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านเชียงใหม่
สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านเชยี งใหม่
7. นางอนงค์ เจริญวยั สถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านปัตตานี
8. นายณฐั ธติ ์ิ เตชะบญุ
9. นางสาวซอเฟี ย จรัลศาสตร์

รายชอื่ วิทยากรพเี่ ล้ ยี งประจาโครงการฯ ทป่ี รึกษากนมสขุ ภาพจิต
วิทยากรที่เล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้าน
1. นายแพทยย์ งยุทธ วงศภ์ ริ มศาสนต์ิ ปัตตานี
2. อาจารยว์ ิชาน กาญจนไพโรจน์ วิทยากรที่เล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน
เชียงใหม่
3. อาจารย์โสภณ จุโลทก วิทยากรที่เล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน
ปากเกรด็
4. อาจารย์อมร ชุมศรี วิทยากรท่ีเล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน
ราชสมี า
5. อาจารย์จุฑามาส ช่มุ เมอื งปัก วิทยากรท่ีเล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้าน
อดุ รธานี
6. อาจารย์ชัยรัตน์ สขุ พนั ธ์ ผู้จัดการโครงการเตรียมความพร้อมเดก็ และเยาวชน
ออกสู่สงั คมอย่างเป็นสุข
7. อาจารยล์ ดั ดา จิตรวัฒนแพทย์


Click to View FlipBook Version