The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6424621002, 2022-05-06 00:05:02

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)

Rambhai Barni
Rajabhat University

มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

VAT

VALUE ADDED TAX

ความหมายของภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ภาษีที่เก็บจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้น จาก
คนทำธุรกิจขายสินค้าหรือให้บริการประเภทต่างๆ โดยผู้ที่
มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มคือ ผู้ประกอบการ และผู้นำเข้า
ซึ่งรวมไปถึงผู้ผลิต ผู้ให้บริการผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก ส่งออก
ผู้นำเข้า ซึ่งมีรายได้ต่อปีตั้งแต่ 1,800,000 บาทขึ้นไป ไม่
ว่าจะเป็ นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ตาม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากผู้บริโภคที่เป็นผู้
ซื้อสินค้าทั้งที่ผลิตในประเทศและต่างประเทศหรือเป็ นผู้ได้
รับบริการคนสุดท้าย ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่ผู้บริโภคคน
สุดท้ายจะจ่ายภาษีซื้อ 7% ในตอนซื้อสินค้า และเรียกเก็บ
ภาษีขาย 7% ในตอนขายสินค้า เมื่อสิ้นเดือนจะนำภาษีซื้อ
และภาษีขายมาหักลบกัน ผลต่างหากภาษีซื้อมากกว่า
ภาษีขายจะเป็น ลูกหนี้-สรรพากร หรือ ภาษีขายมากกว่า
ภาษีซื้อ จะเป็นเจ้าหนี้-สรรพากร

ชนิดของภาษีมีมูลค่าเพิ่ม
มี3 ชนิด คือ



1.ภาษีมูลค่าเพิ่มแบบการบริโภค
(Consumtion Type Vat) เป็นภาษีมูลค่า
เพิ่มที่มุ่งเก็บจากการบริโภคไม่เก็บภาษี
จากการลงทุน ในเชิงมหเศรษฐศาสตร์ฐาน
ของภาษีคือการบริโภครวม

2.ภาษีมูลค่าเพิ่มแบบรายได้(Income Type Vat) เป็นภาษี
มูลค่าเพิ่ม ที่มุ่งเก็บจากรายได้ประชาชาติในการเก็บภาษีมูลค่า
เพิ่มชนิดนี้จะเก็บจากการลงทุนด้วย แต่ยอมให้หักค่าเสื่อมราคา
สินค้าประเภททุนได้ในเชิงมหเศรษฐศาสตร์ฐานของภาษีจะ
เท่ากับรายได้ประชาชาติซึ่งเท่ากับผลิตภัณฑ์ ประชาชาติลบ
ด้วยค่าเสื่อมราคา

3. ภาษีมูลค่าเพิ่มแบบผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
(Gross Product Type VAT) ในการจัดเก็บ
ภาษีมูลค่าเพิ่มชนิดนี้จะไม่ยอมให้กับสินค้า
ประเภททุน และไม่ยอมให้กับค่าเสื่อมราคา
ด้วยในเชิงมหเศรษฐศาสตร์ฐานของภาษี คือ
ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติ

VAT 10 คืออะไร

อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจริงๆของประเทศไทยนั้นกำหนดอัตรา
การเก็บภาษีสูงสุดที่ 10% แต่เนื่องจากมีการออกกฎหมาย
พิเศษให้ลดมาเหลือ 7%เป็นการชั่วคราวแบบปีต่อปี แล้วใช้วิธี
ต่ออายุมาเรื่อยๆ

ภาษีมูลค่าเพิ่ม
กี่เปอร์เซ็น

ในปัจจุบัน เราจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราคงที่อยู่ที่ 7%
(ซึ่งมาจากภาษีมูลค่าเพิ่ม6.3% + ภาษีท้องถิ่น 0.7%)

ภาษีมูลค่าเพิ่ม
คิดยังไง

วิธีคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
ทำได้โดยการนำราคาสินค้ามา คูณด้วย 7 หาร 100
(ราคา×(7÷100)) ก็จะได้ผลลัพธ์เป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องการ

เช่น เราซื้อเครื่องคิดเลข 1,000 บาท
วิธีการคิด 1,000 ×(7÷100) = 70
เท่ากับว่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่เราต้องจ่ายก็คือ 70 บาท

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร

ฐานภาษีสำหรับขายสินค้าหรือบริการ
ฐานภาษีสำหรับการส่งออกสินค้า
ฐานภาษีสำหรับการให้บริการขนส่งระหว่าง
ประเทศ
ฐานภาษีสำหรับการนำเข้า
ฐานภาษีกรณีขายยาสูบและผลิตภัณฑ์ น้ำมันตามที่
กฎหมายกำหนด
ฐานภาษีกรณีพิเศษ

ใครที่ต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม

ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มคือ ผู้ประกอบการที่ขาย
สินค้าหรือบริการในทางธุรกิจ หรือวิชาชีพ ไม่ว่าจะ
ประกอบกิจการแบบบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรือห้าง
หุ้มส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หากมีรายได้จากการ
ขายสินค้าหรือบริการเกิน 1.8 ล้านบาท จะต้องเสียภาษี
มูลค่าเพิ่มทันที

ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้นภาษี
มูลค่าเพิ่มตามกฎหมายมีดังนี้

ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าทางการเกษตร สัตว์ที่ไม่ว่าจะมี
ชีวิตหรือไม่มีชีวิต ปุ๋ ย ปลาป่ นอาหารสัตว์ ยาหรือเคมีภัณฑ์ที่
ใช้สำหรับพืชหรือสัตว์ หนังสือพิมพ์ นิตยาสาร ตำราเรียน
ผู้ประกอบการซึ่งไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตาม
กฎหมายและมีรายได้ไม่เกิน 1.8ล้านบาทต่อปี
การขนส่งในราชอาณาจักรโดยท่าอากาศยาน
การส่งออกของผู้ประกอบการในเขตอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย
การให้บริการขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิงทางท่อในราชอาณาจักร

รายได้เท่าไหร่ต้องจด VAT

การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นจะ
ถูกบังคับให้จดทันทีเมื่อรายได้ของเรา
ถึง 1.8 ล้านบาทในระหว่างปี

สถานที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
คือที่ใด

การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้ยื่นเอกสาร
จดทะเบียน ณ สำนกงานสรรพากรพื้นที่ที่
สถานประกอบการตั้งอยู่ และในกรณีที่สถาน
ประกอบการตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอหรือกิ่ง
อำเภอที่กรมสรรพากรไม่ได้จัดอัตรากำลังไว้
ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเดิม
ที่เคยควบคุมพื้นที่นั้น

สถานที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
คือที่ใด

กรณีมีสถานประกอบการหลาย
แห่ง ให้ยื่นคำขอจดทะเบียนได้ที่
สำนักงานสรรพากรพื้นที่ หรือ
สรรพากรพื้นที่สาขา ในท้องที่ที่
สถานประกอบการอันเป็ นที่ตั้ง
สำนักงานใหญ่เพียงแห่งเดียว

สถานที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
คือที่ใด

กรณีสถานประกอบการอยู่ในความ
ดูแลของสำนักบริหารภาษีธุรกิจ
ขนาดใหญ่ ให้ยื่น ณ สำนักงาน
บริหารธุรกิจขนาดใหญ่ หรือจะยื่น
ผ่านสำนักงานสรรพากรพื้นที่ หรือ
สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาที่
สถานประกอบการตั้งอยู่ก็ได้

หน้าที่ของผู้ประกอบการ

จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร
ก(21ำ1.ก.จ)ัเับรดีรยภทากาำยเษรกงี็าเาบพยืน่ภองภาาเาปนษ็ีษนตมีูซืาหล้อมลคั่ทกาี่เกฐพิฎา่มนหจใมนาากกยาผูก้รซืำเ้อรหียสนิกนดเคก้็าซบึห่งภรไืดาอ้ษแผีู้กมรู่ัลบคบ่าริเกพิา่มรและออกใบ
(2) รายงานภาษีขาย
3(3.ยื)่นรแาบยบงาแนสสดินงรค้าายแกลาะรวัตเพถืุ่อดิเบสียภาษีตามแบบ ภ.พ.30

ภ.พ.30 คือ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามประมวลรัษฎากร

VAT 0% vs Non VAT

การจะนำส่ง VAT 0% จะต้องเกิดจากการ

1. ขายสินค้าหรือบริการโดยการส่งออก
2. การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรือเรือ

เดินทะเลโดยผู้ประกอบการเป็นนิติบุคคล
3.ขายสินค้าหรือบริการกับกระทรวงทบวง กรม ราชการหรือ

รัฐวิสาหกิจตามโครงการเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากต่าง
ประเทศ
4. การขายสินค้าหรือบริการกับองค์กรสหประชาชาติทบวงการ
ชำนัญพิเศษของสหประชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต
สถานกงสุล
5. การขายสินค้าหรือบริการระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนกับคลัง
สินค้าทัณฑ์บนหรือระหว่างผู้ประกอบการกับผู้ประกอบการที่
อยู่ในเขตปลอดอากรไม่ว่าจะอยู่ในเขตเดียวกันหรือไม่

Non VAT

ทมเีจบเู่กฉอสลิะรีจลิธีใยคมก่ิช่กยบ้ภาาาใาภเดนรตารพีาิทกษกร่ีีิษม่ำทาไจมีัดูซ้หืก้งล้ต8มอปนาคา2า่ทรรดีาม่ห/ทะจเัม้6พเรงะิืภ่อาสนมทใตไอำนดรท้มงแีกร่าปัตลาบร้หรอะณ8มัะีผงกู2าท้เเีปอภ่/สใผีนูรอ3ท้ยปะกกภกราตจใาะหอราา้ษกปบผมีกูมอ้รปกหภูบะลาราลกัคกระษก่อีจาากขเบเรดอกาพจิทกบณ่ยิมดจะกใฑทนเก์าบแะกาีรวลยเรจาิบธะนขรีีดกปยคอไทดานรำง้ะระนตนปเเำบนวรภแีสะณไยลิทปนกนะภทใอีคเน่ช้าัไง้บาื้ม่นษอ่หีหตน้รรอืืไออขง

มีวิธีการคำนวณภาษีอย่างไร

ภาษีที่ต้องเสีย คำนวณจากการนำภาษีขายทั้งเดือนภาษี
มาหักด้วยภาษีซื้อทั้งเดือนภาษีหากมีภาษีขายมากกว่า
ภาษีซื้อ ให้ชำระภาษีส่วนต่างนั้น หากมีภาษีซื้อมากกว่า
ภาษีขาย จะขอคืนภาษีส่วนต่างเป็นเงินสด
หรือยกไปเครดิตภาษีในเดือนถัดไปก็ได้ ดังนี้

ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย - ภาษีซื
้อ

หากภาษีขาย > ภาษีซื้อ หากภาษีขาย < ภาษีซื้อ

= ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ = ภาษีที่มีสิทธิขอคืนหรือขอ

เครดิตภาษี




ภาษีขาย หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษี ได้จ่ายให้กับผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการที่
มูลค่าเพิ่มได้เรียกเก็บหรือพึงเรียก เป็นผู้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อซื้อ
เก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ สินค้าหรือชำระค่าบริการเพื่อใช้ในการ
เมื่อมีการขายสินค้าหรือรับค่า ประกอบกิจการของตน ภาษีซื้อที่จะนำมา

บริการ หักได้นี้คลุมไปถึงภาษีซื้อของสินค้า
ประเภททุนด้วย

การยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม

1ผไมมู.ลผ่ลภูว้ลป่คาัา่พรษาจีะเธขะ์พกแิมา่ีอมตยภบเกาปมกต็ษ่นีาาามรรกงูลาทกกีัย่คนจว่เ่าดาดเืดทพอัิภง่ะนมตาเ่ตบอษ้(ีีอไยซเืปด้งนอืนนอีภ้ำนาสภษ่งีามหูษลีร)ืคอ่าไภมเ่าพกิย่็มตในแามวลั้นวซจทึี่่งะใม1นีห5แนต้่ขาลอทะีง่เตเ้ดดอืือองนยนื่อนถัาภดจาไเปษกีิด
2มซืู้.ลอภกคา่รดาษัณีงเีขพนิเั่า้กมนิยดทีข่จึตเึ้นทงน่มเาีจนืก่ก่าัอาบยงรอจเภรอาียากกษกผไีูป้ซเปืก้อ็รบ(ะภภกาาอษษีบีซมืกู้อลา)คร่จาเดพิท่มะ(เภบีายษนีขมีายยอ)ดมขาายกมกวา่กาภกาว่ษาียอด
ตจซ้ื่คจซ้อา3ือ่้งากยอง.มกยนภรอีดัหรอณดำาองัีณอนสงษนกเีั่้ีน้กกงเาขันไิ้กภปทนดไิาีปด่าขยตจึ้ึ้ขเจษนึงอึช้ีเน่นงมชเงน้ี่มนเเอยนืกีพืน่น่ือกีนย่าน้อีรงา้รกภผางจรูเผ้วะาจรูปเา่้ีรปตาษยากีรียนกรกระผภูกะาผ้กจเูป่ก้กาเยอปา็กรษบอเ็ยบีระบดซบภือะืกก้อภอกกาออานาษอากรบีษอรมมบไีกีูปยจมูหลกึู่างดมลคาีนรไ่้คารมจาา่่กจาเดมทีพีเกด่ิทภพต่ิวม้ท่่ะอามานะเรง้ทเบเีอะทยี่บืเ่ย่ตียนรา้ยีนอกยกแนัมงวกบบี่มนายเีภบกำยภอ็าฯสบอาด่ษวดีษไขแมมีนขู่มาตไลู่ตายดลไ่ค้ยมาน่ค่้าง่เมอาทเนีี่พเหย้ิาพ่ินกมกแ่้ัมวบาตท่ี่ท่ทาีกยตี่็่ยตยอนัอนงดด

วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม สามารถกระทำได้ 2 ช่องทาง ดังนี้
1.ยื่นแบบคำขอผ่านทางอินเทอร์เน็ตที่ www.rd.go.th
2.ยื่นแบบคำขอด้วยกระดาษ ณ หน่วยจดทะเบียนที่ตั้งสถานประกอบ
การ

สถานที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
เอกสารที่ใช้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ให้ผู้ประกอบการยื่นคำขอแจ้งใช้สิทธิเพื่อขอจดทะเบียนภาษีมูลค่า
เพิ่ม ภ.พ. 01.1 จำนวน 1 ชุด 3 ฉบับ พร้อมกับคำขอจดทะเบียนภาษี
มูลค่าเพิ่ม ภ.พ. 01

การเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

ซื้อสินค้า 100 บาท ขายสินค้ามูลค่า 200 บาท
ภาษีซื้อ (7%) 7 บาท ภาษีขาย (7%) 14 บาท
เงินที่ต้องจ่าย เงินที่รับทั้งหมด 214 บาท
107 บาท

เงินที่เราจ่ายล่วงหน้าให้สรรพกร เงินที่เราเก็บสรรพกร(รอนำส่ง)
(รอขอคืน) ดังนั้น ภาษีขายไม่ใช่เงินของเรา
เฉพาะยอดขาย 200บาท เป็นรายได้ของเรา

ถ้าภาษีขาย > ภาษีซื้อ เราจะต้องนำส่งส่วนต่างให้สรรพากรเพิ่ม
ถ้าภาษีซื้อ > ภาษีขาย เราสามารถขอคืนส่วนต่างจากรมสรรพากรได้
หรือจะยกไปใช้ในเดือนถัดไปก็ได้

หน้าที่ที่เพิ่มเติมของผู้ประกอบการนั้น
ซึ่งมีรายละเอียดตามนี้

1.หน้าที่ออกใบกำกับภาษี
ประเด็นแรก ใบกำกับภาษี ต้องครบถ้วนและถูกต้อง
คำว่า ใบกำกับภาษีที่ครบถ้วนและถูกต้องนั้น หมายถึง เป็นใบกำกับภาษีที่มีรายการ
ครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด และใบกำกับภาษีที่ผู้ประกอบการสามารถออกได้นั้น มี
อยู่ 2 ประเภท คือ ใบกำกับภาษีเต็มรูป และ ใบกำกับภาษีอย่างย่อ

โดยปกติแล้ว กิจการทั่วไปจะต้องออกใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปให้กับผู้ซื้อหรือผู้รับ
บริการ แต่สำหรับกิจการที่เป็นกิจการค้าปลีก ที่เป็นการขายให้กับผู้บริโภคโดยตรง

หรือ บริการในลักษณะบริการรายย่อยแก่บุคคลจำนวนมาก ยกตัวอย่างเช่น
ร้านสะดวกซื้อ โรงแรม ห้างสรรพสินค้าต่างๆเป็นต้นนั้นจะสามารถออก
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ได้

โดยความแตกต่างระหว่างใบกำกับภาษีทั้ง 2 แบบคือ ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ไม่
สามารถนำภาษีซื้อไปขอคืนหรือหักออกจากภาษีขายได้ ต้องเป็นใบกำกับภาษีซื้อแบบ

เต็มรูปเท่านั้นถึงจะสามารถทำได้

ประเด็นที่สอง ใบกำกับภาษี ต้องออกถูกต้องตามเวลา
โดยกฎหมายแล้ว การออกใบกำกับภาษีนั้นกำหนดให้ออกเมื่อเกิด “ความรับผิด” หรือแปลเป็น
ภาษาคนก็คือ ออกเมื่อมีหน้าที่ต้องออกนั่นเอง โดยกฎหมายได้กำหนดความแตกต่างของความรับ

ผิดในกรณีซื้อสินค้าและให้บริการไว้ดังนี้

2. หน้าที่ในการจัดทำรายงานต่าง ๆ
หน้าที่ในการจัดทำรายงานที่เกี่ยวข้อง โดยผู้ประกอบการอย่างเรายัง
ต้องทำรายงานทั้งหมด 3 ฉบับ ดังนี้

รายงานภาษีซื้อ
สำหรับ รายงานภาษีซื้อ เป็นรายงานที่ต้องจัดทำเพื่อบันทึกรายละเอียดของยอดซื้อ
และจำนวนภาษีซื้อที่ถูกผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มรายอื่นเรียกเก็บใน
การซื้อสินค้าหรือบริการในแต่ละเดือน หรือง่าย ๆ ก็คือ การสรุปยอดภาษีซื้อที่เกิด
ขึ้นในแต่ละเดือน เพื่อทำไปยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ. 30)

รายงานภาษีขาย
สำหรับ รายงานภาษีขายนั้น จะตรงข้ามกับรายงานภาษีซื้อเลย นั่นคือ บันทึก
รายละเอียดของยอดขายและจำนวนภาษีขายที่ธุรกิจของเราเรียกเก็บจากการขาย
สินค้าหรือบริการในแต่ละเดือนนั่นเอง หรือง่าย ๆ ก็คือ การสรุปยอดภาษีขายที่
เกิดขึ้นในแต่ละเดือน เพื่อทำไปยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ. 30)

รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (ถ้ามี)
สำหรับ รายงานสินค้าคงเหลือและวัตถุดิบ นั้นจะมีรายละเอียดเฉพาะ นั่นคือ
กฎหมายกำหนดให้ผู้ประกอบการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่ประกอบกิจการขายสินค้าเท่านั้น
ที่มีหน้าที่จัดทำ ซึ่งมีการกำหนดรูปแบบให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ตามรูปดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม และ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ใบกำกับภาษีนั้นเป็นเรื่องของภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยคิดในอัตรา 7% ของยอดขายหรือ
บริการ ส่วนการหักภาษี ณ ที่จ่ายนั้น เป็นเรื่องของ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และเป็น
หน้าที่ของผู้ที่จ่ายเงินที่ต้องหักภาษีไว้ทุกครั้ง ตามอัตราที่กฎหมายกำหนด และออก
หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้กับผู้รับเงิน

ตัวอย่าง หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากกรมสรรพากร

1จ3อ่ภ7ั10าณเ,หตตา0บม,ย0ั4ื0รนว่ษ0อร0,ีาทิ0ออ0ีใแษ0ม่,หัจ0ียม00บ้3ท่ก่กาา0ใบ0บั%าหบยบง0บารเัญาบตบทจกจบ็่3ท่บมราาาหิ%รษจทิพยารกษันูรำทปัทเยรวทสงอ้ก(ิิอใอ่ัมน1หงมดโบม้ดดทบทั0กนีััก่ก้ับค้ยเกงใ0ับ่อหกนบาสรตหิิ,ิยบ้้ดบรษน0อนอนัราขร0อทอิึงคจิ้อษคืนกเม0กัอำรมาทาจบีหนกยันรั้ะ+1ก1้ดลอกจบเอั0หั0ปยกเ7ำกย็กจ7นฐ0นน็,ห0บะจ,าอ,วดจ0มน0ำั0นภมนีำง0ก0รอ0คานกัใืีา0ัดมห0้ษ)อ1ดยีใญม0บห–ไแูบ่หดคล0ล้ิาญานจดจค,่3ทัะท่0ำางคา,จ่จ0ส0่กกเาแืาัพพำ0อก0ดบิยล่กรมราจ0ัร้ชะัิอดบบรใกะมำนมใีาหรารหหัอทก้อระกัับนตจบเง้ภงรากคราิิรินากทากาดะีษ่ทารอจบีัเ้7ุรปหงาอว็ัณจส่%นกกิกา้ำนบภจใในหทบคคำีรา้ื่ืวิหจอกนอษษ่ันัีาำกวทยกณภนัใบบเานังษิทกนีี


Click to View FlipBook Version