The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มสะสมผลงาน PortFolio

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แฟ้มสะสมผลงาน PortFolio

แฟ้มสะสมผลงาน PortFolio

P O RT F O L I O แฟ้มฟ้ ปฏิบัฏิติบักติารสอนในสถานศึก ศึ ษา โรงเรียรีนมัธมัยมเทศบาล 6 นครอุดอุรธานี อำ เภอเมือมืงอุดอุรธานี จังจัหวัดวัอุดอุรธานี สำ นักนัการศึกศึษาเทศบาลนครอุดอุรธานี จัดจัทำ โดย นักนัศึกศึษาปฏิบัฏิติบักติารสอนในสถานศึกศึษา สาขาวิชวิาทัศทันศิลศิ ป์ นายปรัชรัชานนท์ ยุพยุานิชนิย์ รหัสหั 62100103133 คณะครุศรุาสตร์ มหาวิทวิยาลัยลัราชภัฏภัอุดอุรธานี ปีกปีารศึกศึษา 2566


แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี อำเภอเมืองุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักการศึกษาเทศบาลนครอุดรธาน ปรัชชานนท์ ยุพานิชย์ 62100103133 เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566


แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี อำเภอเมืองุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักการศึกษาเทศบาลนครอุดรธาน ปรัชชานนท์ ยุพานิชย์ 62100103133 เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566


ก คำนำ แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ได้รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวกับการสอน วิชาทัศนศิลป์ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เกิดจาการวิเคราะห์สภาพการจัดการเรียนการสอน เพื่อวางแผนพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพ โดยทุกขั้นตอนได้คำปรึกษา และตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ เป็น อย่างดี แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ประกอบด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์สภาพปัญหาการสอน การวางแผนการวัดผลและประเมินผลอย่างละเอียด ตัวอย่างเครื่องมือวัดผล และตัวอย่างชิ้นงานนักเรียน ซึ่ง ทุกชิ้นได้ผ่านการตรวจ สอบแล้ว เช่นเดียวกัน ขอขอบคุณ นายกฤษดา โสภา ผู้อำนวยการสถานศึกษโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนร่วมในการให้กำลังใจในการ จัดทำทุกขั้นตอน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และผลดีต่อการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการศึกษาต่อไป นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาทัศนศิลป์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1 ประวัติผู้จัดทำ 2 ประวัติการศึกษา 3 ประวัติสถานศึกษา 4 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู 13 1. ด้านการเรียนการสอน 14 1) สภาพการจัดการเรียนการสอน 14 2) การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 14 3) ตารางสอน 16 4) ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ 5) บันทึกผลหลังการสอน 18 34 6) ตัวอย่างชิ้นงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ 35 7) ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 38 2. ด้านครูที่ปรึกษาและครูประจำวิชา 46 1) บันทึกการโฮมรูม (home room) 46 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติตน 47 ภาคผนวก คำสั่งแต่งตั้ง 49 รูปภาพ 59


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ประวัติผู้จัดทำ ประวัติการศึกษา ประวัติสถานศึกษา


2 PROFILE ชื่อ – สกุล นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์ ชื่อเล่น แน็ค หมู่โลหิต O เกิดวันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ.2543 เป็นบุตรคนที่2 จากจำนวน 3 คน สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนา พุธ บิดาชื่อ นายสมพาน ยุพานิชย์ มารดาชื่อ นางเพียรเพ็ญ ยุพานิชย์ ที่อยู่ปัจจุบัน 114/3 บ้านหนองลุมพุก ต.หนองเรือ อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู ประวัติผู้จัดทำ ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ที่สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รหัสนักศึกษา 62100103133 คติประจำใจ เล่นได้ ก็ต้องทำงานได้ อาชีพที่อยากเป็นในอนาคต ครู อุปนิสัย เป็นคนตลกสนุกสนาน ร่าเริง แจ่มใส หากได้จริงจังก็จะทำให้สุด เบอร์โทรศัพท์0956828577 E-mail: nackpratchanon2543@gmail.com


3 Tระดับอุดมศึกษา กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา ทัศนศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุดรธานีตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหนองลุมพุก ตำบลหนองเรือ อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู ระดับมัธยมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโนนสังวิทยาคาร ตำบลโนนสัง อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนโนนสังวิทยาคาร ตำบลโนนสัง อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู ประวัติการศึกษา .


4 T6ประวัติสถานศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน โรงเรียนเทศบาล 6 ไลออนส์อุทิศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2519 บนพื้นที่ ฌาปนสถานวัดป่าโนนนิเวศน์ บนพื้นที่ 39 ไร่ ๓ งาน 20 ตารางวา จัดตั้งโดยคณะเทศมนตรีชุดแรก โดย นายมณเฑียร แก้ววงศ์ เป็นนายกเทศมนตรี นายวัลลภ ประดิษฐ์ด้วงและนายกิติศักดิ์ หัตถ สงเคราะห์ เป็นเทศมนตรี พร้อมด้วยสโมสรไลออนส์อุทิศ ให้การสนับสนุนอาคารเรียนไม้ 1 ชั้น 1 หลัง จำนวน 10 ห้องเรียน เป็นเงิน 400,000 บาท ( สี่แสนบาทถ้วน ) และเทศบาลสมทบ อีก 170,000 บาท ( หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน ) เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียน 365 คน ครู 14 คน มีนายสมชาย ประกิระสา เป็นครูใหญ่ ปี พ.ศ. 2521 จัดสร้างอาคารเรียน ค.ส.ล. 3 ชั้น 15 ห้องเรียน ด้วยเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เป็นเงิน 2,100,000 บาท ( สองล้านหนึ่งแสนบาทถ้วน ) ปี พ.ศ. 2539 รื้อถอนอาคารเรียนไม้ โรงอาหาร และห้องประชุม เพื่อใช้พื้นที่ก่อสร้าง อาคารศูนย์เยาวชนเทศบาลนครอุดรธานี 1 หลัง ปี พ.ศ. 2542 เข้าร่วมโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เปิดทำการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 ห้องเรียน พร้อมทั้งจัดสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น จำนวน 12 ห้องเรียน โดยใช้เงินอุดหนุนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2543 เปิดรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 2 ห้องเรียน พร้อมทั้ง จัดสร้างอาคารเรียน 4 ชั้น จำนวน 12 ห้องเรียน อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง ห้องน้ำห้องส้วมจำนวน 1 หลัง โดยใช้เงินอุดหนุนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นเงิน 13,027,444 บาท ปี พ.ศ. 2546 ได้รับเงินอุดหนุนจากกรมการปกครองในการจัดสร้างอาคารเรียน 4 ชั้น 12 ห้องเรียน 1 อาคาร เป็นเงิน 6390,000 บาท ( อาคาร 3 ) ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับเงินอุดหนุนจากกรมการปกครองในการจัดสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น 34 ห้องเรียน 1 อาคาร เป็นเงิน 31,000,000 บาท ( อาคาร 4 ) ปี พ.ศ. 2554 ได้รับคำสั่งเทศบาลนครอุดรธานี ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียน จาก "โรงเรียน เทศบาล 6 ไลออนส์อุทิศ" เป็น "โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี"


5 2. ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ตราประจำโรงเรียน ท้าวเวสสุวัณ อักษรย่อ ท.6 คำขวัญประจำโรงเรียน เรียนดี สามัคคี มีวินัย ใฝ่กีฬา จรรยางาม ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นอินทนิล หมายถึง ลูก ท.6 ทุกคน จึงควรมีจิตใจที่แข็งแกร่ง ห้าวหาญ มุมานะ และอดทน ภายใต้ท่าทีที่สุภาพ เรียบร้อย อ่อนโยน นิ่มนวล สดชื่น และเบิกบาน สีประจำโรงเรียน ม่วง หมายถึง ผู้ที่มีจิตใจที่บริสุทธิ์และสงบ ย่อมก่อให้เกิด ปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาสังคมและประเทศชาติ สีม่วง หมายถึง สี่แห่งผู้รู้ สี่ที่มีความคิดสร้างสรรค์ และผู้ที่มีความ สงบในจิตใจ วิสัยทัศน์ โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี เป็นสถานศึกษาดี มีมาตรฐาน ประสานงานเครือข่าย และชุมชน ผู้เรียนดำรงตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน 2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร 4. ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา 1. การศึกษามีประสิทธิภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา


6 2. หลักสูตรมีความทันสมัย และเป็นสากล 3. ผู้เรียนมีศักยภาพ และความถนัดทางด้านวิชาการ 4. ผู้เรียนมีศักยภาพ และความถนัดทางด้านดนตรี 5. ผู้เรียนมีศักยภาพ และความถนัดทางด้านกีฬา 6. ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นท้องถิ่น 7. ผู้เรียนได้อนุรักษ์ความเป็นท้องถิ่นของตนเอง 8. ครูและผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม 9. ผู้เรียนมีทักษะชีวิตที่ดี และถูกต้อง 10. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครู ผู้เรียน และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา แผนผังบริเวณโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ภาพที่ 1 แผนผังบริเวณโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 1 อาคาร 1 8 อาคารอเนกประสงค์ (โดม) 2 อาคาร 2 9 อาคารศูนย์อาหาร 3 อาคาร 3 10 สนามฟุตซอล 4 อาคาร 4 11 ป้อมยาม 5 อาคาร 5 12 โรงฝึกงานเกษตร


7 6 ห้องประชุม 13 ที่จอดรถจักรยานยนต์ 7 อาคารโรงฝึกงาน อาคารสถานที่ ภาพที่ 3 อาคาร 2 ประกอบด้วย ห้องเรียนระดับ ม.1 ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด และห้องพยาบาล ภาพที่ 2 อาคาร 1 ประกอบด้วย ห้องเรียและห้องพักนักเรียนกีฬา ฟุตบอล ภาพที่ 4 อาคาร 3 ประกอบด้วย ห้องเรียนระดับ ม.3 ห้องปฏิบัติการ ทางคอมพิวเตอร์และห้องดนตรี นาฏศิลป์ ภาพที่ 5 อาคาร 4 ประกอบด้วย ห้องเรียนระดับ ม.ปลายห้อง คอมพิวเตอร์ ห้องเคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา ห้องชมรม ทูบีนัมเบอร์วัน ห้องทะเบียนวัดผลและอำนวยการ ภาพที่ 6 อาคารศูนย์อาหาร ภาพที่ 7 อาคารโรงฝึกงาน


8 3. ข้อมูลบุคลากรของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. จำนวนบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี แสดงดัง ตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 บุคลากรของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ลำดับ กลุ่มสาระกรเรียนรู้ จำนวน 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 6 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 12 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 9 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 6 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 6 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 7 9 กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 พนักงานสนับสนุนการสอน/นักการภารโรง 10 พนักงานธุรการ 1 11 พนักงานพัสดุ 1 12 พนักงานการเงิน 1 13 นักการภารโรง 5 รวม 84 ภาพที่ 8 ห้องประชุมโรงเรียน ภาพที่ 9 อาคารอเนกประสงค์ (โดม) “อาคาร รักษ์ถิ่นพัฒนาเมือง”


9 2. จำนวนนักเรียนโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี แสดงดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 2 จำนวนนักเรียนโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี ลำดับชั้น เพศ จำนวน ชาย หญิง มัธยมศึกษาปีที่ 1 144 95 239 มัธยมศึกษาปีที่ 2 121 110 231 มัธยมศึกษาปีที่ 3 120 85 205 มัธยมศึกษาปีที่ 4 104 152 256 มัธยมศึกษาปีที่ 5 63 123 186 มัธยมศึกษาปีที่ 6 96 99 195 รวม 1,312 3. จำนวนนักศึกษาที่ปฏิบัติการสอนโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี แสดงดัง ตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 3 จำนวนนักศึกษาที่ปฏิบัติการสอน ลำดับ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา จำนวน 1 นายรัตนชัย สายสินธ์ ภาษาไทย 1 2 นางสาวธนาพร ศรีพละธรรม ภาษาไทย 1 3 นางสาวมรินทิพย์ พุทรา ภาษาไทย 1 4 นางสาวละอองดาว ออกดีเลิศ นาฏศิลป์ 1 5 นางสาวเกศรา สานอย ภาษาจีน 1 6 นางสาวจุทารัตน์ แสงรถ ภาษาจีน 1 7 นางสาววิภาดา ไชยโชค ภาษาจีน 1 8 นายเศรษฐศกัดิ์ศรีจมุพล ทัศนศิลป์ 1 9 นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์ ทัศนศิลป์ 1 10 นายพันฑกานต์ กิติศรีวรพันธุ์ ทัศนศิลป์ 1 11 นางสาวฐิติวรดา สีมา พลศึกษาและสุขศึกษา 1 12 นายจิรวัฒน์ ชีระจิตต์ พลศึกษาและสุขศึกษา 1 13 นายณัฐกานต์ โหมดนอก คอมพิวเตอร์ศึกษา 1 14 นายณัฏชนน เล็งไทสงค์ คอมพิวเตอร์ศึกษา 1


10 ลำดับ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา จำนวน 15 นายณัฐดนัย ขมิ้นเครือ คอมพิวเตอร์ศึกษา 1 16 นางสาวพันภศา รสดี พระพุทธศาสนา 1 17 นายสิทธิชัย ประเคนคชา คณิตศาสตร์ 1 18 นางสาวจารุกร สทุธิภกัดิ์วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 1 19 นายธนกฤต กิ๊วระแยง พระพุทธศาสนา 1 20 นายภูริทัต ศรีสุนาครัว พระพุทธศาสนา 1 21 นางสาวปิยะนุข อินทรสร้อย วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) 1 22 นางสาวอัฉราภรณ์ พรหมสี สังคมศึกษา 1 23 นางสาววีไลวัลย์ เที่ยงผดุง สังคมศึกษา 1 24 นางสาวกานต์มณี มาลาศรี คณิตศาสตร์ 1 25 นางสาวธนิษฐา แสงพา คณิตศาสตร์ 1 26 นางสาววันทนา พงษ์พุทธา คณิตศาสตร์ 1 27 นางสาวรินรดา รุ่งเรือง สังคมศึกษา 1 28 นายอภิรกัษ์อดุมศกัดิ์คณิตศาสตร์ 1 29 นางสาวธนากรณ์ ปุณะปรุง พระพุทธศาสนา 1 รวม 29 4. อาคารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาพที่ 10 อาคารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ


11 5. แผนผังที่ตั้งสถานที่ฝึกประสบการณ์ 6. แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารโรงเรียน ภาพที่ 11 แผนผังที่ตั้งสถานที่ฝึกประสบการณ์ ภาพที่ 12 นายกฤษดา โสภา ผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อำนวยการสถานศึกษาเชี่ยวชาญ ภาพที่ 13 นายธนากร รัฐถาวร รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ภาพที่ 14 นายกิตติ กุลธนานพเดช รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารงบประมาณ


12 ภาพที่ 21 นายปรีชา จันทร์หล้า ครู ภาพที่ 22 นางสาววิรัญดา จำปาหอม ครูจ้างสอน คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาพที่ 15 นายพินิจ จันทร์งาม รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารงานบุคลากร ภาพที่ 16 นายวัฒนะ มั่งคั่งดี รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ภาพที่ 17 นางสาวกรรณิการ์ เหง้าปุ่น ครูชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ภาพที่ 18 นางสาวชัญณัฏฐ์ พูลสวัสดิ์ ครูชำนาญการพิเศษ ภาพที่ 19 นายชำนาญ แก่นสุวรรณ ครูชำนาญการพิเศษ ภาพที่ 20 นายวีระพล แดนโพธิ์ ครูชำนาญการพิเศษ


ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเอง ทางด้านวิชาชีพครู ด้านการเรียนการสอน ด้านครูที่ปรึกษาและครูประจำวิชา


14 1. ด้านการเรียนการสอน สภาพการจัดการเรียนการสอน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในรั้วโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ตามลำดับ สภาพการจัดการเรียนการสอนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามรูปแบบที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการลงมือปฏิบัติใน ทักษะการคิดสร้างสรรค์ การประยุกต์ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และตกผลึก เกิดเป็นผลงานที่สมบูรณ์แบบ และผู้สอนจะมีบทบาทหน้าที่เป็นผู้ที่ชี้แนะแนวทางในการทำงาน ซึ่งจะมีตัวช่วยในการจัดการเรียนรู้ที่จะคอยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ คือเกมส์ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การตัดสินใจทางด้านศิลปะ และสื่อการเรียนการสอนที่จะมาช่วยเสริมในบางเนื้อหา ประเภททฤษฎีที่ข้อมูลจำเป็นที่จะต้องใช้การเข้าใจและการจำจด เพื่อให้ทั้งภาคปฏิบัติ และภาคทฤษฎีผสานรวมกัน เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนต่อไป การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. การปรับตัว เป็นอีกหนึ่งในปัญหาที่พบขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในช่วงแรก ของการเริ่มการจัดการเรียนการสอนส่งผลให้กิจกรรมการเรียนการสอนไม่ต่อเนื่อง ติดขัดบางจังหวะ ทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหาของส่วนเนื้อหาที่ไม่ต่อเนื่อง ซึ่งสาเหตุเกิดจาการผลัดเปลี่ยนจากนักศึกษา ที่เป็นผู้รับความรู้มาเป็นผู้ให้ความรู้แก่ผู้เรียน และจากการตื่นเต้น จำเนื้อหาในการสอนไม่ได้ ซึ่งในส่วนของการแก้สภาพปัญหานี้ คือการค่อยๆ ปรับตัวและเรียนรู้การสอนของครูพี่เลี้ยงแล้วนำมา วิเคราะห์รูปแบบการสอนให้สอดคล้องกับการสอนของตนเอง 2. แผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง เป็นอันดับแรก ผู้เรียนจะได้รับความรู้ประสบการณ์และทักษะต่างๆ ขึ้นอยู่กับการจัดกิจกรรมของ ผู้สอน การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้จึงจำเป็นที่จะต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบและปรับแก้ไข ในส่วนที่บกพร่องและเสริมในส่วนที่ขาดหายซึ่งให้ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


15 3. ผู้เรียน การที่จะทำให้การเรียนการสอนประสบความสำเร็จและเป็นไปตาม วัตถุประสงค์การเรียนรู้นั้น จะต้องมีผู้เรียนเข้ามาเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการสร้างกระบวนการ การเรียนรู้เพื่อให้ตอบสนองแก่ความต้องการของผู้เรียนเอง หากผู้เรียนขาดความเอาใจใส่ ไม่กระตือรือร้น ละเลยในหน้าที่เป็นผู้เรียนที่ดี สิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้เกิดผลกระทบในหลายๆ ด้านที่จะ ตามมา เช่น การขาดเรียน ไม่ส่งงาน การบ้านไม่ทำ ปัญหาเหล่านี้หากผู้สอนไม่นำมาวิเคราะห์ หาสาเหตุอย่างถี่ถ้วน จะไม่สามารถค้นพบต้นต่อของปัญหาได้ในที่สุด ทางออกในการแก้ไขปัญหา เหล่านี้ต้องได้รับการร่วมมือจากผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครองและสถานศึกษาที่จะต้องสร้างกฎเกณฑ์ที่ เข้มแข็งสามารถช่วยกันแก้ไขปัญหาเหล่านี้ให้หมดไป 4. เวลา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระยะเวลาในแต่ละวิชา เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กันในการให้ความรู้แก่ผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเรียนที่มีประสิทธิภาพ การจัดสรรค์ระยะเวลาจึงถูกกำหนดโดยแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งมีหน่วยกิตเป็นตัวบ่งบอกเวลา ของแต่ละวิชา ซึ่งหากเป็นไปตามที่กำหนด ปัญหาในที่นี้คงไม่เกิดขึ้น หากแต่การเรียนการสอนในบาง รายวิชากินเวลาล่วงเกินในวิชาอื่น ควบคู่ไปกับรายวิชาที่จะต้องให้ผู้เรียนใช้ห้องเรียนในการปฏิบัติการ เรียนการสอน จึงจำเป็นต้องใช้การเดินเรียนในการมาเรียน ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการเดินทาง และนี้ คือสาเหตุหลักที่เวลาในการเรียนการสอนที่ต้องเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ การแก้ไขหากพิจารณาให้ดี นำเหตุและผลมาปรับแก้ไข ซึ่งสามารถใช้หลัก ทฤษฎีเรียนบนห้องเรียนประจำ คือผู้สอนจำเป็นต้อง สอนบนห้องเรียนผู้เรียน และปฏิบัติเรียนห้องเรียนวิชา คือให้ผู้เรียนมาเรียนในห้องเรียนในรายวิชาที่ ต้องใช้ทักษะการปฏิบัติในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และอีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญคือ สร้างความเข้าใจ ให้กับคุณครูในแต่ละท่าน ให้กำชับเวลาในการทำกิจกรรมการเรียนการสอนให้ไม่ล่วงเลยเวลาที่ กำหนด ซึ่งจะช่วยให้สามารถลดระยะเวลาที่เสียไปกับการเดินเรียนของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


16 ตารางสอน ตารางสอนรายวิชาทัศนศิลป์ ภาคเรียนที่ 1/2566


17 ตารางสอนรายวิชาทัศนศิลป์ ภาคเรียนที่ 2/2566


18 ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 1/2566 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ม. 4-6/2 บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทาง ทัศนศิลป์ 2. สาระสา คญั(ความคิดรวบยอด) การปฐมนิเทศ เป็นการสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างครูกับนักเรียน เป็นการตก ลงกันในเบื้องต้นก่อนที่จะเริ่มการเรียนการสอน ครูได้รู้จักนักเรียนดียิ่งขึ้น รับทราบความ ต้องการ ความรู้สึก และเจตคติต่อวิชาที่เรียน ในขณะเดียวกันนักเรียนได้ทราบความต้องการ ของครู แนวทางในการจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวจะ น าไปสู่การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง เหมาะสม ช่วยให้นักเรียนคลายความวิตกกังวล สามารถเรียนได้อย่างมีความสุข อันจะส่งผลให้ นักเรียนประสบความส าเร็จบรรลุตามเป้าหมายที่ก าหนดให้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้ (K) 3.1.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง (ประจ าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) 1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ – สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ 2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ 3. เวลาเรียน 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 3 รหสัวิชา ศ32101 ชื่อวิชา ทัศนศิลป์ ย เวลาเรียน 20 ชั ่วโมง/ปี หน่วยการเรียนรู้ที่1 1เรื่อง การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เวลา 7 ชั ่วโมง/หน่วย แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรียน เวลา 1 ชั ่วโมง/คาบ ชั้น สอนวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา น.


19 3.1.2 สาระการเรียนร้ทู้องถิ่น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 3.2 ทักษะกระบวนการ (P) โดยใช้ทักษะกระบวนทางการด าเนินชีวิตเพื่อฝึกทักษะอธิบาย 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 3.3.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจ าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน 3.3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจ ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ) อยู่อย่างพอเพียง 3.4 สมรรถนะส าคัญผู้เรียน (C) 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ภาระงาน (สะท้อนการจดักิจกรรม) - 5. การวดัและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (ประจ าแผนการจัดการเรียนรู้) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (ประจ ากลุ่มสาระการเรียนรู้) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตสมรรถนะส าคัญผู้เรียน แบบสังเกตสมรรถนะส าคัญผู้เรียน ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ รปูแบบการเรียนร้แูบบเชิงรกุ (Active Learning)


20 ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน/กระตุ้นความสนใจ (10 นาที) 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียน อยากเรียนรู้ อาจน านักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ใต้ต้นไม้ ห้องศิลปะ เป็นต้น 2. ครูแนะน าตนเอง แล้วให้นักเรียนแนะน าตนเองตามล าดับตัวอักษร ตามล าดับ หมายเลขประจ าตัว หรือตามแถวที่นั่งตามความเหมาะสม 3. ครูให้ความรู้ทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ พร้อมกับซักถามในประเด็น ต่าง ๆ เช่น 1) ศิลปะคืออะไร 2) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะประกอบไปด้วยสาระการเรียนรู้ใดบ้าง 3) นักเรียนชอบเรียนสาระการเรียนรู้ใดบ้าง ระหว่างทัศนศิลป์ ดนตรี และ นาฏศิลป์ ขั้นที่ 2 ขั้นสอน /การฝึกปฏิบตัิการเรียนรู้(30 นาที) 1. ครูระบุสิ่งที่จะต้องเรียนในสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ โดยใช้ข้อมูลจากหน้าสารบัญใน หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ม. 5 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ ากัด 2. ครูแจ้งโครงสร้างเวลาเรียนรายชั่วโมงของสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ โดยใช้ข้อมูลจาก คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ม. 5 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ ากัด 3. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า สาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ มีวิธีการเรียนรู้หลายรูปแบบ เช่น – ศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองทั้งที่บ้านและโรงเรียน – ปฏิบัติกิจกรรมสร้างผลงานด้วยตนเองและเป็นกลุ่ม – สืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นต้น 4. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่าสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ มีวิธีการเก็บคะแนนและการสอบ คือ 1) การวัดและประเมินผลด้านความรู้ – เก็บคะแนนสอบก่อนกลางภาค 30 คะแนน – เก็บคะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน – เก็บคะแนนสอบหลังกลางภาค 30 คะแนน – เก็บคะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน


21 คะแนนรวม 100 คะแนน 5. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า การตัดสินผลการเรียนนักเรียนจะต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด (หากเวลาเรียนไม่ครบตามเกณฑ์จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบ) การให้ระดับผลการเรียนจะใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ คือ ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ 4 ดีเยี่ยม 80–100 3.5 ดีมาก 75–79 3 ดี 70–74 2.5 ค่อนข้างดี 65–69 2 ปานกลาง 60–64 1.5 พอใช้ 55–59 1 ผ่านเกณฑ์ขั้นต ่า 50–54 0 ต ่ากว่าเกณฑ์ 0–49 6. ครูแจ้งข้อตกลงในการเรียน สาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ ให้นักเรียนทราบ ดังนี้ 1) ต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชานี้ หรือไม่ขาดเรียนเกิน 3 ครั้ง กรณีป่วยต้องส่งใบลาโดยผู้ปกครองลงชื่อรับรองการลา 2) ควรเข้าห้องเรียนตรงเวลาและรักษามารยาทในการเรียน 3) เมื่อเริ่มเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะมีการทดสอบก่อนเรียน และหลังจากเรียนจบ แต่ละหน่วยการเรียนรู้แล้วจะมีการทดสอบหลังเรียน 4) ในชั่วโมงที่มีการปฏิบัติกิจกรรม ควรเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือให้พร้อม โดย จัดหาไว้ล่วงหน้า 5) รับผิดชอบการเรียน การสร้างชิ้นงาน และการส่งงานตามเวลาที่ก าหนด 6) รักษาความสะอาดบริเวณที่ปฏิบัติกิจกรรมและเครื่องมือที่ใช้ท างานทุกครั้ง 7) การส่งงานให้ส่งด้วยตนเองหรือให้ตัวแทนกลุ่มน าส่งตามเวลาที่ก าหนด 7. ครูแนะน าสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ที่จะใช้ประกอบในการเรียนสาระการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ เช่น – หนังสือ – อินเทอร์เน็ต – แหล่งความรู้ในท้องถิ่น – ผู้รู้ในท้องถิ่น – ศิลปินพื้นบ้าน เป็นต้น


22 ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป/การอภิปราย (10 นาที) ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่นักเรียนมีต่อสาระการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ ๒. ให้นักเรียนน าประโยชน์จากการเรียนเรื่อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรียนสาระการ เรียนรู้ทัศนศิลป์ ไปประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ ๓. ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าค าศัพท์ทางทัศนศิลป์ คลละ 5 ค า โดยให้ นักเรียนศึกษาข้อมูลจากแหล่งค้นข้อมูล เช่น ห้องสมุด ศิลปินในพื้นที่หรือผู้รู้ อินเทอร์เน็ต หรือเว็บไซต์ต่างๆ เป็นต้น จากนั้นให้น าความรู้ที่ได้มาอภิปรายตามความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ของตนเอง ๔. ครูอธิบายขั้นตอนปฏิบัติกิจกรรมและมอบหมายงานให้นักเรียนไปปฏิบัติใบงานที่บ้าน และให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพื่อน ามา อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนครั้งต่อไป 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 7.1.1 แบบบันทึกข้อมูลการมอบหมายงาน 7.1.2 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ม. 5 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 7.2.1 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7.2.2 ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต 8. บันทึกหลังการสอน 1. ด้านความรู้(K) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................


23 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 3.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจ าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ 3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจ ากลุ่มสาระการเรียนรู้) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ 4. ด้านสมรรถนะส าคัญของผู้เรียน (C) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ สรุปผลการเรียนการสอน รวมนักเรียนจ านวน คน ผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด คน คิดเป็นร้อยละ ไม่ผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด คน คิดเป็นร้อยละ


24 ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ................................................................ (นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่ .........เดือน ................ พ.ศ. ............... ความคิดเหน ็ ของครูพี่เลี้ยง ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ................................................................ (นางสาวกรรณิการ์ เหง้าปุ่น) ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ


25 ความคิดเหน ็ ของรองผ้อูา นวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ ………....................................... (นายธนากร รัฐถาวร) รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ความคิดเหน ็ ของผ้อูา นวยการสถานศึกษา ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ ............................................. (นายกฤษดา โสภา) ผู้อ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี


26 ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2/2566 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ม. 4-6/4 มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุอุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 2. สาระสา คญั(ความคิดรวบยอด) สีน ้าสีน ้าเป็นสีพื้นฐานที่นักเรียนทุกคนต้องได้ฝึกและปฏิบัติควบควบคู่ไปกับการสาธิตที่ ช่วยให้เห็นขั้นตอนต่างๆ ได้อย่างละเอียด เพื่อให้เกิดการต่อยอดอย่างสร้างสรรค์และประยุกต์ เข้ากับเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้ (K) 3.1.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง (ประจ าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3) ผู้เรียนเข้าใจการระบายสีน ้าเปียกบนเปียก 3.2 ทักษะกระบวนการ (P) ผู้เรียนสามารถระบายสีน ้าเปียกบนเปียกได้ 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) นักเรียนมุ่งมั่นในการท างาน 3.4 สมรรถนะส าคัญผู้เรียน (C) 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 3 รหสัวิชา ศ31102 ชื่อวิชา ทัศนศิลป์ ย เวลาเรียน 20 ชั ่วโมง/ปี หน่วยการเรียนรู้ที่3 1เรื่อง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เวลา 7 ชั ่วโมง/หน่วย แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เทคนิคการสร้างสรรค์งานจิตกรรม(สีน ้า2) เวลา 1 ชั ่วโมง/คาบ ชั้น สอนวันที่ เดือน พ.ศ.


27 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ภาระงาน (สะท้อนการจดักิจกรรม) 1. ภาพสีน ้า หัวข้อภาพแมว 5. การวดัและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ผู้เรียนเข้าใจการระบายสีน ้าเปียก บนเปียก (K) ตอบถ าถาม ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ผู้เรียนสามารถระบายสีน ้าเปียกบน เปียกได้(P) ผลงาน ร้อยละ 75 ผ่านเกณฑ์ นักเรียนมุ่งมั่นในการท างาน (A) การสังเกต เช็คงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้แบบสาธิต ขั้นที่ 1 เตรียมการสาธิต 1. ผู้เรียนทบทวนเนื้อหาจากสัปดาห์ที่แล้วเรื่อง การระบายสีน ้าตามตัวอักษรชื่อของ ตนเองและอธิบายขั้นตอนในการท างาน 2. ผู้เรียนตอบค าถามจากผู้สอนว่า “เทคนิคสีน ้ามีอะไรบ้าง แนวค าตอบ เทคนิคสีน ้ามี 3 เทคนิคคือ 1. เทคนิคเปียกบนเปียก 2. เทคนิคเปียกบนแห้ง 3. เทคนิคแห้งบนแห้ง” 3. ผู้สอนบอกกับผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการระบายสีน ้า โดยจะให้ฝึกท าเทคนิค เปียกบนเปียก 4. ผู้เรียนฟังการบบรรยายความหมายของเทคนิคเปียกบนเปียกคือ การท าพื้นกระดาษ ให้เปียกน ้าก่อน แล้วจึงระบายสีตามที่ต้องการและให้ระบายขณะที่สีเดิมยังไม่แห้ง การระบาย ด้วยวิธีการนี้มีเทคนิคที่ส าคัญ 3 ประการ คือ 1. กระดาษเปียกโชก เป็นสภาพที่มีปริมาณของน ้ามาก 2. กระดาษชุ่ม เป็นสภาพที่มีปริมาณของน ้าปานกลาง 3. กระดาษหมาด เป็นสภาพที่กระดาษเกือบแห้ง


28 ขั้นที่ 2 การสาธิต 1. ผู้สอนเริ่มการสาธิตขั้นตอนในการระบายสีน ้าแบบเปียกบนเปียกโดยใช้รูปแบบ กระดาษชุ่มวาดรูปแมวเป็นตัวอย่าง ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1.1. ร่างภาพแมวที่จะระบายสีน ้าแบบเปียกบนเปียก 1.2. ระบายน ้าให้ทั่วภาพร่างแมวและรอให้กระดาษชุ่ม 1.3. ระบายสีน ้าลงบริเวณที่กระดาษชุ่มโดยให้ได้สัดส่วนของแมว 1.4. ตกแต่งภาพแมวให้เรียบร้อยสวยงาม 2. ผู้สอนทบทวนขั้นตอนในการระบายสีน ้าแบบเปียกบนเปียกอีกครั้งเพื่อให้ผู้เรียนท า ความเข้าใจและจดจ าอีกครั้ง 3. ผู้สอนสุ่มผู้เรียน 1 คนมาสาธิตขั้นตอนในการระบายสีน ้าแบบเปียกบนเปียก ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปผล 1. สุ่มผู้เรียนออกมา 1 คนให้อธิบายขั้นตอนการระบายสีน ้าแบบเปียกบนเปียก ขั้นที่ 4 ขนั้ประเมินผล 1. ผู้สอนมอบหมายงานให้ผู้เรียนท างานสร้างสรรค์เทคนิคสีน ้าแบบเปียกบนเปียก หัวข้อภาพแมว 2. ผู้สอนอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ 2.1. ความสวยงาม 2 คะแนน 2.2. ความคิดสร้างสรรค์2 คะแนน 2.3. ความถูกต้องของเทคนิค 2 คะแนน 2.4. ความสะอาด 2 คะแนน 2.5 ความสมบูรณ์ 2 คะแนน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 7.1.1 ภาพตัวอย่างการระบายสีน ้าแบบเปียกบนเปียกรูปแมว 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 7.2.1 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7.2.2 ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต


29 8. แบบประเมิน แบบประเมินผลงาน ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์) วันที่.........เดือน................พ.ศ........... แบบประเมินผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง เทคนิคสีน้ำเปียกบนเปียก ชื่อ – ชื่อสกุลผู้รับการประเมิน ..................................................................................................... วันเดือนปีที่ประเมิน ........................................... ชื่อผู้ประเมิน …………………………….…………..………… เลขที่ ชื่อ-นาสกุล ประเด็นการประเมิน ความ สวย งาม (2) ความคิด สร้าง สรรค์ (2) ความ ถูกต้อง ของ เทคนิค (2) ความ สะอาด (2) ความ สม บูรณ์ (2) รวม (10)


30 รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน แบบประเมินผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง เทคนิคสีน้ำเปียกบนเปียก ประเด็น การประเมิน ดีเยี่ยม (2) พอใช้ (1) ความสวยงาม มีความสวยงามในระดับดีเยี่ยม มีความสวยงามพอใช้ ความคิดสร้างสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์ไม่เหมือนใคร มีความคิดสร้างสรรค์ ความถูกต้องของเทคนิค เทคนิคถูกต้องตามวิธีการสาธิต เทคนิคถูกต้องบางขั้นตอน ความสะอาด ผลงานสะอาดเรียบร้อย ผลงานมีรอยเปื้อน ความสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานไม่เสร็จ เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ดีมาก 1 = พอใช้ เกณฑ์การตัดสิน 10 – 6 = ดีมาก 5 – 1 พอใช้ เกณฑ์การผ่านตั้งแต่ระดับดีมาก ขึ้นไป ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์) วันที่.........เดือน................พ.ศ.........


31 9. บันทึกหลังการสอน 1. ด้านความรู้(K) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ 2. ด้านทักษะกระบวนการ(P) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 3.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจ าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...................................................... 3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจ ากลุ่มสาระการเรียนรู้) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .......................................... 4. ด้านสมรรถนะส าคัญของผู้เรียน (C) .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................................................................ สรุปผลการเรียนการสอน รวมนักเรียนจ านวน คน


32 ผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด คน คิดเป็นร้อยละ ไม่ผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด คน คิดเป็นร้อยละ ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ................................................................ (นายปรัชชานนท์ ยุพานิชย์) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วันที่ .........เดือน ................ พ.ศ. ............... ความคิดเหน ็ ของครูพี่เลี้ยง ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ................................................................ (นางสาวกรรณิการ์ เหง้าปุ่น) ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ


33 ความคิดเหน ็ ของรองผ้อูา นวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ ………....................................... (นายธนากร รัฐถาวร) รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ความคิดเหน ็ ของผ้อูา นวยการสถานศึกษา ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................................................................... ลงชื่อ ............................................. (นายกฤษดา โสภา) ผู้อ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี


34 บันทึกผลหลังการสอน


35 ตัวอย่างชิ้นงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ


36


37


38 ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1/2566 โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 1 1 17 พ.ค. 2566 08.40-09.30 ปฐมนิเทศ 1 17 พ.ค. 2566 13.00-13.50 17 พ.ค. 2566 15.30-16.20 18 พ.ค. 2566 11.10-12.00 18 พ.ค. 2566 15.30-16.20 19 พ.ค. 2566 13.50-14.40 22 พ.ค. 2566 11.10-12.00 1 2 24 พ.ค. 2566 08.40-09.30 ศัพท์ทางทัศนศิลป์(1) 1 24 พ.ค. 2566 13.00-13.50 24 พ.ค. 2566 15.30-16.20 25 พ.ค. 2566 11.10-12.00 25 พ.ค. 2566 15.30-16.20 26 พ.ค. 2566 13.50-14.40 29 พ.ค. 2566 11.10-12.00 1 3 31 พ.ค. 2566 08.40-09.30 ศัพท์ทางทัศนศิลป์(2) 1 31 พ.ค. 2566 13.00-13.50 31 พ.ค. 2566 15.30-14.20 1 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 1 มิ.ย. 2566 15.30-14.20 2 มิ.ย. 2566 13.50-14.40 5 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 1 4 7 พ.ค. 2566 08.40-09.30 จุดประสงค์ของงาน ทัศนศิลป์(1) 1 7 พ.ค. 2566 13.00-13.50 7 พ.ค. 2566 15.30-14.20


39 หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 8 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 8 มิ.ย. 2566 15.30-14.20 9 มิ.ย. 2566 13.50-14.40 12 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 1 5 14 พ.ค. 2566 08.40-09.30 จุดประสงค์ของงาน ทัศนศิลป์(1) 1 14 พ.ค. 2566 13.00-13.50 14 พ.ค. 2566 15.30-14.20 15 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 15 มิ.ย. 2566 15.30-14.20 16 มิ.ย. 2566 13.50-14.40 19 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 1 6 21 พ.ค. 2566 08.40-09.30 เนื้อหาของงานทัศนศิลป์ (1) 1 21 พ.ค. 2566 13.00-13.50 21 พ.ค. 2566 15.30-14.20 22 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 22 มิ.ย. 2566 15.30-14.20 23 มิ.ย. 2566 13.50-14.40 26 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 1 7 28 พ.ค. 2566 08.40-09.30 เนื้อหาของงานทัศนศิลป์ (2) 1 28 พ.ค. 2566 13.00-13.50 28 พ.ค. 2566 15.30-14.20 29 มิ.ย. 2566 11.10-12.00 29 มิ.ย. 2566 15.30-14.20 30 มิ.ย. 2566 13.50-14.40 3 ก.ค. 2566 11.10-12.00 5 ก.ค. 2566 08.40-09.30 5 ก.ค. 2566 13.00-13.50


40 หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 2 8 5 ก.ค. 2566 15.30-14.20 หลักการออกแบบและ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยเทคโนโลยี(1) 1 6 ก.ค. 2566 11.10-12.00 6 ก.ค. 2566 15.30-14.20 7 ก.ค. 2566 13.50-14.40 10 ก.ค. 2566 11.10-12.00 2 8 12 ก.ค. 2566 08.40-09.30 หลักการออกแบบและ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยเทคโนโลยี(1) 1 12 ก.ค. 2566 13.00-13.50 12 ก.ค. 2566 15.30-14.20 13 ก.ค. 2566 11.10-12.00 13 ก.ค. 2566 15.30-14.20 14 ก.ค. 2566 13.50-14.40 17 ก.ค. 2566 11.10-12.00 2 8 19 ก.ค. 2566 08.40-09.30 หลักการออกแบบและ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยเทคโนโลยี(1) 1 19 ก.ค. 2566 13.00-13.50 19 ก.ค. 2566 15.30-14.20 20 ก.ค. 2566 11.10-12.00 20 ก.ค. 2566 15.30-14.20 21 ก.ค. 2566 13.50-14.40 24 ก.ค. 2566 11.10-12.00 25 ก.ค. 2566 สอบ กลาง ภาค 26 ก.ค. 2566 27 ก.ค. 2566 2 9 28 ก.ค. 2566 13.50-14.40 1 31 ก.ค. 2566 11.10-12.00 2 ส.ค. 2566 08.40-09.30 2 ส.ค. 2566 13.00-13.50


41 หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 2 ส.ค. 2566 15.30-14.20 หลักการออกแบบและ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยเทคโนโลยี(2) 3 ส.ค. 2566 11.10-12.00 3 ส.ค. 2566 15.30-14.20 4 ส.ค. 2566 13.50-14.40 2 9 7 ส.ค. 2566 11.10-12.00 หลักการออกแบบและ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยเทคโนโลยี(2) 1 9 ส.ค. 2566 08.40-09.30 9 ส.ค. 2566 13.00-13.50 9 ส.ค. 2566 15.30-14.20 10 ส.ค. 2566 11.10-12.00 10 ส.ค. 2566 15.30-14.20 2 10 11 ส.ค. 2566 13.50-14.40 ภาพล้อเลียน 1 14 ส.ค. 2566 11.10-12.00 16 ส.ค. 2566 08.40-09.30 16 ส.ค. 2566 13.00-13.50 16 ส.ค. 2566 15.30-14.20 17 ส.ค. 2566 11.10-12.00 17 ส.ค. 2566 15.30-14.20 2 11 18 ส.ค. 2566 13.50-14.40 ภาพการ์ตูน 3 21 ส.ค. 2566 11.10-12.00 23 ส.ค. 2566 08.40-09.30 23 ส.ค. 2566 13.00-13.50 23 ส.ค. 2566 15.30-14.20 24 ส.ค. 2566 11.10-12.00 24 ส.ค. 2566 15.30-14.20 4 ต.ค. 2566 สอบ ปลาย ภาค 5 ต.ค. 2566 6 ต.ค. 2566


42 ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครุดรธานี หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 1 1 2 พ.ย. 2566 09.30-10.20 ทฤษฎีการวิจารณ์งาน ทัศนศิลป์(1) 2 2 พ.ย. 2566 14.40-15.30 3 พ.ย. 2566 08.40-09.30 3 พ.ย. 2566 09.30-10.20 6 พ.ย. 2566 08.40.09.30 6 พ.ย. 2566 10.20-11.10 6 พ.ย. 2566 11.10-12.00 7 พ.ย. 2566 10.20-11.10 1 2 16 พ.ย. 2566 09.30-10.20 ทฤษฎีการวิจารณ์งาน ทัศนศิลป์(2) 2 16 พ.ย. 2566 14.40-15.30 17 พ.ย. 2566 08.40-09.30 17 พ.ย. 2566 09.30-10.20 20 พ.ย. 2566 08.40.09.30 20 พ.ย. 2566 10.20-11.10 20 พ.ย. 2566 11.10-12.00 21 พ.ย. 2566 10.20-11.10 1 3 30 พ.ย. 2566 09.30-10.20 การจัดทำแฟ้มสะมผล งาน(1) 3 30 พ.ย. 2566 14.40-15.30 1 ธ.ค. 2566 08.40-09.30 1 ธ.ค. 2566 09.30-10.20 4 ธ.ค. 2566 08.40.09.30 4 ธ.ค. 2566 10.20-11.10 4 ธ.ค. 2566 11.10-12.00 5 ธ.ค. 2566 10.20-11.10


43 หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 4 ม.ค. 2567 5 ม.ค. 2567 สอบ กลาง ภาค 8 ม.ค. 2567 9 ม.ค. 2567 1 4 11 ม.ค. 2567 09.30-10.20 การจัดทำแฟ้มสะมผล งาน(2) 2 11 ม.ค. 2567 14.40-15.30 12 ม.ค. 2567 08.40-09.30 12 ม.ค. 2567 09.30-10.20 15 ม.ค. 2567 08.40.09.30 15 ม.ค. 2567 10.20-11.10 15 ม.ค. 2567 11.10-12.00 16 ม.ค. 2567 10.20-11.10 2 5 18 ม.ค. 2567 09.30-10.20 งานศิลป์ของศิลปินที่มี ชื่อเสียง 1 18 ม.ค. 2567 14.40-15.30 19 ม.ค. 2567 08.40-09.30 19 ม.ค. 2567 09.30-10.20 22 ม.ค. 2567 08.40.09.30 22 ม.ค. 2567 10.20-11.10 22 ม.ค. 2567 11.10-12.00 23 ม.ค. 2567 10.20-11.10 2 6 25 ม.ค. 2567 09.30-10.20 ศิลปินไทย 1 25 ม.ค. 2567 14.40-15.30 26 ม.ค. 2567 08.40-09.30 26 ม.ค. 2567 09.30-10.20 29 ม.ค. 2567 08.40.09.30 29 ม.ค. 2567 10.20-11.10 29 ม.ค. 2567 11.10-12.00


44 หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 30 ม.ค. 2567 10.20-11.10 1 ก.พ. 2567 09.30-10.20 2 7 1 ก.พ. 2567 14.40-15.30 ศิลปินสากล 1 2 ก.พ. 2567 08.40-09.30 2 ก.พ. 2567 09.30-10.20 5 ก.พ. 2567 08.40.09.30 5 ก.พ. 2567 10.20-11.10 5 ก.พ. 2567 11.10-12.00 6 ก.พ. 2567 10.20-11.10 3 8 8 ก.พ. 2567 09.30-10.20 เทคนิคการสร้างสรรค์งาน จิตกรรม(สีน้ำ1) 1 8 ก.พ. 2567 14.40-15.30 9 ก.พ. 2567 08.40-09.30 9 ก.พ. 2567 09.30-10.20 12 ก.พ. 2567 08.40.09.30 12 ก.พ. 2567 10.20-11.10 12 ก.พ. 2567 11.10-12.00 13 ก.พ. 2567 10.20-11.10 3 9 15 ก.พ. 2567 09.30-10.20 เทคนิคการสร้างสรรค์งาน จิตกรรม(สีน้ำ2) 1 15 ก.พ. 2567 14.40-15.30 16 ก.พ. 2567 08.40-09.30 16 ก.พ. 2567 09.30-10.20 19 ก.พ. 2567 08.40.09.30 19 ก.พ. 2567 10.20-11.10 19 ก.พ. 2567 11.10-12.00 20 ก.พ. 2567 10.20-11.10 3 10 22 ก.พ. 2567 09.30-10.20 22 ก.พ. 2567 14.40-15.30 1


45 หน่วย การ เรียนรู้ แผนที่ วันที่ เวลาที่สอน เรื่องที่สอน เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ 23 ก.พ. 2567 08.40-09.30 เทคนิคการสร้างสรรค์งาน 23 ก.พ. 2567 09.30-10.20 จิตกรรม(สีน้ำ3) 26 ก.พ. 2567 08.40.09.30 26 ก.พ. 2567 10.20-11.10 26 ก.พ. 2567 11.10-12.00 27 ก.พ. 2567 10.20-11.10 3 11 29 ก.พ. 2567 09.30-10.20 เทคนิคการสร้างสรรค์งาน จิตกรรม(สีน้ำ4) 1 29 ก.พ. 2567 14.40-15.30 1 มี.ค. 2567 08.40-09.30 1 มี.ค. 2567 09.30-10.20 4 มี.ค. 2567 08.40.09.30 4 มี.ค. 2567 10.20-11.10 4 มี.ค. 2567 11.10-12.00 5 มี.ค. 2567 10.20-11.10 3 12 7 มี.ค. 2567 09.30-10.20 เทคนิคการสร้างสรรค์งาน จิตกรรม(สีน้ำ5) 1 7 มี.ค. 2567 14.40-15.30 8 มี.ค. 2567 08.40-09.30 8 มี.ค. 2567 09.30-10.20 11 มี.ค. 2567 08.40.09.30 11 มี.ค. 2567 10.20-11.10 11 มี.ค. 2567 11.10-12.00 12 มี.ค. 2567 10.20-11.10


Click to View FlipBook Version