The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดกิจกรรมเพศวิถีศึกษา (ระบบการเรียนรรู้ชีวิต)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iandd.dcy, 2022-01-23 00:16:05

คู่มือการจัดกิจกรรมเพศวิถีศึกษา (ระบบการเรียนรรู้ชีวิต)

คู่มือการจัดกิจกรรมเพศวิถีศึกษา (ระบบการเรียนรรู้ชีวิต)

คู่มือการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 147

สาธิตข้นั ตอนการตดั สินใจ กรณีศึกษาเรื่อง “พบี่ อมกบั นอ้ งก๊ฟี ฉากที่ 1”

1. กาหนดทางเลอื ก ทางเลือกของก๊ฟี คือ ไป หรือ ไม่ไป เท่ยี วนา้ ตกกบั พ่ีบอม

2. วิเคราะห์ ผลดี-ผลเสียของแต่ละทางเลือก

ทางเลือก ผลดี ผลเสีย

ถา้ ไป ได้เท่ยี ว สนุก ได้อยู่ใกล้ ๆ พ่บี อม -พ่อแม่คงไม่ชอบให้ไปไหนลาพังกบั

ได้เอาใจพ่ีบอมบ้าง ผ้ชู าย

-อาจเกดิ เพศสมั พนั ธท์ ่ไี ม่พร้อมได้ แม้

จะเช่อื ว่าพ่บี อมเป็นสภุ าพบุรุษพอ

-ทางค่อนข้างลาบาก ถ้าเกดิ อบุ ัติเหตุ

อาจไม่มีใครช่วย เพราะไม่ค่อยมีคนผ่าน

แม้จะโทรหาคนไปช่วยได้ แต่กต็ ้องใช้

เวลา

ถา้ ไมไ่ ป -ไม่ทาให้พ่อแม่ผิดหวัง เสียใจ ท่ไี ม่ ไม่ได้เท่ยี วสนุก ไม่ได้อยู่ใกล้ชดิ กบั พ่ี

เช่อื ฟัง -ไม่เส่ยี งต่อการมี บอม และพ่ีบอมอาจน้อยใจ โกรธ ซ่ึงคง

เพศสมั พันธ์ท่ไี ม่พร้อม ไม่เป็นไร ถ้าก๊ฟี

-ปลอดภัย จากอบุ ัติเหตุ ง้อ และเอาใจพ่ีบอมดี ๆ กค็ งหายโกรธ

ถ้าพ่บี อมชอบก๊ฟี จริง ๆ

3. ตดั สินใจเลือกทางเลอื กทีม่ ผี ลดีมากกว่า และผลเสียนอ้ ยกว่า ซ่ึงผลเสียเป็นเร่ืองท่ยี อมรับ
และแก้ไขได้

ก๊ฟี ตัดสนิ ใจท่จี ะไม่ไป
4. หาทางแกไ้ ขผลเสียทีเ่ กิดข้ ึนจากการตดั สินใจน้นั ๆ

ก๊ฟี จะแก้ผลเสียท่อี าจเกดิ ข้นึ โดย การขอโทษพ่ีบอมท่วี นั น้ีก๊ฟี ไม่สะดวกจะไปด้วย และ
ชวนพ่บี อมเข้าไปน่ังเล่นในบ้าน คุยกบั คณุ พ่อคุณแม่ กนิ ขนมท่คี ุณแม่ทา ซ่งึ อร่อยมาก แทน

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 148

ตวั อยา่ ง การตดั สินใจในกรณีศึกษาเรือ่ ง “พีบ่ อมกบั นอ้ งก๊ีฟ ฉากที่ 2”

บอมสอบติดท้งั ท่มี หาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ และท่วี ิทยาลัยในจังหวัดท่ตี นเองอยู่ น่ังคิด

อยู่นานว่าจะตัดสนิ ใจเลือกท่ไี หนดี พ่อกบั แม่ขอให้ไปเรียนในกรุงเทพฯ เพราะอนาคตดีกว่า และ

จะได้มีงานดี ๆ ในวันข้างหน้า อกี อย่างพ่ีชายของบอมกเ็ รียนอยู่ท่มี หาวิทยาลัยเดียวกันน้ี ไปอยู่

ด้วยกนั จะได้ไม่ต้องเสยี ค่าท่พี ักเพ่มิ บอมเองกย็ อมรับเหตุผลท่พี ่อแม่บอกและปฏเิ สธไม่ได้

ว่ามนั ดีต่อตวั เอง

ท่ีบอมลังเลยังไม่ตัดสินใจ กม็ ีอยู่เร่ืองเดียวคือต้องอยู่ห่างน้องก๊ีฟ บอมจะทนคิดถึง

น้องก๊ฟี ไหวไหม น้องก๊ฟี จะเปล่ยี นใจไปชอบคนอ่นื หรือเปล่า ถ้าบอมไม่คอยอยู่ใกล้ ๆ

บอมคิดแล้วคิดอกี ว่าจะตัดสินใจอย่างไรดี ใกล้ถึงเวลาไปรายงานตัวกบั มหาวิทยาลัยแล้ว

ด้วย

1. กาหนดทางเลือก ทางเลือกของบอม คือ ไป หรือ ไม่ไป เรียนต่อท่มี หาวิทยาลัยใน

กรุงเทพฯ

2. วิเคราะห์ ผลดี-ผลเสยี ของแต่ละทางเลือก

ทางเลือก ผลดี ผลเสีย

ถา้ ไปกรุงเทพฯ -เช่อื ฟังพ่อแม่ ต้องอยู่ห่างน้องก๊ีฟ บอมจะทนคิดถึง

-อนาคตมีความก้าวหน้ามากกว่า น้ องก๊ีฟไหวไหม และน้ องก๊ีฟจะ

โอกาสในการพัฒนาตนเองให้ มี เปล่ียนใจไปชอบคนอ่ืนหรือเปล่า ถ้า

การงานอาชีพท่ีดี ๆ มากกว่า ใน บอมไม่คอยอยู่ใกล้ ๆ

อนาคตจะได้ สร้ างครอบครั วท่ีดี

และม่นั คงกบั น้องก๊ฟี ได้

-ประหยัดค่าท่ีพัก ไม่ต้องไปเช่า

หอพักในเมือง

ถ้ า ไ ม่ ไ ป -ได้อยู่ใกล้น้องก๊ีฟ แม้จะไม่เจอ -ทาให้พ่อแม่ผิดหวัง เสยี ใจ ท่ไี ม่เช่ือ

กรุงเทพฯ กันบ่อยเหมือนเดิม แต่ระยะทาง ฟัง

ใกล้ ๆ จะมาหาเม่อื ไรกไ็ ด้ -โอกาสก้ าวหน้ าและพัฒนาตนเอง

น้อยลง

- อ น า ค ต อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง

ครอบครัวท่ดี ีและม่นั คงได้

-น้ องก๊ีฟอาจเปล่ียนใจก็ได้ ถ้ ามี

ตวั เลือกท่ดี กี ว่า

-ต้องเช่าหอพกั เสยี เงนิ มากข้นึ

คู่มอื การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 149

3. ตดั สนิ ใจเลอื กทางเลือกที่มีผลดีมากกว่า และผลเสยี นอ้ ยกว่า
ซ่งึ ผลเสยี เป็นเร่ืองท่ยี อมรับ และแก้ไขได้บอมตดั สนิ ใจท่จี ะ ไปเรียนต่อท่กี รงุ เทพฯ

4. หาทางแกไ้ ขผลเสียที่เกดิ ข้ ึนจากการตดั สินใจน้นั ๆ
บอมจะแก้ผลเสยี ท่อี าจเกิดข้ึนโดย การอธบิ ายทาความเข้าใจกบั น้องก๊ฟี ถึงเหตุผลท่ตี ้อง

ตดั สนิ ใจแบบน้ีเพ่ืออนาคตในการสร้างครอบครัวท่ดี ีด้วยกนั บอมขออนุญาตท่คี ุยกบั น้องก๊ฟี ทาง
ไลน์ทุกวันเพ่ือบรรเทาความคดิ ถงึ

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 150

กจิ กรรมที่ 6 เรื่อง การแกไ้ ขปัญหา

วตั ถุประสงค์

1.เพ่อื ให้เดก็ มคี วามสามารถในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ในชวี ติ ประจาวนั ได้อย่าง
รอบคอบ

เน้ อื หา

การแก้ไขปัญหา ใช้ในสถานการณ์ท่ียังไม่มีทางออก ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน คือ
1) กาหนดปัญหา 2) กาหนดทางเลือก 3) วิเคราะห์ ผลดี-ผลเสียของแต่ละทางเลือก
4) เปรียบเทียบและเลือกเอาทางเลือกท่ีมีข้อดีมากท่ีสุด และข้อเสียน้อยท่ีสุด 5) หาทางแก้ไข
ข้อเสยี ของทางเลอื กท่จี ะใช้ และนาทางเลอื กไปปฏบิ ตั ิ

ในชวี ติ ประจาวันทกุ คนต้องเผชิญปัญหามากมาย บางเร่ืองมีผลกระทบน้อย บางเร่ืองอาจ
มีผลกระทบร้ายแรงเม่ือแก้ไขปัญหาผิดพลาด การแก้ไขปัญหาอย่างรอบคอบด้วยเหตุผล จึงมี
ความสาคญั มาก

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตกิ ่อนจดั กจิ กรรม
2. ผู้จัดกิจกรรมนาสนทนาด้วยคาถาม “ในการดาเนินชีวิตแต่ละวันพวกเราเคยพบกับ
ปัญหาอะไรบ้าง ขอให้ช่วยกนั ยกตัวอย่าง” เปิ ดโอกาสให้ตอบโดยไม่ต้องสรปุ
3. ถามต่อว่า “ท่ผี ่านมา เราเคยแก้ปัญหากนั อย่างไรบ้าง” เปิ ดโอกาส ให้ตอบอย่างท่วั ถึง
โดยไม่ต้องสรุป
4. ผู้จัดกจิ กรรมเกร่ินนาว่า “วันน้ีเราจะเรียนร้แู ละฝึกทกั ษะการแก้ไขปัญหา ซ่ึงเป็นทกั ษะ
ทางความคิดเช่นเดียวกับการตัดสินใจ และเปรียบเทียบวิธีแบบเดิมท่ีเคยใช้ กับวิธีใหม่ ว่า
อย่างไหนจะช่วยให้เราแก้ไขปัญหาได้ดีกว่ากนั ”
5. ผู้จัดกิจกรรมบรรยายเร่ือง “ข้ันตอนการแก้ไขปัญหา” พร้อมสาธิต ข้ันตอนการแก้ไข
ปัญหา จากตัวอย่างกรณีศึกษาท่ี 1 เร่ือง “การแก้ไขปัญหาของเจต”
6. แบ่งกล่มุ ๆ ละ 5-6 คนแจกใบงาน ให้แต่ละกล่มุ ช่วยกนั คดิ วเิ คราะห์เพ่ือแก้ไขปัญหา
ของกรณีศกึ ษาท่ี 2 เร่ือง “การแก้ไขปัญหาของหวาน” ตามข้นั ตอนการแก้ไขปัญหา ท้งั 5 ข้นั ตอน
7. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มรายงานทลี ะกลุ่ม ผ้สู อนนาอภปิ ราย เพ่ิมเติม และสรปุ “แนวทางการ
แก้ไขปัญหาของหวาน” ท้งั 5 ข้ันตอน (ใบความรู้ ตัวอย่างแนวทางการแก้ไขปัญหาของหวาน 5
ข้นั ตอน)
8. ผู้จัดกิจกรรมต้ังคาถามว่า การแก้ไขปัญหาตามวิธีท่ีได้เรียนรู้วันน้ีแตกต่างจากเดิม
อย่างไร (ให้ตอบโดยอิสระ) คิดว่าจะช่วยในการแก้ปัญหาได้รอบคอบดีข้ึนกว่าเดิมหรือไม่ (ให้
ตอบโดยอสิ ระ) และคิดว่าจะนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้หรือไม่ เพราะอะไร (ให้ตอบโดยอสิ ระ)

คู่มือการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 151

9. ผ้จู ัดกจิ กรรมและผู้เรียน ร่วมกนั สรุปข้นั ตอนการแก้ไขปัญหา 5 ข้นั ตอน
10. ให้เดก็ บนั ทกึ ลงในสมุดบันทกึ กจิ กรรม
11. ผ้จู ัดกจิ กรรมบนั ทกึ ผลการขัดกจิ กรรม

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 152

ใบงาน

แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 – 6 คน ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์เพ่ือแก้ไขปัญหาในกรณีศึกษาท่ี
2 ตามข้นั ตอนการแก้ไขปัญหาท้งั 5 ข้นั ตอน และสง่ ตวั แทนรายงานในกล่มุ ใหญ่

กรณศี ึกษาที่ 2 เรือ่ ง “การแกไ้ ขปัญหาของหวาน”
หวานเป็นนกั เรียน ม. 6 ปี หน้าเธอต้ังใจจะเรียนต่อในมหาวิทยาลัย พ่อของหวานเสียชีวิต
ได้ปี กว่า แม่ต้องดแู ลงานแทนพ่อ บางคร้ังท่แี ม่ไปค้างต่างจังหวัด หวานกต็ ้องอยู่บ้านคนเดียว
หวานกับเจต คบกนั มาได้ 7 เดือน ท้งั คู่มีเพศสมั พันธ์กันโดยไม่คาดคิด เพราะติดฝนอยู่
ด้วยกนั ตามลาพงั ท่บี ้านของหวาน และกม็ ตี ่อมาอกี เร่ือย ๆ หวานต้ังครรภเ์ พราะลืมกนิ ยาคุม เม่อื
บอกให้เจตรู้ เขากข็ อเวลาคิดก่อน หวานคดิ ว่าตวั เองไม่พร้อมท่จี ะมีลูกแน่ ๆ ไม่กล้าบอกแม่ด้วย
แม่คงท้งั โกรธและผิดหวังในตัวหวาน แม่พูดอยู่เสมอว่าทางานหนักทุกวันน้ีกเ็ พ่ือหวาน อยากให้
หวานได้เรียนสงู ๆ มอี นาคตท่ดี ี มีครอบครัวท่ดี ีในวนั ข้างหน้า หวานเองกต็ ้องการท่จี ะเรียนสูง ๆ
ด้วย
วันน้เี จตมาเปิ ดใจคุยกบั หวาน ท้งั ค่ตู ่างเหน็ ตรงกนั เร่ืองความไม่พร้อมในขณะน้ี ท่จี ะมีลูก
และสร้างครอบครัวด้วยกัน ท้ังคู่ยังต้องการเรียนต่อและพัฒนาตนเองให้มีอนาคตท่ีดีด้วย ท่ี
สาคัญหวานกลัวแม่จะรู้ ท้งั คู่ยอมรับว่าการยุติการต้ังครรภ์ (ทาแท้ง) เป็นทางออกท่ดี ีท่สี ุดใน
ขณะน้ี หวานนึกถงึ คลินิกทาแท้งท่ไี ด้นามบัตรมาจากร้านขายยาตอนไปซ้อื ท่ตี รวจการต้ังครรภ์ แต่
กก็ งั วลเร่ืองความปลอดภยั ค่าใช้จ่าย และไม่ร้วู ่าถกู กฎหมายหรือเปล่า หวานกบั เจตจึงตกลงกนั ว่า
จะหาข้อมลู ให้รอบคอบก่อน จึงค่อยเลอื กว่าจะยุติการต้งั ครรภอ์ ย่างไรดี

คู่มอื การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 153

วิเคราะหข์ ้นั ตอนการแกไ้ ขปัญหา ของกลุ่มที่

ข้นั ตอนการแกไ้ ขปัญหา

1. กาหนดปัญหา ปัญหาของหวาน คือ
1.1

1.2

1.3

2. กาหนดทางเลอื ก คือหนทางแกไ้ ขปัญหาทีเ่ ป็นไปไดท้ งั้ หมด
2.1

2.2

2.3

2.4

3. วิเคราะห์ ผลดี - ผลเสยี ของแต่ละทางเลอื ก

ทางเลือก ผลดี ผลเสยี

คู่มือการจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 154

4. เปรียบเทียบและเลือกเอาทางเลือกที่มีขอ้ ดีมากที่สุด และขอ้ เสียนอ้ ยที่สุด โดย

ขอ้ เสยี น้นั เป็ นสงิ่ ทีย่ อมรบั หรือแกไ้ ขได้ โดยไมเ่ กดิ ผลกระทบมากนกั

หวานไดพ้ ิจารณาทางเลือกทงั้ ขอ้ แลว้ จึงตดั สินใจเลือกทางเลือกที.่ คื อ

5. หาทางแกไ้ ขขอ้ เสียของทางเลือกทีจ่ ะใช้ และนาทางเลอื กไปปฏิบตั ิ โดย

คู่มอื การจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 155

ใบความรู้ “ข้นั ตอนการแกไ้ ขปัญหา”

ในขณะท่ีการตัดสินใจ ใช้ในกรณีท่ีมีทางเลือกอยู่แลว้ เพียงแต่ต้องการเลือกหนทาง
ปฏบิ ัติท่เี กดิ ผลดีท่สี ดุ โดยมี 4 ข้นั ตอน คอื

1. กาหนดทางเลือก
2. วิเคราะห์ข้อดี และข้อเสยี ของแต่ละทางเลอื ก
3. เปรียบเทียบและเลือก ทางเลือกท่มี ีข้อดีมากท่สี ุด และข้อเสียน้อยท่สี ุด โดย
ข้อเสยี น้ันเป็นสง่ิ ท่ยี อมรับหรือแก้ไขได้ โดยไม่เกดิ ผลกระทบมากนัก
4. หาทางแก้ไขข้อเสยี ของทางเลอื กท่จี ะใช้ และนาทางเลือกไปปฏบิ ัติ
การแกไ้ ขปัญหา เป็ นทักษะทางสติปัญญา ท่ีใช้ในกรณีท่ียงั ไม่มีทางออก ตอ้ งคิดหา
หนทางปฏิบตั ิที่เป็ นไปไดใ้ นการแกป้ ัญหา มาเป็ นทางเลือกใหต้ ดั สินใจเลือก นอกจากน้ีปัญหา
บางเร่ืองมีความซับซ้อน จนไม่รู้ว่าปัญหาท่แี ท้จริงคืออะไร เร่ืองไหนเร่งด่วนต้องแก้ไขกอ่ น เร่ือง
ไหนรอไว้แก้ไขทหี ลังได้
อารมณ์และความวิตกกังวล ยังมีผลต่อความคิดและสติปัญญาอย่างมาก จึงควรจัดการ
อารมณ์ให้สงบกอ่ น เพ่ือให้สมองปลอดโปร่ง จะได้ใช้สติปัญญา ความคิด และเหตุผลในการแก้ไข
ปัญหาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
การแก้ไขปัญหา มี 5 ข้นั ตอน คือ
1. กาหนดปัญหา วิเคราะห์ให้ชัดเจนว่าอะไรคือปัญหาท่แี ท้จริง ซ่ึงอาจมีได้หลายปัญหา
จึงจาเป็ นต้องวิเคราะห์ถึงความสาคัญและความเร่งด่วนของทุกปัญหา และเลือกเอาปัญหาท่ีมี
ความสาคัญมาก + เร่งด่วนมาก มาแก้ไขก่อน ตามด้วยท่ี สาคัญน้อย + เร่งด่วนมาก ต่อไปเป็น
สาคัญมาก + เร่งด่วนน้อย และสดุ ท้ายคอื สาคญั น้อย + เร่งด่วนน้อย
2. กาหนดทางเลอื ก เลอื กหนทางแก้ปัญหาท่เี ป็นไปได้ท้งั หมดสาหรับปัญหาน้นั ๆ
3. วิเคราะหข์ อ้ ดี และขอ้ เสยี ของแต่ละทางเลอื ก
4. เปรียบเทียบและเลือกเอาทางเลือกที่มีขอ้ ดีมากที่สุด และขอ้ เสียนอ้ ยที่สุด โดย
ข้อเสยี น้ันเป็นสง่ิ ท่ยี อมรับหรือแก้ไขได้ โดยไม่เกดิ ผลกระทบมากนัก
5. หาทางแกไ้ ขขอ้ เสียของทางเลอื กที่จะใช้ และนาทางเลือกไปปฏิบตั ิ
ในการแก้ไขปัญหา จะยึดเจ้าของปัญหาเป็นศูนย์กลางในการแก้ไขปัญหา และ
การตัดสินใจเลือกทางเลือกในการแก้ปัญหาน้ัน ทาโดยคานึงถึงผลดี และผลเสยี ต่อเจ้าของปัญหา
เป็ นหลกั

คู่มอื การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 156

ตวั อย่างกรณศี ึกษาที่ 1 “เรือ่ งการแกไ้ ขปัญหาของเจต”

เจตกบั หวานเรียนอยู่ช้ัน ม. 6 คบกนั มาได้ 7 เดือน ท้งั คู่มีเพศสมั พันธก์ นั โดยไม่คาดคิด

เพราะติดฝนอยู่ด้วยกนั ตามลาพังท่บี ้านของหวาน จากน้นั จึงเลยตามเลย มเี พศสมั พันธต์ ่อมาเร่ือย

ๆ เจตไม่เคยสวมถุงยางอนามัย เพราะหวานใช้วิธกี ินยาเมด็ คุมกาเนิด วันน้ีหวานบอกเจตว่าเธอ

ต้ังครรภ์ คงเป็ นเพราะลืมกินยาคุมอยู่ 2-3 วัน เจตรู้สึกสมองชา คิดอะไรไม่ออก ได้แต่บอก

หวานว่าขอเวลาคิดก่อน เจตคิดวนเวียนว่าควรจะแก้ปัญหาอย่างไรดี เขานึกเสียใจท่เี ช่ือใจและ

ปล่อยให้เป็นความรับผิดชอบของหวาน ท่ผี ่านมาเขาไม่ได้คดิ เร่ืองการติดเช้ือโรค เพราะเขาเช่ือว่า

ผ้หู ญิงดี ๆ อย่างหวานคงไม่มเี ช้อื โรคอะไรมาติดเขาแน่

สาธิตข้นั ตอนการแกไ้ ขปัญหา กรณศี ึกษาที่ 1 “เรื่องการแกไ้ ขปัญหาของเจต”

1. กาหนดปัญหา ปัญหาของเจตคือ

1.1 หวานตั้งครรภ์ในขณะที่ทัง้ คู่ยังไม่พรอ้ ม ซึ่งเจตถือเป็ นปัญหาหลักและ

เร่งด่วน

1.2 เจตมีเพศสมั พนั ธ์ทีไ่ ม่ปลอดภัย ซึง่ เจตคิดว่าไม่น่ามีอะไรเกิดข้ึน และไม่ใช่

เรือ่ งเร่งด่วนสาหรบั เจต

2. กาหนดทางเลือก คือหนทางแกป้ ัญหาทีเ่ ป็นไปไดท้ งั้ หมดสาหรบั การทีห่ วานตงั้ ครรภ์

2.1 พาหวานไปทาแทง้

2.2 ใหห้ วานหาทางออกตามที่หวานพอใจ แต่เขาจะช่วยเฉพาะในส่วนที่เขา

ยอมรบั และทาได้

2.3 เลิกยุ่งเกีย่ วกบั หวาน

2.4 หาทีป่ รึกษา หรือบอกใหผ้ ใู้ หญ่รบั รู้ และช่วยหาทางออก

3. วิเคราะห์ ผลดี-ผลเสยี ของแต่ละทางเลอื ก

ทางเลือก ผลดี ผลเสยี

1. พาหวานไปทา -แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้ -เป็นการทาบาป

แทง้ ทันที ไม่ต้องให้คนอื่น -หวานอาจไม่เหน็ ดว้ ยและไม่ยินยอม

รบั รู้ -ไม่รจู้ ะไปทาทีไ่ หน

-มีค่าใชจ้ า่ ย ซึง่ ทงั้ เขาและหวานอาจไม่มีเงินพอ

-อาจไม่ปลอดภยั กบั หวาน

-อาจผิดกฎหมาย

2. ใ ห้ ห ว า น -เป็ นปั ญหาที่เกิดผล -ถา้ เป็นส่งิ ทีเ่ ขายอมรบั ไม่ได้ จะตกลงกนั ไม่ไดด้ ว้ ยดี เช่น

หาทางออกตามที่ กระทบทงั้ 2 ฝ่ าย จงึ ควร -เขาเองไม่ยังพรอ้ มจะมีครอบครัว ในการคบกบั หวานที่

หวานยอมรบั และ ห า ท า ง อ อ ก ร่ ว ม กั น ผ่านมาเขายงั ไม่เคยคิดไกลไปถึงอนาคต เพราะเขายงั ไม่รู้

พอใจ แต่เขาจะ ที่ทั้ง 2 ฝ่ ายต่างพอใจ อนาคตตัวเองว่าจะเป็ นยังไง หลังอายุ 18 ปี ถา้ เขาไม่ได้

ช่ ว ย เ ฉ พ า ะ ใ น และยอมรบั ได้ ซึ่งจะทา เรียนต่อ เขาก็ต้องออกจากครอบครัว ไปใชช้ ีวิตเอง

ใหต้ กลงกนั ไดด้ ว้ ยดี

คู่มือการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 157

ทางเลือก ผลดี ผลเสยี

ส่วนทีเ่ ขายอมรบั ---เขาไม่ยังพรอ้ มจะเป็ นพ่อ ในขณะที่เอาตัวเองยังไม่

และทาได้ รอด ยงั ไม่มีรายไดเ้ ล้ยี งตัวเองดว้ ยซา้

---เขายังไม่แน่ใจว่าหวานจะเป็นคู่ครองในอนาคตทีเ่ ขา

เลอื กจริง ๆ และในทางกลบั กนั หวานกอ็ าจไม่เลือกเขาเป็น

ค่คู รองเช่นกนั ในอนาคต จึงควรเปิดโอกาสใหก้ นั และกนั ใน

การมีคู่ครองที่เหมาะสมในวนั หนา้ ซึ่งสถานการณ์คงจะ

แตกต่างจากในปัจจบุ นั มาก

---เขายังอยากมีชีวิตปกติแบบวยั รุ่นท่วั ไป ยังอยากเรียน

และพฒั นาตัวเอง เพือ่ อนาคตทีด่ ีในวนั ขา้ งหนา้ และหวาน

กไ็ ม่ควรเสยี โอกาสไปเชน่ เดียวกนั

3 เลิกยุ่งเกีย่ วกบั -ปล่อยใหเ้ ป็ นเรื่องของ - หวานคงเสียใจ และไม่ยอม อาจมาตามตอแยเขา จนมี

หวาน ห ว า น เ ข า ไ ม่ ต้ อ ง ปัญหากนั ได้

รับผิดชอบอะไรทั้งส้ิน - ไม่อยากทาลายความรูส้ ึกที่ดีต่อกัน อย่างนอ้ ยเขาก็ยัง

เพราะหวานพลาดเอง ตอ้ งการรกั ษาความเป็นเพือ่ นกบั หวานไว้

เขาไม่ได้ต้องการมีลูก - ดูไม่เป็ นลูกผู้ชายเอาเลย ไม่รับผิดชอบ เขาจะทน

ตงั้ แต่แรกแลว้ ความรสู้ กึ ผดิ ไดไ้ หม

4. ห า ที่ป รึ กษ า -มีผใู้ หญ่ช่วยรบั ฟัง เป็น -ถา้ ผูใ้ หญ่ เป็ นคนทีไ่ ม่เขา้ ใจเขา ไม่เป็ นผูร้ ับฟังที่ดี เอา
ห รื อ บ อ ก ใ ห้ คนกลาง ช่วยคิดหาทาง ตนเองเป็นศูนย์กลาง เขาคงถกู ดุว่า วิจารณ์ หรือ ถกู บงั คับ
ผู้ใหญ่รับรู้ และ ออก หรือมีส่วนร่วมใน ให้ทาในส่ิงที่เขาไม่เห็นดว้ ย คงจะลาบากใจ และไม่มี
ชว่ ยหาทางออก ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ความสขุ ไปตลอด

โ ด ย เ ฉ พ า ะ ถ้ า ท า ง -หวานอาจยงั ไม่ตอ้ งการใหผ้ ใู้ หญ่รบั รู้ ถา้ เรือ่ งบานปลายไป
ออกเป็ นเรื่องที่เขา และ ถึงผใู้ หญ่ทงั้ สองฝ่ าย อาจมีผลกระทบถึงหวานดว้ ย
หวานพอใจและยอมรับ
ได้

คู่มือการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 158

4. เปรียบเทียบและเลือกเอาทางเลือกที่มีขอ้ ดีมากที่สุด และขอ้ เสียนอ้ ยที่สุด โดย
ขอ้ เสยี น้นั เป็ นสงิ่ ที่ยอมรบั หรือแกไ้ ขได้ โดยไม่เกิดผลกระทบมากนกั

เจตพิจารณาทางเลือกทงั้ 4 ขอ้ แลว้ เขาตดั สินใจเลือกทางเลือกที่ 2 คือ ใหห้ วานหาทาง
ออกตามทีห่ วานยอมรบั และพอใจ แต่เขาจะช่วยเฉพาะในส่วนทีเ่ ขายอมรบั และทาได้ เพราะเป็น
ปัญหาทีเ่ กิดผลกระทบทงั้ 2 ฝ่ าย จึงควรหาทางออกร่วมกนั ทีท่ งั้ 2 ฝ่ ายต่างพอใจและยอมรบั ได้
ซึง่ จะทาใหต้ กลงกนั ไดด้ ว้ ยดี

5. หาทางแกไ้ ขขอ้ เสยี ของทางเลือกที่จะใช้ และนาทางเลอื กไปปฏิบตั ิ
เจตจะแกไ้ ขขอ้ เสียของทางเลือกที่ 2 โดยจะเปิ ดใจคุย และทาความเขา้ ใจกบั หวาน ดว้ ย
เหตผุ ล ประเดน็ สาคญั ทีเ่ ขาเตรียมไว้ คือ

5.1 อยากให้เป็นทางออกท่ที ้งั หวานและเขาต่างกพ็ อใจ และยอมรับท้งั สองฝ่ าย
เพ่อื รักษาความรู้สกึ ท่ดี ีต่อกนั ไว้

5.2 เขาเองไม่พร้อมจะเป็นพ่อ ในขณะท่ยี ังเอาตัวเองยังไม่รอด ไม่มีรายได้เล้ียง
ตัวเอง ซ่ึงคิดว่าหวานเองกค็ งไม่พร้อมเช่นกัน และท่ีหนักกว่าเขากค็ ือ หวานต้องต้ังครรภ์และ
คลอดบตุ ร ซ่งึ เขาได้หาข้อมูล พบว่า แม่วัยร่นุ มกั มีภาวะแทรกซ้อนมากท้งั ในการต้ังครรภแ์ ละการ
คลอด และทารกกม็ ีความเส่ียงมากกว่าปกติด้วย ท้งั ตัวเขาและหวาน คงไม่พร้อมจะเล้ียงเดก็ ใน
ทกุ ๆ ด้าน ท้งั วฒุ ิภาวะ รายได้และความรู้ในการดแู ลเดก็

5.3 เขายังไม่รู้อนาคตตัวเอง ในวันข้างหน้า และหวานเองกเ็ ช่นกัน ท้งั คู่จึงควร
เปิ ดโอกาสให้กันและกันในการเลือกคู่ครองท่ีเหมาะสมจริง ๆ ในอนาคต เม่ือถึงเวลาท่มี ีความ
พร้อมจะสร้างครอบครัว ซ่ึงตอนน้ันสถานการณ์ต่าง ๆ คงเปล่ียนแปลงไปจากเวลาน้ีมาก ขณะท่ี
การสร้างครอบครัวในขณะท่ไี ม่มีความพร้อมเลยกจ็ ะสร้างปัญหาเพ่ิมข้ึนกว่าเดิม การใช้ชีวิตค่อู าจ
ไม่ย่งั ยนื และเกดิ ผลกระทบกบั เดก็ อย่างมากด้วย

5.4 เขายังต้องการมีชีวิตปกติแบบวัยรุ่นท่วั ไป ยังอยากเรียนและพัฒนาตัวเอง
เพ่ืออนาคตท่ดี ีในวันข้างหน้า และคดิ ว่าหวานเองกค็ งต้องการเช่นเดียวกนั

คู่มือการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 159

ใบความรู้
ตวั อย่างแนวทางการแกไ้ ขปัญหาของหวาน 5 ข้นั ตอน

กรณีศึกษาที่ 2 “เรื่องการแกไ้ ขปัญหาของหวาน”
หวานเป็นนกั เรียน ม. 6 ปี หน้าเธอต้ังใจจะเรียนต่อในมหาวิทยาลัย พ่อของหวานเสียชีวิต

ได้ปี กว่า แม่ต้องดแู ลงานแทนพ่อ บางคร้ังท่แี ม่ไปค้างต่างจังหวัด หวานกต็ ้องอยู่บ้านคนเดียว
หวานกับเจต คบกันมาได้ 7 เดือน ท้งั คู่มีเพศสมั พันธ์กนั โดยไม่คาดคิด เพราะติดฝนอยู่

ด้วยกนั ตามลาพังท่บี ้านของหวาน และกม็ ีต่อมาอกี เร่ือย ๆ หวานต้ังครรภเ์ พราะลืมกนิ ยาคุม เม่อื
บอกให้เจตรู้ เขากข็ อเวลาคิดก่อน หวานคิดว่าตวั เองไม่พร้อมท่จี ะมีลกู แน่ ๆ ไม่กล้าบอกแม่ด้วย
แม่คงท้งั โกรธและผิดหวังในตัวหวาน แม่พูดอยู่เสมอว่าทางานหนักทุกวันน้ีกเ็ พ่ือหวาน อยากให้
หวานได้เรียนสูง ๆ มอี นาคตท่ดี ี มคี รอบครัวท่ดี ีในวันข้างหน้า หวานเองกต็ ้องการท่จี ะเรียนสงู ๆ
ด้วย

วันน้เี จตมาเปิ ดใจคุยกบั หวาน ท้งั ค่ตู ่างเหน็ ตรงกนั เร่ืองความไม่พร้อมในขณะน้ี ท่จี ะมีลูก
และสร้างครอบครัวด้วยกัน ท้ังคู่ยังต้องการเรียนต่อและพัฒนาตนเองให้มีอนาคตท่ีดีด้วย ท่ี
สาคัญหวานกลัวแม่จะรู้ ท้งั คู่ยอมรับว่าการยุติการต้ังครรภ์ (ทาแท้ง) เป็นทางออกท่ดี ีท่สี ุดใน
ขณะน้ี หวานนึกถึงคลนิ ิกทาแท้งท่ไี ด้นามบัตรมาจากร้านขายยาตอนไปซ้อื ท่ตี รวจการต้ังครรภ์ แต่
กก็ งั วลเร่ืองความปลอดภยั ค่าใช้จ่าย และไม่ร้วู ่าถกู กฎหมายหรือเปล่า หวานกบั เจตจึงตกลงกนั ว่า
จะหาข้อมูลให้รอบคอบกอ่ น จึงค่อยเลือกว่าจะยุตกิ ารต้งั ครรภ์อย่างไรดี

ข้นั ตอนการแกไ้ ขปัญหา
1. กาหนดปัญหา ปัญหาของหวาน คือ
1.1 หวานต้ังครรภ์ไม่พร้อม และต้องการยุติการต้ังครรภ์ เป็นปัญหาหลักและ

เร่งด่วนของหวาน
1.2 หวานกลวั แม่จะรู้ ซ่งึ ถ้าแก้ไขปัญหาแรกได้ โดยแม่ไม่รู้ ปัญหาน้กี จ็ ะคล่คี ลาย

ไปด้วย
2. กาหนดทางเลือก คือหนทางแกไ้ ขปัญหาทีเ่ ป็นไปไดท้ งั้ หมดสาหรบั การตงั้ ครรภ์ของ

หวาน
2.1 ไปทาแท้งท่คี ลินิก หวานได้นามบัตรมาจากร้านขายยาตอนไปซ้ือท่ตี รวจการ

ต้งั ครรภ์
2.2 ปรึกษาสายด่วน 1663 ซ่ึงให้บริการผู้หญิงท่ปี ระสบปัญหา "ท้องไม่พร้อม”

แบบนิรนาม
2.3 หายามากนิ ให้แท้ง
2.4 หาท่ปี รึกษา เช่น ครู เพ่อื น ผ้ใู หญ่ท่ไี ว้ใจ

3. วิเคราะห์ ผลดี-ผลเสยี ของแต่ละทางเลอื ก

คู่มอื การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 160

ทางเลอื ก ผลดี ผลเสีย

1. ไปทาแท้งท่ี - แก้ปัญหาได้ - ค่าใช้จ่ายสงู เจตกบั หวานอาจไม่มีเงนิ พอ

คลินกิ - ไ ม่ มี ค น อ่ื น รู้ - อาจไม่ปลอดภัย เพราะคลนิ ิกอาจไม่มีความพร้อม

นอกจากหวานกบั เจต ในการช่วยเหลือถ้าเกิดอะไรข้ึน และคงอนั ตรายมาก

และคลินิกจะเกบ็ เป็น เพราะไม่มีใครรู้ เจตคงรับผิดชอบไม่ไหว

ความลับ - อาจผิดกฎหมาย

2. ปรึกษาสาย -แก้ปัญหาได้ - ไม่ร้เู ร่ืองค่าใช้จ่าย ต้องลองปรึกษาดกู อ่ น

ด่วน 1663 ให้ -ปลอดภัย เพราะถ้า - จากข้อมูลท่ไี ด้ น่าจะมีข้อเสยี น้อยท่สี ดุ แล้ว

ใ ห้ บ ริ ก า ร ต้ อ ง ก า ร ยุ ติ ก า ร

ผู้ ห ญิ ง ท่ี ต้ังครรภ์ จะมีการส่ง

ประสบปัญหา ต่ อไปยังเครื อข่ าย

" ท้ อ ง ไ ม่ แพทย์ซ่ึงรับรองความ

พร้ อม” แบบ ปลอดภยั

นริ นาม -เก็บข้ อมูลนิรนาม

เป็ นความลับ ดังน้ัน

แม่จะไม่รู้

-ไม่ผิดกฎหมาย

3. หายามากิน - เป็ นวิธีท่ีง่าย ทาได้ - ย า น้ี ไ ม่ มี ข า ย ท่ัว ไ ป ห า ซ้ื อ ม า ใ ช้ เ อ ง ไ ม่ ไ ด้

ให้แท้ง เองท่ีบ้าน (จากการ -ต้องอยู่ในโครงการพิเศษของหน่วยงาน ท่ีมีการ

อ่ า น ข้ อ มู ล ท า ง ติดตามประเมินการใช้ ยาตามโครงการ ได้ แก่

อนิ เตอร์เนต็ ) เครือข่าย โรงพยาบาลรัฐและเอกชน และคลินิก

จานวน 85 แห่งท่วั ประเทศไทย แต่หวานกย็ ังไม่ร้วู ่า

จะไปเร่ิมติดต่อตรงไหนอยู่ดี

4. หาท่ีปรึกษา -มีคนท่ีไว้ใจช่วยรับ -มีคนรู้หลายคน อาจรู้ไปถึงแม่ได้ ซ่ึงจะทาให้แม่

เช่น ครู เพ่ือน ฟัง ช่วยคิดหาทาง โกรธ เสยี ใจ และ ผิดหวังในตัวหวาน ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ี

ผ้ใู หญ่ท่ไี ว้ใจ ออก หวานยอมให้เกิดข้ึนไม่ได้เดด็ ขาด ถ้าผ่านเร่ืองน้ีไป

ได้ หวานสัญญาว่าจะไม่ยอมทาอะไรท่ตี ้องปิ ดบังแม่

อกี

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 161

4. เปรียบเทียบและเลือกเอาทางเลือกที่มีขอ้ ดีมากที่สุด และขอ้ เสียนอ้ ยที่สุด โดย
ขอ้ เสียน้นั เป็ นสงิ่ ที่ยอมรบั หรือแกไ้ ขได้ โดยไม่เกดิ ผลกระทบมากนกั

หวานพจิ ารณาทางเลือกท้งั 4 ข้อแล้ว จงึ ตดั สนิ ใจเลือกทางเลือกท่ี 2 คอื ปรึกษาสายด่วน
1663 ให้ให้บริการผ้หู ญงิ ท่ปี ระสบปัญหา "ท้องไม่พร้อม”แบบนริ นาม เพ่อื จะได้มีการสง่ ต่อไปยัง
เครือข่ายแพทย์ซ่งึ รับรองความปลอดภัย

5. หาทางแกไ้ ขขอ้ เสยี ของทางเลอื กทีจ่ ะใช้ และนาทางเลอื กไปปฏิบตั ิ
- ไม่ร้เู ร่ืองค่าใช้จ่าย ต้องลองปรึกษาดูก่อน
- จากข้อมูลท่ีได้ น่าจะมีข้อเสียน้อยท่ีสุดแล้ว (จากท่ีหวานดูรีวิวในเพจมีการ

ตอบรับท่ดี ีมาก)

คู่มอื การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 162

กจิ กรรมที่ 7 เรื่อง ปฏิเสธได.้ . ถา้ ไม่ตอ้ งการ

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือให้เด็กเข้าใจสิทธิพ้ืนฐานของตนเองท่ีจะปฏิเสธในเร่ืองท่ีไม่เห็นด้วยและไม่
ต้องการกระทา

2. เพ่อื ให้เดก็ มที กั ษะในการปฏเิ สธ

เน้ ือหา

การปฏเิ สธเป็นสทิ ธขิ ้ันพ้นื ฐานของทุกคน ท่จี ะปฏเิ สธในเร่ืองท่ไี ม่เหน็ ด้วยและไม่ต้องการ
กระทา การรู้จักปฏิเสธ จะช่วยให้สามารถหลีกเล่ียงการมีพฤติกรรมเส่ียงต่าง ๆ อย่างได้ผล การ
ปฏเิ สธท่ดี แี ละไม่เสยี มิตรภาพ มี 3 ข้นั ตอนคอื 1. การบอกความร้สู กึ 2. การบอกปฏเิ สธ 3. การ
ถามความเหน็

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติก่อนจัดกจิ กรรม
2. ผ้จู ัดกจิ กรรมนาสนทนาด้วยคาถาม “ พฤติกรรมเส่ยี งในวัยร่นุ คอื พฤตกิ รรมอย่างไร”
ให้ตอบโดยอสิ ระ แล้วจงึ สรุปว่า “พฤติกรรมเส่ยี งในวัยร่นุ คือพฤตกิ รรมท่นี าความเส่ยี งเข้ามาใน
การดาเนนิ ชีวติ เช่น เกดิ อนั ตรายต่อร่างกาย ทาร้ายจิตใจ สญู เสยี สถานะทางสงั คมและ ขาดโอกาส
ในการพัฒนาตนเอง หรืออาจรุนแรงถึงข้ันเสียชีวิต วัยรุ่นต้องการเป็ นท่ียอมรับของคนอ่ืน
สนุกสนาน ต่ืนเต้น ท้าทาย อยากรู้อยากเหน็ อยากลอง มีอารมณ์ทางเพศมากข้ึ แต่ยังขาดการย้ัง
คดิ ไตร่ตรอง และการควบคุมตนเอง จงึ เป็นวยั ท่มี พี ฤตกิ รรมเส่ยี งได้มาก”
3. แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน ให้น่ังตามกลุ่มของตนเอง แจกบัตรคา “พฤติกรรมวัยรุ่น”
กลุ่มละ 1 ชุด ให้ช่วยกันวิเคราะห์บัตรคาแต่ละใบเพ่ือแยกประเภทว่า กิจกรรมในบัตรคาน้ัน
“เส่ยี ง” หรือ “ไม่เส่ยี ง” เพราะอะไร แล้ววางแยกเป็น 2 กอง คอื “เส่ยี ง” และ “ไม่เส่ยี ง” ผ้สู อน
เดินดูให้ทากจิ กรรมได้ถูกต้องและครบถ้วน
4. ผู้จัดกจิ กรรมนาอภิปรายให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มรายงานว่าพฤติกรรมเส่ียงท่พี บในบัตร
คามีอะไรบ้าง และให้ช่วยกนั คิดว่ายังมีพฤตกิ รรมเส่ยี งอะไรอกี นอกเหนือจากท่มี ีในบตั รคา
5. ผู้จัดกิจกรรมถามว่า “ถ้าเพ่ือน หรือใครกต็ ามมาชวนให้เราไปมีพฤติกรรมเส่ียง เรา
ควรตอบสนองการชวนอย่างไร” ให้ตอบโดยอิสระ แล้วสรุปด้วย “สถานการณ์ท่ีควรปฏิเสธ 3
กรณี” (ใบความรู้)
6. ผู้จัดกิจกรรมบรรยายหลักการ ข้ันตอนการปฏิเสธ และการหาทางออกเม่ือถูกเซ้าซ้ีต่อ
พร้อมยกตัวอย่าง และร่วมกันวิเคราะห์ข้ันตอนการปฏิเสธ และการหาทางออกเม่ือถูกเซ้าซ้ีต่อ
จากตวั อย่าง จนเกดิ ความเข้าใจ (ใบความรู้ ทกั ษะการปฏเิ สธ)

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 163

7. แจกใบงาน ให้แต่ละกลุ่มเลือกการชวนไปมีพฤติกรรมเส่ียง กลุ่มละ 1 สถานการณ์
แล้วช่วยกนั คดิ ประโยคปฏเิ สธตามข้นั ตอนการปฏเิ สธ และการหาทางออกเม่อื ถกู เซ้าซ้ี เขียนลงใน
ตารางท่กี าหนดให้ แล้วส่งตัวแทนกล่มุ รายงาน

8. ผู้จัดกจิ กรรมนาอภิปราย ตรวจสอบประโยคปฏิเสธของแต่ละกลุ่ม ว่าถูกต้องครบถ้วน
ตามข้นั ตอนท่ไี ด้เรียนรู้ หรือไม่ ถ้าไม่ถกู ต้องควรแก้ไขอย่างไร จนครบทกุ กล่มุ

9. ให้แต่ละกลุ่มฝึกการพูดปฏเิ สธ จากสถานการณ์ของกลุ่มตนเอง โดยจับคู่ผลัดกันเป็น
ผ้ชู วนและผ้ปู ฏเิ สธ จนได้ฝึกปฏเิ สธครบทกุ คน

10. ผู้จัดกิจกรรมและเด็กร่วมกันสรุป ข้ันตอนการปฏิเสธ และการหาทางออกเม่ือถูก
เซ้าซ้ี

11. ให้เดก็ บันทกึ ลงในสมุดบันทกึ กจิ กรรม
12. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตหิ ลังจัดกจิ กรรม
13. ผ้จู ัดกจิ กรรมบนั ทกึ ผลการจดั กจิ กรรม

คู่มือการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 164

บตั รคา พฤติกรรมวยั รุ่น

ชวนไปดมื่ เหลา้ ชวนสูบกญั ชา

ชวนไปสูบบุหรี่ ชวนยกพวกตีกนั

ทดลองยาไอซ์ ชวนไปเตน้ แอโรบคิ ทสี่ วนสุขภาพ

ชวนกนิ ยาลดความอว้ น ชวนไปดูหนงั รอบดกึ

ชวนไปแข่งซิ่งมอเตอรไ์ ซค์ ชวนไปติวก่อนสอบทีโ่ รงเรียน

ชวนไปเสริมจมูก ฉีดหนา้ ชวนไปขโมยของแกลง้ เพอื่ น

ชวนไปทากจิ กรรมจิตอาสา ชวนไปกนิ กว๋ ยเต๋ียว

ชวนไปเล่นกฬี า ชวนลองยาบา้ แกง้ ่วง

ชวนไปรา้ นสะดวกซ้ ือ ชวนหนเี รียนไปดูหนงั

ชวนไปนอนคา้ งที่บา้ น ชวนไปเทีย่ วสวนสนุก

ชวนดูหนงั โป๊ ชวนซ้ ือครีมทาหนา้ ขาว

คู่มอื การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 165

ใบงาน

ให้แต่ละกลุ่ม เลือกการชวนไปมีพฤติกรรมเส่ยี ง กลุ่มละ 1 สถานการณ์ แล้วช่วยกันคิด
ประโยคปฏิเสธตามข้ันตอนการปฏิเสธ และการหาทางออกเม่ือถูกเซ้าซ้ี เขียนลงในตารางท่ี
ด้านล่าง แล้วสง่ ตวั แทนกล่มุ รายงาน
สถานการณ์
ประโยคคาพูดปฏิเสธ

ข้นั ตอน ประโยคคาพูด
บอกความร้สู กึ

บอกปฏเิ สธ

ถามความเหน็

ขอบคณุ เม่อื เขายอมรับ

เม่อื ถกู ต๊อื ต่อ เลือก 1 วิธี จาก 3 วิธี ต่อไปน้ี คอื
ปฏเิ สธซา้ แล้วรีบออกจากเหตกุ ารณ์

ผัดผ่อน แล้วรีบออกจากเหตุการณ์

ต่อรองหาทางเลอื กอ่นื ท่เี หมาะสมกว่า

คู่มือการจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 166

ใบความรู้ ทกั ษะการปฏิเสธ

การปฏิเสธเป็นสิทธิข้ันพ้ืนฐานท่ี ทุกคนควรยอมรับ และควรรักษาสิทธิของตนเองท่ีจะ

ปฏเิ สธในเร่ืองท่ตี นเองไม่ยอมรับ ไม่เหน็ ด้วย หรืออาจเป็นอนั ตรายต่อตนเอง

สถานการณท์ ี่ควรปฏิเสธ มี 3 กรณี ดงั น้ี

1. การชวนโดยคนแปลกหน้า ทุกกรณี

2. การชวนให้ไปทาในส่งิ ท่คี ดิ ว่าจะเป็นภัย อนั ตรายต่อร่างกายหรือสขุ ภาพ

3. การฝ่ าฝืนกฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎหมาย

หลกั การปฏิเสธ มี 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี

1.บอกความรูส้ ึก เป็ นการบอกให้รู้ถึงความกังวลใจ ความห่วงใย ซ่ึงอาจมี

เหตุผลประกอบด้วยกไ็ ด้เพ่ือความหนักแน่น การบอกความรู้สึกทาให้คู่สนทนาไม่สามารถหาข้อ

โต้แย้งได้ แต่การใช้เหตุผลสามารถหาเหตุผลอ่นื มาลบล้างได้อยู่เร่ือย ๆ ซ่ึงเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทา

ให้ปฏเิ สธไม่สาเรจ็ เพราะใช้แต่เหตุผลเป็นข้ออ้าง

2. บอกปฏิเสธ โดยพูดชัดเจน ท้งั ท่าทาง คาพูด และนา้ เสียง ไม่อ้อมค้อมลังเล

ซ่งึ จะทาให้มีการเซ้าซ้ตี ่อ เช่น “ผมขอไม่ไปครับ” หรือ “ดิฉนั ไม่อยากไปค่ะ”

3. ถามความเห็น เป็นการถนอมนา้ ใจผู้ชวน ให้เห็นว่าเราห่วงใยความรู้สึกเขา

เช่น “เธอคงเข้าใจนะ” หรือ “เธอคดิ ว่าไง” หรือ “นายคงไม่ว่าเรานะ” เป็นต้น

ตวั อย่างประโยคปฏิเสธ

การปฏเิ สธควรมคี าพดู ครบท้งั 3 ข้นั ตอน แต่การเรียงคาพดู อาจสลับท่กี นั ได้

สถานการณ์ เพ่อื นชวนไปร้านเกมหลงั เลิกเรียน

เก่ง : ชัย เราไปเล่นเกมกนั เถอะ อย่าเพ่งิ รีบกลับเลย

ชัย : กลัวท่บี ้านเป็นห่วง เราขอไม่ไป นายคงไม่ว่าเรานะกลัวท่บี ้านเป็ น

ห่วง เป็น การบอกความรู้สึก

เราขอไม่ไป เป็น การบอกปฏเิ สธ

นายคงไม่ว่าเรานะ เป็น การถามความเหน็

สถานการณ์ เพ่ือนชวนสบู บุหร่ี

เก่ง : ชัย มาลองน่หี น่อยม๊ยั แล้วนายจะติดใจ

ชยั : แค่ได้กล่นิ กไ็ ม่ชอบแล้ว ขอไม่ลองดกี ว่า นายคงเข้าใจเรานะ

แค่ได้กล่นิ กไ็ ม่ชอบแล้ว เป็น การบอกความรู้สกึ

ขอไม่ลองดกี ว่า เป็น การบอกปฏเิ สธ

นายคงเข้าใจเรานะ เป็น การถามความเหน็

เม่ือปฏิเสธได้สาเร็จ คือผู้ชวนยอมรับ ไม่มีการเซ้าซ้ีต่อไป ให้ผู้ปฏิเสธกล่าว “ขอบคุณ”
ทุกคร้ัง เป็นการแสดงความช่ืนชม ท่เี ขาใจกว้าง เข้าใจและยอมรับในสิทธิของเราท่จี ะปฏิเสธคา

คู่มือการจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 167

ชวนของเขาได้ เม่ือเราไม่ต้องการกระทาตาม ซ่ึงเป็ นมารยาทท่ีดีทางสังคม และช่วยรักษา
สมั พันธภาพท่ดี เี อาไว้

การหาทางออกเมอื่ ถูกเซา้ ซ้ ีต่อ
บางคร้ังผู้ชวนกไ็ ม่ยอมเข้าใจ พยายามเซ้าซ้ีต่อ ชักจูงเพ่ือจะชวนไปให้ได้ ด้วยวิธี

หลายอย่าง เช่น
การท้าทาย : “แค่น้ีกลัวด้วยเหรอ ไม่แน่จริงน่ีหว่า” การโต้แย้ง : “ทาไมละคน

อ่นื เขากท็ ากนั ”
การขู่แกมบังคับ : “ถ้าไม่ไปกเ็ ลิกคบกนั ดีกว่า” การหว่านล้อมให้สบายใจ : “ไม่

ต้องกงั วลหรอกเร่ืองน้ีฉนั /ผมรับผิดชอบเอง” หรือ ยกเหตุผลว่าทาได้ : “เราโตแล้วนะ” “รับรอง
ไม่มปี ัญหา...”

ไม่ควรหว่นั ไหวหรือใจอ่อนต่อคาพูด การหาทางออกทาได้โดยเลือกวิธีใดวิธีหน่ึง
ใน 3 วธิ ี ต่อไปน้ี แล้วรีบออกจากเหตกุ ารณ์ทนั ที ไม่เปิ ดโอกาสให้เซ้าซ้ตี ่อ

1. ปฏิเสธซ้า แล้วเดินจากไปทนั ที
สถานการณ์ เพ่ือนชวนไปร้านเกมหลงั เลิกเรียน
เก่ง : ชยั เราไปเล่นเกมกนั เถอะ อย่าเพ่งิ รีบกลบั เลย
ชัย : กลัวท่บี ้านเป็นห่วง เราขอไม่ไป นายคงไม่ว่าเรานะ
เกง่ : ไปน่า นาน ๆ เล่นซักที ไม่เป็นไรหรอก
ชยั : เราไม่อยากไปจริง ๆ ขอตัวนะ (แล้วรีบเดินจากไป)

2. ผดั ผ่อน เป็นการประวงิ เวลาออกไปก่อน
เก่ง : ไปน่า นาน ๆ เล่นซักที ไม่เป็นไรหรอก
ชัย : เอาไว้วันหลงั แล้วกนั ไปกอ่ นนะ (แล้วรีบเดินจากไป)

3. ต่อรอง เพ่ือเสนอทางเลอื กท่เี หมาะสมกว่าให้กบั ผู้ชวน
เกง่ : ไปน่า นาน ๆ เล่นซักที ไม่เป็นไรหรอก
ชยั : ง้นั เอาอย่างน้ีดไี หม ไปหาไอศกรีมกนิ กนั คนละถ้วย แล้วก็
แยกกนั กลบั บ้าน

วิธตี ่อรองน้ีถ้าผู้ชวนไม่เห็นด้วย ยังต๊ือต่อ กค็ วรนาวิธีปฏิเสธซา้ หรือผัดผ่อน มา
ใช้แล้วรีบเดนิ จากไปไม่อยู่ให้ถกู ต๊ือต่อ

คู่มอื การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 168

ปัญหาทีท่ าใหว้ ยั ร่นุ ปฏิเสธไม่สาเร็จ
วัยรุ่นส่วนใหญ่ปฏเิ สธเพ่ือนไม่ได้ มีสาเหตุมาจาก เกรงใจ กลัวเพ่ือนโกรธ ใจไม่

ม่ันคง ทนคาพูดเซ้าซ้ี หรือ สบประมาทของเพ่ือนไม่ได้ ถ้าวัยรุ่นปฏเิ สธไม่สาเรจ็ กจ็ ะทาให้ตัวเอง
ต้องเข้าไปเก่ยี วข้องกบั พฤตกิ รรมเส่ยี ง หรือได้รับอนั ตรายอย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้

หลกั สาคญั ที่ช่วยใหป้ ฏิเสธไดส้ าเร็จ
1. ต้องมีจิตใจท่มี ่ันคง แน่วแน่ ว่าจะต้องปฏิเสธจริง ๆ เพราะเป็นเร่ืองท่มี ีความ

เส่ยี งหรือมผี ลเสยี ต่อชีวิต
2. พูดปฏิเสธด้วยน้าเสียงและท่าทางท่ีจริงจัง แต่สุภาพและไม่หักหาญน้าใจ

เพ่ือน
3. เม่ือปฏิเสธจบแล้ว ต้องรีบเดินออกไปจากเหตุการณ์น้ันทนั ทโี ดยไม่รีรอเพ่ือ

ป้ องกนั การถกู เซ้าซ้ี หรือสบประมาทท่อี าจทาให้เราใจออ่ น
4. เม่อื ถูกพดู สบประมาทไม่ควรหว่นั ไหว หรือตอบโต้ให้รีบเดินหนีออกไปทนั ที

คู่มือการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 169

กจิ กรรมที่ 8 เรือ่ ง ควรสอื่ สารอย่างไร

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ให้เดก็ เหน็ ความสาคญั ของการส่อื สารอย่างเหมาะสม ร้วู ิธกี ารส่อื สารท่ดี ี

เน้ อื หา

การส่ือสารในชีวิตประจาวัน มีความสาคัญต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม การส่ือสารท่ดี ีจะ
ช่วยแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง การเรียนรู้วิธกี ารส่อื สารท่เี หมาะสมจึงเป็นพ้ืนฐานในการสร้าง
สมั พันธภาพท่ดี ตี ่อกนั

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตกิ อ่ นจัดกจิ กรรม
2. ให้เดก็ จับคู่ คุยกนั เร่ือง “คาพูดแบบใดท่ไี ม่ชอบให้คนอ่นื ใช้กบั เรา” และ “ท่าทแี บบ
ใดท่ไี ม่อยากให้คนอ่นื แสดงกบั เรา” เขียนลงกระดาษแยกเป็น 2 ใบ แล้วนาไปติดบอร์ด แยกเป็น
2 กล่มุ “คาพดู ” และ “ทา่ ท”ี
3. ผ้จู ดั กจิ กรรม อา่ น “คาพดู แบบใดท่ไี ม่ชอบให้คนอ่นื ใช้กบั เรา” ให้กล่มุ ใหญ่ฟัง (คัดท่ี
ซ้ากันออก) แล้วถามว่า “ทาไมจึงไม่ชอบคาพูดแบบน้ี” สุ่มถาม 2-3 คู่ แล้วสรุปว่า “คาพูดท่ี
คนเราไม่ชอบมกั เป็นคาพูดท่ที าให้เราร้สู กึ เสยี ใจ เสยี หน้า เสยี หาย เสยี ความรู้สึก เช่น ดวุ ่า ตาหนิ
ประชดประชัน กล่าวห ลาเลิก ไม่จริงใจ ฯลฯ”
4. ผู้จัดกิจกรรมอ่าน “ท่าทแี บบใดท่ไี ม่ชอบให้คนอ่นื แสดงกบั เรา” ให้กลุ่มใหญ่ฟัง (คัด
ท่ซี ้ากันออก) แล้วถามว่า “ทาไมจึงไม่ชอบท่าทีแบบน้ี” สุ่มถาม 2 -3 คู่ แล้วสรุปว่า “ท่าทีท่ไี ม่
ชอบมกั เป็นทา่ ทที ่ที าให้เรารู้สกึ โกรธ หมองเศร้าหรือด้อยค่า เช่น ดูถูกดหู ม่นิ บ้งึ ตึง ไม่แยแส เย้ย
หยันไม่ให้เกยี รติ ไม่จริงใจ ราคาญ ฯลฯ”
5. ผู้จัดกิจกรรมบรรยาย ความรู้ เร่ือง การส่ือสารในชีวิตประจาวัน และข้ันตอนการ
ส่อื สารเพ่ือบอกความต้องการ พร้อมยกตัวอย่าง (ใบความรู้ เร่ือง การส่อื สารในชีวติ ประจาวัน)
6. ขออาสาสมัคร 3 คู่ ออกมาแสดงบทบาทสมมุติ หน้าช้ัน ส่อื สารเพ่อื บอกความต้องการ
ตามข้นั ตอนและตัวอย่างท่ไี ด้เรียนรู้ ค่ลู ะ 1 สถานการณ์ ทกุ คนช่วยกนั ดคู วามถกู ต้อง
7. ให้เดก็ แต่ละคู่ ช่วยกันวิเคราะห์ว่า ข้ันตอนการส่ือสารท่ไี ด้เรียนรู้น้ี มีความแตกต่าง
จากท่เี คยปฏบิ ตั ใิ นชีวิตประจาวันอย่างไร และคดิ ว่าจะนาไปใช้ได้หรือไม่ เพราะอะไร
8. ผ้จู ัดกจิ กรรมสมุ่ ถามเดก็ 2 – 3 คู่ แล้วเปิ ดโอกาสค่อู ่นื ๆ เพ่ิมเติมในสว่ นท่ไี ม่ซา้ แล้ว
สรุปว่า “มีความแตกต่างจากท่เี ราเคยปฏบิ ตั ิอยู่ ตรงท่เี น้นการส่อื สารท่ตี รงประเดน็ เข้าใจตรงกนั
ชัดเจน และสร้างความรู้สกึ ท่ดี ีแก่คู่สนทนา ด้วยภาษาพูดและภาษากายท่สี อดคล้องกันทุกคนควร
จะนาไปใช้ได้เพราะเป็นหลักการท่ไี ม่ยากนัก เพียงแต่ต้องฝึกฝน ในช่วงท่เี ปล่ียนมาใช้การส่อื สาร
แบบน้ี เม่อื ใช้บ่อย ๆ เข้าจะเกดิ ความเคยชินจนเป็นธรรมชาติ”

คู่มอื การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 170

9. ผู้จัดกจิ กรรมทบทวนแนวทางการส่อื สารในชีวิตประจาวัน ท่วั ๆ ไป และข้ันตอนการ
ส่ือสารเพ่ือบอกความต้องการ 2 ข้ันตอน เปิ ดโอกาสให้ซักถาม แนะนาให้ทุกคนนาไปปรับปรุง
การส่อื สารของตนเอง

10. ให้เดก็ บนั ทกึ ลงในสมุดบันทกึ กจิ กรรม
11. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติหลังจดั กจิ กรรม
12. ผ้จู ัดกจิ กรรมบันทกึ ผลการจดั กจิ กรรม

สือ่ / อุปกรณ์

1 ใบความร้ตู ่าง ๆ
2 ตัวอย่างคาถาม กล่มุ คาพดู กล่มุ ท่าทาง
3 กระดาษ ปากกา

การประเมนิ

ใช้แบบความเมินความรู้ ผิด - ถูก

คู่มือการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 171

ใบความรู้ เรื่อง การสอื่ สารในชีวิตประจาวนั

ประเภทของการสอื่ สารในชีวิตประจาวนั

1. ส่อื สารกบั ตนเอง เพ่อื จัดการกบั อารมณข์ องตนเอง และพร้อมท่จี ะไปส่อื สารกบั ผ้อู ่นื
2. ส่อื สารกบั ผ้อู ่นื ซ่งึ แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ

2.1 ส่ือสารด้วยคาพูดเป็ นการส่ือความคิดความต้องการของเราประกอบด้วย
เน้ือหาและนา้ เสยี ง

2.2 ส่อื สารด้วยภาษาทา่ ทาง ซ่งึ จะส่อื ว่าเราร้สู กึ อย่างไรต่อเขา และอกี ฝ่ ายจะรับรู้
ว่าเราต้องการส่ือสารอะไรกนั แน่ นักวิชาการให้ความสาคัญของการส่ือสารด้วยภาษาท่าทางมาก
ท่สี ุดถึง ร้อยละ 55 คาพูด ร้อยละ 7 และนา้ เสียง ร้อยละ 38 ดังน้ัน การระมัดระวังท่าทีไม่ให้
ระคายอารมณผ์ ้ฟู ังจงึ เป็นเร่ืองสาคัญมาก

การสอื่ สารทีด่ ตี อ้ งประกอบดว้ ย

1. การส่อื สารสองทาง ซ่งึ ต้องอาศัยท้งั ภาษาพูด และภาษาท่าทางท่สี อดคล้องกนั
2. การฟังอย่างต้งั ใจในขณะท่คี ่สู นทนากาลังพูดเพ่ือเข้าใจว่าผู้พูดต้องการส่อื อะไร

หลกั ในการสอื่ สารที่ดี

1. ควบคมุ อารมณ์ให้สงบขณะส่อื สาร
2. รู้กาลเทศะ คือ บุคคล เวลา สถานท่ี และความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ภูมิหลัง
ความเช่อื นสิ ยั ใจคอ ความคดิ ความรู้สกึ สติปัญญา ความสามรถ ฯลฯ
3. สร้างความรู้สกึ ท่ดี ตี ่อคู่สนทนา เช่น ใช้ภาษาสภุ าพ ให้เกยี รติ ให้ความสาคัญ เป็นห่วง
ให้กาลังใจ ถามความคดิ เหน็ ฯลฯ

แนวทางการสอื่ สารในชีวิตประจาวนั ทวั่ ๆ ไป

ไม่มขี ้นั ตอนท่แี น่นอนแต่ควรเป็นคาพูดลกั ษณะต่อไปน้ี
1. การทกั ทาย เช่น สวัสดีค่ะ/ ครับ
2. ชวนพูดคยุ เร่ืองทว่ั ไป เช่น วันน้อี ากาศดีนะ
3. ถามไถ่ทุกข์สุข เช่น เป็นอย่างไรบ้าง, สบายดีหรือ (ใช้ตามกาลเทศะ, โอกาส

และความสนทิ สนม)
4. ใช้คาพูดท่มี ีอารมณ์ขัน (ควรใช้ตามกาลเทศะ, โอกาส และความสนิทสนม)
5. เล่าข้อมูลใหม่ ๆ ท่อี กี ฝ่ ายสนใจ เช่น ท่โี รงอาหารมีร้านข้าวมันไก่มาเปิ ดใหม่

เธอสนใจไปลองชมิ กนั ไหม

คู่มอื การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 172

ข้นั ตอนการสือ่ สารเพอื่ บอกความตอ้ งการ

มี 2 ข้นั ตอน คือ
1. แสดงความต้องการอย่างตรงไปตรงมา เพราะอกี ฝ่ ายไม่สามารถท่จี ะเข้าใจได้

ว่าเราต้องการอะไร และไม่พูดอ้อมค้อมแบบต้องการให้อกี ฝ่ ายเข้าใจเอาเองว่าตนเองต้องการ
อะไร

2. ถามความเหน็ ของค่สู นทนา เป็นการให้เกยี รตคิ ู่สนทนา ว่าเขามที างเลอื ก
ไม่ใช่การส่งั แต่เป็นการขอร้อง

สถานการณ์ ข้นั ตอนที่ 1. บอกความตอ้ งการ ข้นั ตอนที่ 2. ถามความเห็น

1. ต้องการไปทานข้าว ฉนั หิวแล้วอยากไปทานข้าว อยากไปด้วยกนั ไหม

2. ต้องการให้ช่วยยืม อยากให้เธอช่วยยืมหนงั สอื ท่ี ได้ไหมคะ/ ครับ
หนังสอื ห้องสมดุ ห้องสมดุ ให้หน่อย โอเคไหมจะ๊
3. ต้องการให้รอ ฉันอยากไปโรงเรียนพร้อมกับเธอ
ช่วยรอฉันสกั แป๊ บ ไม่เกนิ 5 นาที

คู่มอื การจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 173

กจิ กรรมที่ 9 เรือ่ ง การจัดการอารมณโ์ กรธ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ให้เดก็ เข้าใจธรรมชาตขิ องอารมณ์
2. เพ่ือให้เดก็ ตระหนักถึงผลเสียของการแสดงออกทางอารมณ์ท่ีไม่เหมาะสม และรู้วิธี
ควบคุมอารมณข์ องตนเอง

เน้ ือหา

อารมณ์เป็ นภาวะจิตใจท่ีเกิดข้ึนตอบสนองต่อส่ิงเร้าท้ังจากภายนอกและภายในตนเอง
แยกได้ 2 กล่มุ คอื อารมณ์ท่เี ป็นสขุ และอารมณ์ท่เี ป็นทกุ ข์ การแสดงออกทางอารมณโ์ ดยไม่มีการ
ควบคุมมักก่อผลเสียตามมา โดยเฉพาะอารมณ์โกรธ จึงควรฝึ กให้รู้เท่าทันอารมณ์ตนเองและ
ควบคุมการแสดงออกให้เหมาะสม การจัดการอารมณ์มี 4 ข้ันตอนคือ 1. สารวจอารมณ์ 2.
คาดการณ์ผลด/ี ผลเสยี ของการแสดงอารมณ 3. ควบคุมอารมณ์ 4. สารวจอารมณอ์ กี คร้ังและช่ืน
ชมกบั ตนเอง

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตกิ อ่ นจัดกจิ กรรม
2. ผ้จู ัดกจิ กรรมนาสนทนาด้วยคาถามว่า “อารมณ์คืออะไร” ส่มุ ถาม 3-4 คนโดยไม่ต้อง
สรุป แล้วถามต่อว่า “เราจะรู้ได้อย่างไรว่าผู้ท่เี ราคุยด้วยเขามีอารมณ์อย่างไร และเราสามารถจะรู้
อารมณ์ตนเองไหม” เปิ ดโอกาสให้ตอบอย่างท่วั ถึง โดยไม่ต้องสรุป (อารมณ์เป็นสภาวะทางจิตใจ
ทีเ่ กิดข้ึน ตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ซึง่ มาจากทงั้ ภายนอกและภายในตัวเรา/ การรูอ้ ารมณ์ผอู้ ื่นจากการ
สงั เกตการแสดงออกทางอารมณ์ของเขา เชน่ สหี นา้ แววตา นา้ สยี ง ท่าทาง การกระทา และคาพูด
ซึง่ ภาษากายบอกเราไดม้ ากกว่าภาษาพูด/ เราสามารถรูอ้ ารมณต์ ัวเองไดโ้ ดยมีสติ สงั เกตและทา
ความเขา้ ใจตนเองอยูเ่ สมอ )
3. ผ้จู ดั กจิ กรรมบรรยายเร่ืองจติ ใจและอารมณ์ (ใบความรู้ เร่ือง จิตใจและอารมณ์)
4. แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 6 คน ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มผลัดกันแลกเปล่ียนประสบการณ์ ว่า
ใครเคยแสดงออกทางอารมณ์ท่ไี ม่เหมาะสมอย่างไร และคดิ ว่ามีข้อดแี ละข้อเสยี อะไรบ้าง
5. ขออาสาสมคั ร เล่า ให้เพ่ือนในกล่มุ ใหญ่ฟัง 1 - 2 คน
6.ผ้จู ดั กจิ กรรม แจกใบความรู้ “วิธจี ดั การอารมณโ์ กรธ” ให้แต่ละกล่มุ ร่วมกนั ศึกษา และ
ทดลองฝึ กปฏิบัติควบคุมอารมณ์ 4 ข้ันตอน โดยเลือกสถานการณ์จากท่ีได้แลกเปล่ียน
ประสบการณก์ นั มา 1 สถานการณ์ ผู้จัดกิจกรรมเดินตรวจดูความถูกต้องตามข้ันตอนการจัดการ
อารมณ์ และให้คาแนะนา จนทากจิ กรรมครบทกุ กล่มุ

คู่มือการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 174

7. ผู้จัดกจิ กรรมถามในกลุ่มใหญ่ว่า “คิดว่าการเรียนรู้ในวันน้ีเป็นประโยชน์อย่างไร และ
สามารถนาไปใช้กบั ตนเองได้หรือไม่” เปิ ดโอกาสให้ตอบ โดยไม่ต้องสรปุ

8. ให้เดก็ บนั ทกึ ลงในสมุดบันทกึ กจิ กรรม
9. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตหิ ลงั จดั กจิ กรรม
10. ผ้จู ัดกจิ กรรมบนั ทกึ ผลการจัดกจิ กรรม

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 175

ใบความรูเ้ รือ่ ง จิตใจและอารมณ์

อารมณ์คือสภาวะทางจติ ใจท่เี กดิ ข้ึน เป็นการตอบสนองต่อส่งิ เร้า ท้งั ภายนอกและภายใน
ตัวเรา ตัวอย่าง ส่ิงเร้าภายนอก เช่น ถูกสบประมาท ถูกย่ัวให้โกรธ ได้ไปเท่ียวกับคนรู้ใจ ได้
ของขวัญถูกใจ ฯลฯ ตัวอย่าง ส่งิ เร้าภายใน เช่น ภูมิใจในความสามารถตนเอง เจบ็ ป่ วยจนท้อแท้
ร้สู กึ ว่าตนเองด้อยค่า ฯลฯ

ส่วนท่เี รียกว่าจิตใจของคนเรา มีสมองทาหน้าท่คี วบคุม แยกออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
ความคิด และอารมณ์ความรู้สึก ความคิดของคนเราแสดงออกให้คนอ่ืนรู้ได้ด้วยคาพูด แต่ส่วน
อารมณ์ความรู้สึกน้ันมักแสดงออกให้คนอ่ืนรู้ได้ทางภาษากายมากกว่าภาษาพูด เรี ยกว่าการ
แสดงออกทางอารมณ์ เช่น สีหน้า แววตา นา้ เสียง ท่าทาง และพฤติกรรม ฯลฯ บางคร้ังเราอาจ
พบว่าภาษาพูดไม่ตรงกบั ภาษากาย เช่น เรายืมกล้องของเพ่อื นมาแล้วทาตก เลนสแ์ ตก เพ่อื นอาจ
พูดว่า “ไม่เป็นไร” แต่ภาษากาย เขามีสหี น้าบ้ึงตึง พูดแบบกดั ฟัน ทาให้เรารับรู้ได้ว่าเขาไม่พอใจ
โกรธ หรือ เสยี ดายกล้องซ่ึงเป็นของรักของเขาอย่างมาก เพราะภาษากายย่อมเช่ือถือได้มากกว่า
เม่อื เรารับร้กู ค็ วรตอบสนองด้วยการขอโทษ และเสนอการชดใช้ เป็นต้น

สมองส่วนคิดและสมองส่วนอารมณ์ความร้สู กึ ยังมีอิทธพิ ลต่อกัน อารมณ์ความรู้สึกมักจะ
รบกวนการทางานของความคิด ดังน้ันแต่ถ้าใช้แต่ส่วนอารมณ์ความรู้สึก โดยไม่มีสมองส่วนคิด
กากับควบคุม การแสดงออกตามอารมณ์จึงมักจะก่อผลเสียตามมาท้งั ต่อตนเองและผู้อ่ืน ทาให้
เสยี ความสัมพันธ์ท่ดี ีกบั ผู้อ่นื แต่ถ้าสมองส่วนคิดทางานมากกว่า คนน้ันกจ็ ะมีสติรู้เท่าทนั อารมณ์
และคาดการณ์ถึงผลเสยี ของการแสดงออกทางอารมณ์โดยไม่ควบคุมได้ นามาซ่ึงการปรับตัวให้มี
การแสดงออกท่เี หมาะสมแทน

อารมณ์มี 2 ประเภทคือ 1) อารมณ์ท่เี ป็นสุข เช่น ดีใจ ภูมิใจ สขุ ใจ ปิ ติ ชอบ รัก ขบขัน
ฯลฯ 2) อารมณ์ท่เี ป็นทุกข์ เช่น โกรธ อจิ ฉา กงั วล หึงหวง เหงา เศร้า ห่วง ฯลฯ

การแสดงออกทางอารมณ์ท่ไี ม่เหมาะสมมีข้อดีน้อยมาก เช่น ได้ระบายออก แต่ข้อเสยี ท่ี
ตามมามีมาก ได้แก่ การเสยี สมั พันธภาพกบั บุคคลอ่นื และทาให้ตนเองถูกมองเป็นคนก้าวร้าว เจ้า
อารมณ์ ไม่มีเหตุผล ย่ิงถ้าก่อเหตุการณ์ท่รี ุนแรง เช่น ทะเลาะวิวาท ทาร้ายร่างกาย กอ็ าจมีปัญหา
ทางกฎหมายตามมาได้

การฝึ กให้รู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง และฝึ กการควบคุมอารมณ์ ให้มีการแสดงออกและ
พฤตกิ รรมท่เี หมาะสมจึงมคี วามสาคัญ

ธรรมชาติของจิตใจน้ันสามารถมีอารมณ์ได้เพียงอย่างเดียวในแต่ละขณะ และอารมณ์จะ
ผ่านเข้ามาในชวี ิตแล้วกผ็ ่านเลยไป จึงควรร้เู ทา่ ทนั ไม่ยดึ ตดิ ปล่อยให้อารมณท์ ่เี ป็นทุกขผ์ ่านเลยไป
ตามท่คี วรจะเป็น และใส่อารมณ์ท่เี ป็นสขุ เข้าแทนท่ี เราจึงเป็นผู้เลือกได้ว่าจะเกบ็ อารมณ์ใดไว้กบั
ตัว จึงควรมีสตริ ู้เท่าทนั อารมณต์ นเองอยู่เสมอ

คู่มอื การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 176

ใบความรู้ “วิธีจัดการอารมณโ์ กรธ”

อารมณ์ท่เี ป็นทุกข์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงความโกรธ, น้อยใจ, ผิดหวัง มักก่อพฤติกรรมท่ี
เป็นปัญหา เช่น การประชดชวี ติ ด้วยการทาร้ายตนเอง ทาร้ายผ้อู ่นื ใช้ยาเสพติดฯลฯ

ความโกรธอยู่ตรงกนั ข้ามกบั ความสขุ เม่อื มีความโกรธจะไม่มคี วามสขุ
ความโกรธทาให้ทุกข์ และทุกขก์ ว็ นกลบั มาทาให้โกรธมากข้นึ
ความโกรธทาลายมิตรภาพ และความสมั พันธ์ ทาให้ทกั ษะการเข้าสงั คมลดลง
ความโกรธทาลายภาพลกั ษณ์ของตนเอง หน้าท่กี ารงานและความรับผดิ ชอบ เสยี หาย
ความโกรธลดความสามารถทางสติปัญญาและการตดั สนิ ใจ ทาอะไรผดิ พลาดมากข้นึ

แนวทางจดั การอารมณ์ ในเวลาปกติ
1. ฝึ กสติรับรู้อารมณ์ตลอดเวลา เพ่ือรู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง เช่น การถามความรู้สึก

ตนเองในขณะฟังเพลง เป็นการเฝ้ ามองตนเองเม่ือถูกกระตุ้นด้วยส่ิงเร้า การจดบันทกึ อารมณ์ใน
แต่ละวัน โดยจดบันทกึ ทันทีท่มี ีอารมณ์เกิดข้ึน เพราะการเขียนมักสร้างการรู้ตัวได้ดี การคิดไป
เขยี นไปยงั ช่วยทบทวนข้อดขี ้อเสยี ท่ผี ่านมาด้วย และการฝึกบอกตนเองในใจอยู่เสมอ

2. ยอมรับว่าอารมณน์ ้ันไม่อยู่คงท่ี เกดิ ข้นึ แล้วกด็ ับไป ดังน้ันควรยอมรับให้อารมณ์น้ัน ๆ
เปล่ยี นแปลงไปตามความเป็นจริง ไม่ยึดตดิ ไว้หรือดงึ กลบั มาเป็นอารมณ์ใหม่

3. ใสข่ ้อมลู ทางบวกให้ตนเองแทนสะสมขยะความโกรธไว้ในใจ
4. ฝึกยับย้งั ตนเองอยู่เสมอ ๆ
5. หลกี เล่ยี งการคบเพ่ือนเจ้าอารมณ์ เพราะจะทาให้เคยชินแล้วทาตาม
6. สะสมความสขุ ความปิ ติ จากการช่วยเหลือผู้อ่นื และทาให้อารมณ์อ่อนโยน เช่น เล้ียง
สตั ว์ ฯลฯ

แนวทางควบคุมอารมณเ์ มอื่ เกดิ อารมณท์ างลบ
มี 4 ข้นั ตอน คอื
1. สารวจอารมณข์ ณะน้นั ว่ากาลงั มอี ารมณ์เช่นไร
2. ไม่ปล่อยให้อารมณ์โกรธอยู่เหนือเหตุผล คาดการณ์ถึงผลดีและผลเสียของ

การแสดงพฤติกรรมตามอารมณ์ท่เี กดิ ข้นึ
3. ควบคุมอารมณ์ด้วยวิธกี ารท่เี หมาะสมกบั ตนเอง เช่น
3.1 นับ 1 ถึง 10 ในใจ ก่อนท่จี ะพูดอะไรออกไป แม้การนับเลขไม่ได้

ช่วยให้ความโกรธหายไป แต่อาจช่วยลดความเสยี หายลงได้บ้าง
3.2 นับเลขพร้อมกับการสูดหายใจเข้าออกลึก ๆ ช้า ๆ ในระหว่างเลข

แต่ละจานวน การหายใจเข้า – ออก ลึก ๆ ช้า ๆ จากช่องท้อง จะทาให้ร้สู กึ ผ่อนคลายข้นึ

คู่มือการจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 177

3.3 นับสง่ิ ของ หรืออาหารโปรด เช่น ลูกบอล 1 ลกู , ลูกบอล 2 ลูก, ลกู
บอล 3 ลูก, ลูกบอล 4 ลูก, .......... หรือ ไอศกรีม 1 แท่ง, ไอศกรีม 2 แท่ง, ไอศกรีม 3 แท่ง,
ไอศกรีม 4 แท่ง, ..........

3.4 นับถอยหลัง 100, 99, 98, 97, 96, ..........ต้องใช้สมาธิเพ่ิมข้ึน
อาจช่วยให้หยุดคิดถึงเร่ืองท่กี าลงั โกรธได้

4. สารวจอารมณ์อกี คร้ังหน่งึ และแสดงความช่นื ชมตนเองเม่อื ทาได้สาเรจ็
ตวั อยา่ ง แนวทางจดั การอารมณโ์ กรธ กรณศี ึกษา “โตง้ กลบั บา้ นดึก

3 ทมุ่ แล้วโต้งยังไม่ถึงบ้าน ท้งั เหน่อื ยท้งั หิว รถเมลก์ แ็ น่นมากต้องโหนมาตลอดทาง ปกติ
ไม่เกนิ 6 โมงเยน็ โต้งกจ็ ะถึงบ้านแล้ว แต่วันน้ีโต้งพบคนแก่เป็นลมล้มลงระหว่างทาง เลยช่วยพา
เขาไปสง่ บ้านก่อน โต้งร้วู ่าแม่ต้องเป็นห่วงแน่ ๆ แต่กต็ ดิ ต่อแม่ไม่ได้เพราะโทรศัพทโ์ ต้งแบตหมด
หลบั ตากเ็ หน็ ภาพตอนเข้าบ้านได้เลยแม่คงทาตาขวางใสแ่ ล้วกด็ เุ สยี งดงั เป็นชุดแน่ ๆ เฮ้อ ..........
เบ่ือ4 ทุ่ม ถึงบ้านซะที เป็นดังคาดเสียงมาก่อนตัว “ไง กลับบ้านไม่ถูกเรอะ ทาไมรีบกลับนักล่ะ
..........”ความหิว ความเหน่ือย ความน้อยใจประดังข้นึ มา ..........

โต้งควรจดั การอารมณต์ นเองอย่างไร ?
แนวทางจดั การอารมณโ์ กรธ 4 ข้นั ตอน

1. โต้งสารวจอารมณ์ตนเอง รู้ว่าตนเองกาลัง เสียใจ น้อยใจ แม่ควรจะถามเหตุผลกัน
ก่อน ความเหน่ือยและความหิวทาให้เขาหมดความอดทนด้วย เขาอยากตะโกนบอกแม่ว่าถามกนั
กอ่ นไม่ได้หรือไง

2. โต้งคาดการณ์ถึงผลดีและผลเสยี ของการแสดงพฤติกรรมตามอารมณ์ท่เี กิดข้ึน ถ้าเขา
ทาอย่างน้ัน นอกจากไม่มีประโยชน์แล้วจะย่ิงทาให้แม่โกรธมากข้ึน และปัญหาจะย่ิงยาวไม่จบ เขา
เองกเ็ หน่อื ยมากแล้ว และท่แี ม่เป็นอย่างน้ีกเ็ พราะเป็นห่วงเขา

3. โต้ง ควบคุมอารมณ์ด้วยการ นับลูกแกะกระโดดข้ามร้ัวในใจ ทลี ะตัว ทลี ะตัว ..........
ครบ 10 ตัวพอดี

4. โต้งสารวจอารมณ์อกี คร้ังหน่ึง ชมตัวเอง สาเรจ็ แล้วโต้งเดินย้ิมเข้าไปหาแม่ ยกมือไหว้
ขอโทษท่ที าให้แม่เป็นห่วง บอกเหตผุ ลท่กี ลบั บ้านช้า และตอนน้ีโต้งท้งั เหน่อื ยและหิวมาก

เคล็ดลบั ถามใจตนเอง เพอื่ จัดการความโกรธ
1. อีก 10 ปี ข้างหน้า เราจะมองเห็นเร่ืองท่โี กรธอยู่ในขณะน้ีอย่างไร จะยังเป็นเร่ืองท่นี ่า

โกรธอยู่ไหม เพ่ือให้โอกาสตนเองได้ทบทวน มองสถานการณ์ตรงหน้าในมุมท่กี ว้างข้ึน เหน็ ส่งิ อ่นื
ๆ มากข้นึ และเหน็ ปัญหาเลก็ ลง

2. ผลลัพธท์ ่แี ย่ท่สี ุด จากความโกรธในคร้ังน้ีคืออะไร เช่น การถกู คนแซงคิว แย่ท่สี ดุ กค็ ือ
เสยี เวลาเพ่ิมอกี ไม่ก่นี าที แต่การโมโห ทะเลาะกนั อาจเสยี เวลา เสยี อารมณ์มากกว่า

คู่มือการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 178

3. ถามตัวเองว่า ทาไมเขาจึงทากับเรา อาจได้คาตอบว่า เขาไม่ทันคิดอะไร เขากาลังรีบ
เขาไม่ได้ต้งั ใจ หรือไม่ร้ตู ัว เขาคงมเี หตุผลท่เี ราไม่รู้ อาจทาให้เกดิ ความเข้าใจและคลายความโกรธ
ลงได้

( ท่ี ม า แ ผ่ น พั บ เ ร่ื อ ง จั ด ก า ร ค ว า ม โ ก ร ธ ใ ห้ อ ยู่ ห มั ด ด า ว น์ โ ห ล ด ท่ี
http://www.mhc12.go.th/KM/c004.pdf)

คู่มือการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 179

กิจกรรมที่ 10 เรือ่ ง การจัดการความเครียด

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้ เด็กตระหนักถึงผลเสียของความเครียด ต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต
ความสมั พันธก์ บั คนรอบข้าง การเรียน และหน้าท่คี วามรับผิดชอบ และร้วู ิธผี ่อนคลายความเครียด
ด้วยตนเอง

เน้ อื หา

ความเครียดเป็ นสภาวะของร่างกายและจิตใจท่ีตอบสนองต่อปัญหาและความกดดันท่ี
เกดิ ข้นึ ในชีวิตประจาวัน ความเครียดส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิต ความสมั พันธ์กับคน
รอบข้าง การเรียน และหน้าท่คี วามรับผิดชอบ การผ่อนคลายความเครียดอย่างเหมาะสม จะช่วย
ลดผลกระทบต่าง ๆ ลงได้ ซ่งึ สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การทาสมาธิ การฝึกการหายใจ การนวด
คลายเครียด การผ่อนคลายกล้ามเน้ือ และ การใช้จินตนาการ

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตกิ ่อนจดั กจิ กรรม
2. ผู้จัดกจิ กรรมนาสนทนาด้วยคาถามว่า “ความเครียดคืออะไร” ส่มุ ถาม 3-4 คน โดย
ไม่ต้องสรุป แล้วถามต่อว่า “เราจะรู้ได้อย่างไรว่าตัวเองเครียด” เปิ ดโอกาสให้ตอบอย่างท่ัวถึง
โดยไม่ต้องสรุป
3. ผ้จู ัดกจิ กรรมบรรยายเร่ือง “ความเครียด” (ใบความรู้ เร่ือง ความเครียด)
4. แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 - 6 คน ให้น่ังตามกลุ่มของตนเอง แจกแบบประเมินความเครียด
ด้วยตนเอง ให้สมาชิกทุกคนทา เม่ือสรุปผลของตนเองออกมาแล้ว ให้แต่ละคนผลัดกัน
แลกเปล่ยี นประสบการณใ์ นกล่มุ ว่า

4.1 ผลการประเมนิ เป็นอย่างไร
4.2 เคยรู้ตัวมาก่อนไหม ว่าตนเองมีความเครียดหรือไม่ เม่ือรู้แล้วคิดว่ามี
ประโยชนต์ ่อตนเองอย่างไร
4.3 ท่ผี ่านมา มวี ธิ จี ดั การกบั ความเครียดของตนเองอย่างไร
5. ขออาสาสมคั ร เล่า ให้เพ่อื นในกล่มุ ใหญ่ฟัง 1-2 คน
6. แจกใบความรู้ “วิธีผ่อนคลายความเครียดด้วยตนเอง” ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาวิธี
ผ่อนคลายความเครียดท่กี าหนดให้ และทดลองฝึกปฏิบัติกลุ่มละ 1 วิธี แล้วเตรียมตัวสอนเพ่ือน
ในกล่มุ ใหญ่ (กล่มุ ท่ี 1 การทาสมาธ,ิ กล่มุ ท่ี 2 การฝึกการหายใจ, กล่มุ ท่ี 3 การนวดคลายเครียด
, กล่มุ ท่ี 4 การผ่อนคลายกล้ามเน้ือ, กล่มุ ท่ี 5 การใช้จนิ ตนาการ)
7. ให้แต่ละกลุ่มผลัดกันออกมาสอนเพ่ือนในกลุ่มใหญ่ ถึงวิธีผ่อนคลายความเครียดด้วย
ตนเอง ท่กี ล่มุ ได้เรียนรู้

คู่มอื การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 180

8. ผู้จัดกจิ กรรมถามในกลุ่มใหญ่ว่า “คิดว่าการเรียนรู้ในวันน้ีเป็นประโยชน์อย่างไร และ
สามารถนาไปใช้กบั ตนเองได้หรือไม่” เปิ ดโอกาสให้ตอบ โดยไม่ต้องสรปุ

9. ผ้จู ดั กจิ กรรมสรุปปิ ดการสอน (แนวทางสรปุ ปิ ดการสอน)
10. ให้เดก็ บนั ทกึ ลงในสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรม
11. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติหลังจัดกจิ กรรม
12. ผ้จู ัดกจิ กรรมบันทกึ ผลการจดั กจิ กรรม

คู่มอื การจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 181

ใบความรูเ้ รื่อง “ความเครียด”

ความเครียด เป็ นสภาวะของร่างกายและจิตใจท่ีเกิดข้ึน เป็ นการตอบสนองต่อความ
กดดันท่ผี ่านเข้ามาในชวี ติ ประจาวัน

ความกดดนั คือผลรวมของ 1) สภาพปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ในชวี ติ เช่น ปัญหาการเรียน ปัญหา
สุขภาพ ปัญหาการเงิน ปัญหาความขัดแย้งกับเพ่ือน ฯลฯ กับ 2) ความคิดและการประเมิน
สถานการณข์ องคน ๆ น้ัน คนท่เี อาจริงเอาจัง ไม่ยืดหยุ่น ใจร้อน โดดเด่ยี ว มองอะไรไม่ดีไปหมด
มักจะเครียดง่าย แต่คนท่มี องโลกแง่ดี ใจเยน็ มองว่าปัญหามีทางแก้ มีความช่วยเหลือท่พี ร้อมอยู่
มีเพ่อื นหรือครอบครัวให้กาลงั ใจ มักจะเครียดน้อย

ความเครียดจึงมีปัญหาเป็นตัวกระต้นุ และมกี ารคดิ ประเมนิ สถานการณเ์ ป็นตัวบ่งบอกว่า
เครียดมากน้อยแค่ไหนความเครียดในระดบั พอดี ๆ จะช่วยกระตุ้นให้มีพลัง มีความกระตือรือร้น
มุ่งม่ันเอาชนะปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ข้ามาในชีวิตได้ แต่ถ้ามีความเครียดท่เี กนิ พอกจ็ าเป็น
ท่จี ะต้องผ่อนคลายออกไป สามารถรู้ได้ว่าตนเองเครียด โดยสังเกตจากอาการ ท้ังทาง
ร่างกายและจิตใจ เช่น

ทางกาย : เหง่อื ออก ใจส่นั ปวดศีรษะ นอนไม่หลบั กนิ จุ หรือกนิ ไม่ลง ฯลฯ
ทางจติ ใจ อารมณ์ : ต่นื เต้น กงั วล เหน่ือยหน่าย ท้อแท้ สบั สน หงดุ หงิด ฯลฯ
ความเครียดกบั อารมณเ์ กยี่ วขอ้ งกนั อย่างไร ?
อารมณ์ท่เี ป็นทกุ ข์ เป็นความกดดันอย่างหน่ึงท่กี ระต้นุ ให้เกดิ ความเครียดตามมา และเม่อื
เกิดความเครียดข้ึน อาการเครียดทางใจกเ็ ป็นส่ิงเร้าภายในตัวเราท่กี ระตุ้นให้เกิดอารมณ์ท่ีเป็ น
ทกุ ขต์ ามมาได้อกี
บ่อยคร้ังจะพบว่า เม่ือคนเราเครียดหรือทุกข์ เราจะหมกมุ่นอยู่กับความทุกข์จนเกิด
อารมณ์ทุกข์แบบแผ่นเสยี งตกร่อง หาทางออกจากความทุกข์ไม่ได้ ลืมธรรมชาติของจิตใจไปว่ามี
ได้ท้งั ทุกข์และสุข ถ้าเราคิดและรู้สกึ แต่ส่งิ ท่เี ป็นทุกข์จิตใจกจ็ ะทุกข์ ถ้าเราคิดและรู้สกึ ในส่งิ ท่เี ป็น
สขุ จิตใจกจ็ ะสขุ ตามมา และสาเหตุสาคัญท่สี ดุ ของทุกขก์ ค็ อื การท่ใี จเราไม่ยอมให้ส่งิ น้ัน ๆ ผ่านพ้น
ไปตามธรรมชาติท่คี วรจะเป็น ยงั คงยึดไว้ จงึ ยดึ ความทกุ ข์ไว้ด้วย
ผลกระทบของความเครียดต่อตนเอง
ทางกาย : ทาให้ป่ วยบ่อยเพราะภูมิค้มุ กนั ลดลง และเกดิ โรคจากความเครียด เช่น ความ
ดนั โลหิตสงู โรคกระเพาะอาหาร โรคหัวใจ โรคปวดหัว ไมเกรน ฯลฯ
ทางใจ : เบ่อื หน่าย ท้อแท้ สบั ส หงุดหงิด ว้าว่นุ วติ กกงั วล หมดไฟในการทางาน ฯลฯ
ทางสงั คม: เสยี บุคลิกภาพ เกบ็ ตัว ทกั ษะทางสงั คมเสยี ไป เสยี สมั พนั ธภาพกบั ผ้อู ่นื
การเรียนและหน้าท่กี ารงาน : ความรับผดิ ชอบเสยี ไป บกพร่องในหน้าท่ี

คู่มอื การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 182

แนวทางจดั การกบั ความเครียด
1. หม่ันสงั เกตตนเองว่ามีความผิดปกติทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม อนั เป็นผลจาก

ความเครียดว่ามีมากน้อยแค่ไหน เช่น อาจลองประเมนิ ด้วยแบบวัดความเครียดด้วยตนเอง
2. วิเคราะห์ปัญหาท่ที าให้เครียด และแก้ไขปัญหาน้นั โดยเรว็
3. พยายามปรับเปล่ยี นความคิดทางลบไปเป็นคิดทางบวก มองโลกตามความเป็นจริง
4. ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีท่ตี นเองค้นุ เคย เช่น ดหู นงั ฟังเพลง ออกกาลงั กาย เล่น

กฬี า ทางานอดิเรกท่ชี อบ ฯลฯ
5. ใช้เทคนคิ เฉพาะ เม่อื วิธที ่คี ้นุ เคยไม่ได้ผล เช่น การฝึกการหายใจ การนวดคลายเครียด

การผ่อนคลายกล้ามเน้ือ การใช้จินตนากา การทาสมาธิ ฯลฯ

แนวทางสรุปปิ ดการสอน
ทุกคนย่อมมีความเครียดอยู่บ้างไม่มากกน็ ้อย ความเครียดไม่ใช่สภาวะท่ีย่ังยืน มีการ

เปล่ียนแปลงไปตามเวลา สภาพปัญหาและความกดดัน และท่สี าคัญคือมุมมองหรือความคิดของ
เราท่ปี รับเปล่ยี นไป

ผู้ท่ีมีความเครียดในระดับปกติ ถือว่าเป็นคนท่สี ามารถจัดการกับสภาวะความเครียดได้
อย่างสมดุล และเกดิ ผลในทางสร้างสรรค์ ใช้ความเครียดเป็นแรงผลักดันให้งานสาเรจ็

ผ้ทู ่มี ีความเครียดระดบั สงู ถงึ สงู มาก ๆ อาจมผี ลทาให้ชวี ติ ไม่มคี วามสขุ จนถึงอยู่ในภาวะ
วกิ ฤตไิ ด้

ทุกคนจึงควรเรียนรู้และทาความเข้าใจ เพ่ือป้ องกันไม่ให้เกิดอาการเครียดและโรคจาก
ความเครียด และสามารถผ่อนคลายความเครียด ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม

หมายเหตุ แผ่นพับเทคนิคคลายเครียดด้วยตนเอง 5 ชุด ใน PDF files สาหรับการฝึกในกล่มุ

คู่มอื การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต) 183

กิจกรรมที่ 9 เรื่อง โฆษณา เชือ่ ไดห้ รือไม่

วตั ถุประสงค์
เพ่อื ฝึกให้เดก็ คดิ วเิ คราะห์และเลือกซ้อื สนิ ค้า ผลิตภณั ฑต์ ่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

เน้ อื หา

1 การประชาสมั พนั ธ์ ชักชวนซ้อื สนิ ค้า
2 ข้อดี - ข้อเสยี ของสนิ ค้า ผลิตภัณฑ์
3 การเปรียบเทยี บความค้มุ ค่า ประโยชนต์ ามความเหมาะสมของสนิ ค้า ผลติ ภณั ฑ์

กระบวนการ

1. ฝึกสมาธแิ ละฐานสติกอ่ นการจดั กจิ กรรม
2. แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน ให้แต่ละกลุ่มมีท้งั เดก็ เลก็ (5-8 ปี ) และเดก็ โตกว่า (9-10
ปี ) อยู่รวมกนั
3. ผู้จัดกิจกรรมมอบหมายให้แต่ละกลุ่มแข่งกันโฆษณาสินค้ากลุ่มละ 1 ช้ิน (ผูส้ อน
เตรียม ลกู อม ขนมถงุ กรุบกรอบ บะหมีส่ าเรจ็ รูป นา้ อดั ลม ขนมหวาน เชน่ ชอกโกแลต ฯลฯ หรือ
ใชก้ ระดาษเขียนทาเป็นบตั รคาแจก) เพ่อื จะโหวตเลอื กกนั ว่าสนิ ค้าของกล่มุ ใดน่าซ้อื มากท่สี ดุ
4 การออกมานาเสนอ บทบาทสมมตุ เิ พ่ือชกั ชวนซ้อื ผลติ ภณั ฑ์ สนิ ค้า
5. ต้ังคาถามให้อภิปรายแสดงความคิดเห็นในกลุ่มใหญ่ ผู้สอนนาอภิปราย ให้ความเห็น
เพ่ิมเตมิ และสรุป ทลี ะประเดน็ ดังน้ี
5.1 คิดว่าคาโฆษณาเป็นความจริงท้งั หมดหรือไม่ (ไม่จริงทงั้ หมด เพราะจะเลือกเอาแต่
ส่งิ ดี ๆทีค่ นชอบฟัง มาพดู และมกั พูดเกินความจริง ใหค้ นอยากซ้ือ โดยไม่บอกถงึ ขอ้ เสยี เลย เช่น
ลกู อมกินแลว้ ทาใหฟ้ ันผุ /ขนมถงุ และบะหมีส่ าเรจ็ รูป มีเกลือและผงชูรสมาก เป็นพิษต่อร่างกาย/
นา้ อัดลมเป็นกรดกดั กระเพาะได/้ ขนมหวานมีนา้ ตาลมากทาใหเ้ ป็นโรคอว้ น โรคเบาหวาน โรค
ความดนั สงู เมือ่ โตข้ึนฯลฯ)
5.2 เราควรเช่อื สง่ิ ท่เี ขาบอกหรือไม่ เพราะอะไร (ไม่ควรเชือ่ คาโฆษณา เพราะกนิ แลว้ อาจ
มีผลเสยี ทาใหเ้ กิดโทษแกร่ ่างกาย และเสียเงินแพงแต่ไดข้ องไม่ดี ควรพิจารณาอย่างรอบคอบดว้ ย
เหตุผล กอ่ นคิดจะซ้ือ ลกู อม ขนมถงุ บะหมีส่ าเรจ็ รูป นา้ อดั ลม นา้ หวาน และของขบเค้ียวอื่นๆ)
6. ผ้จู ดั กจิ กรรมทบทวน “สรุปว่าโฆษณาเช่อื ได้ไหม” (ใหต้ อบโดยอิสระ เช่น ไม่เชอื่ โดน
หลอก ฯลฯ)
7. ให้เดก็ บนั ทกึ ลงในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรม
8. ฝึกสมาธแิ ละฐานสตหิ ลงั จดั กจิ กรรม
9. ผ้จู ัดกจิ กรรมบนั ทกึ ผลการจดั กจิ กรรม

คู่มอื การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวติ ) 184

สือ่ / อุปกรณ์

1 สนิ ค้า ผลิตภัณฑท์ ่จี ะนาเสนอ
2 ใบคาศพั ท์ บตั รคา
3 คลิปประชาสมั พนั ธข์ องผลิตภัณฑ์
4 ใบกจิ กรรม
5 Post it note

การวดั ประเมนิ ผล

1 การถาม – ตอบ
2 การสงั เกต
3 วธิ กี ารนาเสนอผลิตภณั ฑ์ สนิ ค้า

บนั ทึกของผูส้ อน

1 การมีสว่ นร่วมและความเข้าใจในสนิ ค้า ผลิตภณั ฑ์
2 การสงั เกตการณเ์ ลอื กซ้อื สนิ ค้า ผลิตภัณฑ์

ภาคผนวก

รายชือ่ สถานรองรบั ผูม้ สี ่วนร่วม และวิทยากรพเี่ ล้ ียงประจาโครงการฯ ในการร่าง
คู่มอื การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตทวั่ ไป (ระบบการเรียนรูช้ ีวิต)

รายชือ่ สถานรองรบั

1. สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านปากเกรด็
2. สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านราชสมี า
3. สถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านอุดรธานี
4. สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านเชียงใหม่
5. สถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านปัตตานี

รายชื่อผูม้ ีส่วนร่วม ผ้ปู กครองสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านปากเกรด็
สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านปากเกรด็
1. นายวิทยา บุตรเพชรรัตน์ ผ้ปู กครองสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านราชสมี า
2. นางสาวกาญจนา เอมดษิ ฐ์ สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านราชสมี า
3. นายทรงศักด์ิ จินะกาศ ผ้ปู กครองสถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านอุดรธานี
4. นางสาวสภุ าพร ลอื ชา หัวหน้ าฝ่ ายการศึกษาและวิชาชีพสถานสงเคราะห์
5. นางอรนุช เลศิ ไกล เดก็ หญงิ บ้านอุดรธานี
6. พสิ มยั ลพี ฤติ ผ้ปู กครองสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านเชียงใหม่
สถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านเชยี งใหม่
7. นางอนงค์ เจริญวยั สถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านปัตตานี
8. นายณฐั ธติ ์ิ เตชะบุญ
9. นางสาวซอเฟี ย จรลั ศาสตร์

รายชื่อวิทยากรพเี่ ล้ ยี งประจาโครงการฯ ทป่ี รึกษากนมสขุ ภาพจิต
วิทยากรท่เี ล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้าน
1. นายแพทยย์ งยุทธ วงศ์ภริ มศาสนต์ิ ปัตตานี
2. อาจารยว์ ชิ าน กาญจนไพโรจน์ วิทยากรท่ีเล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน
เชยี งใหม่
3. อาจารย์โสภณ จุโลทก วิทยากรท่ีเล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน
ปากเกรด็
4. อาจารย์อมร ชุมศรี วิทยากรท่ีเล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน
ราชสมี า
5. อาจารยจ์ ุฑามาส ชุ่มเมืองปัก วิทยากรท่เี ล้ียงประจาสถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้าน
อดุ รธานี
6. อาจารย์ชัยรัตน์ สขุ พันธ์ ผู้จัดการโครงการเตรียมความพร้อมเดก็ และเยาวชน
ออกสสู่ งั คมอย่างเป็นสขุ
7. อาจารย์ลดั ดา จติ รวฒั นแพทย์


Click to View FlipBook Version