The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by monkeyboomboy, 2021-10-08 13:52:26

หลักสูตรเกษตรอัจฉริยะ

หลักสูตรผักพพ

หลกั สตู ร

สวนเกษตรอจั ฉรยิ ะ( Smart Farm)

มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
North Eastern University



คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการ
เรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี ล่มนไ้ี ด้
จัดทาขนึ้ โดยยดึ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซึ่งมรี ายเอยี ดของ
หลักสูตร คือ ความนา กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี โครงสรา้ งเวลาเรียน คาอธบิ ายรายวชิ า
โครงสรา้ งรายวชิ า การจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้

หลักสูตรสถานศึกษาน้ีมีรายละเอียดและเน้ือหาสาระสาคัญ
เพียงพอทสี่ ามารถจะนาไปใช้เป็นแนวทางในการจดั การเรียน
การสอนโดยเร่ิมใชห้ ลกั สูตรดงั กล่าวกบั นกั เรียน ใหบ้ รรลุ
เปา้ หมายตามมาตรฐานและตัวชว้ี ัดที่หลกั สูตรกลุม่ สาระการ
เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

สำรบญั ข

เรือ่ ง หนา้

ส่วนที่ 1 ก
คานา ข
สารบัญ 1
ความเป็นมา 2
วสิ ยั ทศั น์ /ตามยทุ ธศาสตร์ชาติทศวรรษที่21 2
วิสยั ทัศนข์ องหลักสูตรบรู ณาการ 2
เป้าหมาย 2
พันธกจิ 3
ปรัชญา 3
อัตลกั ษณ์/เอกลักษณ์ 3
หลักการของหลกั สตู ร 3
จุดมงุ่ หมาย 4
คุณภาพของผเู้ รยี น 5
สมรรถสาคญั ของผ้เู รยี นในทศวรรษที่21 6
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ละคุณสมบตั ิของผู้เรียนในทศวรรษท่ี21 7
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ

สำรบญั (ต่อ) ค

เรือ่ ง หนา้

โครงสรา้ งรายวิชาเพ่มิ เติม 8
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 10
ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 10
การวดั และประเมนิ ผล 10
เอกสารอา้ งองิ 20

ความเป็นมา 1

ตามที่กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน
พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เป็นหลกั สตู รแกนกลางของประเทศ โดยเรมิ่ ใชใ้ น
โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสตู รและโรงเรยี นทมี่ ีความพรอ้ มในปกี ารศกึ ษา 2552
และเรมิ่ ใชใ้ นโรงเรียนท่วั ไปในปกี ารศกึ ษา 2553 สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐานโดยสานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษาไดด้ าเนินการติดตามผลการนา
หลักสตู รไปสกู่ ารปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรปู แบบ ทัง้ การประชมุ รบั ฟังความ
คดิ เหน็ การนเิ ทศตดิ ตาม

การใช้หลกั สตู รของโรงเรยี น การรับฟังความคิดเหน็ ของผใู้ ชห้ ลักสูตรผา่ นส่ือ
ต่าง ๆ รายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั หลกั สตู รและการใช้
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ผลการศกึ ษาพบว่า
หลักสูตรและการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มีข้อดี
ในหลายประการ เช่นการกาหนดเปา้ หมายการพฒั นาไวช้ ดั เจน มคี วามยืดหยุน่
เพียงพอใหส้ ถานศึกษาบรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษาได้ และพบวา่ ปญั หาส่วน
ใหญเ่ กดิ จากการนาหลกั สูตรและการใช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 สู่การปฏบิ ตั ใิ นสถานศึกษาและในหอ้ งเรียน

นอกจากน้ี การศึกษาข้อมลู เก่ียวกบั ทิศทาง กรอบยทุ ธศาสตร์ แผนแม่บท และ
กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาประเทศ พบว่าประเด็นสาคญั เพ่อื แปลงแผนไปสู่การ
ปฏิบตั ิใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธไ์ิ ด้อย่างแท้จริงคือ การเตรียมความพร้อมด้านกาลังคน และ
การเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย มุ่งเน้น การยกระดับคุณภาพทุน
มนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามช่วงวัยเพ่ือให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ
การพัฒนาทักษะท่ีสอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะท่ีจาเป็นต่อ
การดารงชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 ของคนในแตล่ ะชว่ งวยั ตามความเหมาะสม เตรียมความ
พร้อมของกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ตลอดจนการยกระดบั คุณภาพการศึกษาสคู่ วามเปน็ เลิศ

2

วสิ ยั ทศั น์

พฒั นาผเู้ รียนให้มคี วามรู้คคู่ ุณธรรม น้อมนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ก้าวทนั เทคโนโลยี สปู่ ระชาคมอาเซียน และมาตรฐานสากล

เปา้ หมาย

ความร่วมมือ การทางานเปน็ ทีม และภาวะผู้นาทักษะทางอาชพี และการเรียนรู้

พันธกจิ

1. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐานและโรงเรยี น
มาตรฐานสากล

2. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ทกั ษะชวี ติ และรว่ มสรา้ งสรรคส์ งั คม
3. พฒั นาครูและบุคลากรให้มศี ักยภาพระดบั มอื อาชีพ
4. พัฒนาการบรหิ ารจัดการเชิงระบบให้มปี ระสทิ ธิภาพตามมาตรฐานสากล
5. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื ใช้ในการจดั การเรียนรูส้ ู่ประชาคมอาเซยี น
และ มาตรฐานสากล
6. ส่งเสริมการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาพัฒนาผเู้ รยี นและ
บคุ ลากร

3

ปรชั ญา

การเรยี นรไู้ มม่ จี างหาย เมื่อชีวติ เราสาบสญู แต่ความร้ยู งั คงอยู่

อัตลักษณ์

ผู้รู้ดี เปน็ ผู้เจริญ

จดุ มุ่งหมาย

ผูเ้ รียนร้แู ละเข้าใจเก่ยี วกับการเปน็ smart farm ท่ีมศี กั ยภาพในการพฒั นาท่ยี งั่ ยืน
ผู้เรยี นสามารถนาการเป็น smart farm ทด่ี ไี ปพฒั นาตนเองและชมุ ชนได้
ผู้เรียนเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละพฒั นารว่ มกนั เกย่ี วกบั การเป็น smart farm

4

คุณภาพผูเ้ รียน

จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
เข้าใจวิธีการทางานเพ่ือช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม ใช้วัสดุ

อุปกรณ์และ เครื่องมือถูกต้องตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทางาน มีลักษณะ
นิสัยการทางาน ท่ีกระตือรือร้น ตรงเวลา ประหยัด ปลอดภัย สะอาด รอบคอบ และมี
จติ สานกึ ในการอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม

เข้าใจประโยชน์ของส่ิงของเคร่ืองใชใ้ นชีวิตประจาวัน มีความคิดในการแก้ปัญหา
หรือสนองความต้องการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการสร้างของเล่น ของใช้
อย่างง่าย โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี ได้แก่ กาหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม
ข้อมูล ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างถูกวิธี เลือกใช้ส่ิงของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์
และมีการจดั การสง่ิ ของเครื่องใช้ดว้ ยการนากลับมาใช้ซ้า

5

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนน้าพองศึกษา ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 ตาม
หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะ
สา้ คญั 5 ประการ ดงั นี

1) ความสามารถในการสื่อสารเป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มี
วฒั นธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง
เพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ
สังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสารท่ีมี
ประสิทธภิ าพ โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสังคม

2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สงั เคราะห์ การคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่
การสรา้ งองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม

3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและ
อุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล
สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหา
ความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพ
โดยคานึงถึงผลกระทบ ทเี่ กิดขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม

4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการ
ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การ
ทางาน และ การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การ
จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสมการปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของ
สังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อ
ตนเองและผูอ้ ่นื

5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยดี า้ นต่างๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมใน
ด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมี
คุณธรรม

6

5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยดี ้านตา่ งๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมใน
ด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมี
คุณธรรม

คณุ ลักษณอนั พงึ ประสงค์

ในการพฒั นาผ้เู รียนตามหลกั สูตรโรงเรยี นน้าพองศกึ ษา ฉบับปรบั ปรงุ
พุทธศักราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขันพนื ฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่ง
พฒั นาผู้เรยี นให้มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกับผอู้ ่ืนในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ ทังในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี

1) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2) ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต
3) มีวนิ ยั
4) ใฝเ่ รียนรู้
5) อยู่อยา่ งพอเพียง
6) มุง่ มัน่ ในการท้างาน
7) รักและภาคภมู ิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย
8) มีจิตสาธารณะ

คาอธบิ ายรายวชิ า 7

รหัสรายวิชา ว21103 สวนเกษตรอจั ฉรยิ ะ (Smart Farm) จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ชนั มธั ยมศึกษาตอนต้น เวลา 40 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

อตั ราสว่ นเวลาเรยี น ทฤษฎี กบั การปฏิบตั ิ (30 : 70)

ศกึ ษาเก่ยี วกบั การความรูเ้ รื่องสวนเกษตรอัจฉริยะ( Smart Farm)วิเคราะห์ขันตอนการวางแผน
อาชีพและแนวทางการเลือกอาชีพ การน้าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการจัดการด้าน
เศรษฐกจิ ของครอบครัว โดยการน้าหลกั 3หว่ ง 2 เงื่อนไข นา้ ผักไปกนิ เหลือกแ็ บง่ ขาย ก่อให้เกดิ รายได้

เพอื่ ใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับแนวทางในการประกอบอาชีพสุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
เจตคติท่ีดีต่อการท้างาน ยึดหลักของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถประยุกต์ใช้

สาระท่ี 1 การดารงชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน 1.1 เพือ่ ผลิตเทคโนโลยีสมัยใหม่ ดา้ นอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ขา้ มาผสมผสานเขา้ กบั งานด้าน
การเกษตรแกไ้ ขปญั หาการบรหิ ารจัดการฟาร์มใหก้ บั เกษตรกร

1.2 เพ่ือพัฒนาการเกษตรแบบดงั เดิมไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ไทยแลนด์4.0 ที่เน้นการ
บรหิ ารจดั การและเทคโนโลยีฟารม์ อจั ฉรยิ ะ (Smart Farm หรอื Intelligent Farm)

1.3 เพอื่ ส่งเสรมิ การท้าการเกษตรทเ่ี ปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม
1.4 เพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นให้มที กั ษะทางปญั ญามีความรู้ทางทฤษฎี มีความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์
สามารถคดิ วเิ คราะหแ์ ละมสี มรรถนะในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอาชพี โดยใชห้ ลกั กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ มีบคุ ลกิ ภาพและคุณลกั ษณะเหมาะสมกบั การปฏบิ ัตงิ านอาชพี และ
การทา้ งานร่วมกบั ผอู้ น่ื
1.5 เพอ่ื ให้ผ้เู รียนสามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามร้พู ัฒนางานอาชีพ มีสมรรถนะวิชาชีพดา้ นการ
วางแผน ดา้ เนนิ งาน จดั การ และพฒั นางานอาชพี ตามหลกั การและกระบวนการโดยคา้ นึงถงึ การอนรุ กั ษ์
พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภัย

สาระท่ี 2 การวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน 2.1 เขา้ ใจ มที กั ษะท่ีจา้ เป็น มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี

เพอื่ พฒั นาอาชพี มีคณุ ธรรม และมเี จตคตทิ ่ีดตี ่ออาชีพ

คาอธิบายรายวิชา 8
หลกั สูตร สวนออแกนิค (Smart Farm)
นกั เรยี น นกั ศึกษาและเกษตรกรผสู้ นใจ จานวน 1.0 หน่วยกิต
เวลา 40 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

โครงสร้างคาอธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เตมิ สาระการเรียนรู้ กระบวนก เวลา คะ
เรยี น แนน
หน่วย ชื่อหน่วยการ ผลการเรยี นรู้ ารจัดการ
ท่ี เรียนรู้ 5 10
เรยี นรู้
1 โรงเรือนอัจฉรยิ ะ เพอ่ื ให้ผเู้ รียน
ศึกษาการกาเนิด -ตน้ กาเนดิ ของโรงเรือน -ศกึ ษา
ของโรงเรอื น
-ความหมายของ ข้อมลู จาก

โรงเรอื น เอกสาร

-ความสาคญั ของ สอื่

โรงเรือน Youtube

2 ระบบควบคุม เพ่อื ให้ผูเ้ รยี น -อภปิ รายการทางาน -ศกึ ษา 5 10
6
โรงเรือนอจั ฉรยิ ะ ศึกษาการทางาน ของระบบคมุ โรงเรือน ข้อมูลจาก 10
20
แบบอตั โนมตั ิ ของระบบ แบบอตั โนมตั ิ เอกสาร

โรงเรอื น -วิเคราะห์การทางาน สอ่ื

ของโรงเรอื นอัจฉรยิ ะ Youtube

แบบอตั โนมัติ

สอบกลางภาค

3 การบรกิ ารจัดการ เพื่อให้ผเู้ รียนมี -ความหมายของ -ศึกษาขอ้ มลู

ปลูกพืชผา่ นสมาร์ท ทกั ษะในการสั่ง ปลกู พชื จากเอกสาร

โฟน การผ่านสมารท์ -วิธีการสั่งการผ่าน ส่ือ Youtube

โฟน สมาร์ทโฟน - ลงมือปฏบิ ตั ิ

9

หน่วย ช่อื หน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการ เวลา คะ

ท่ี เรยี นรู้ จัดการเรยี นรู้ เรียน แนน

4 ระบบตง้ั เวลารดน้า เพ่ือให้ผู้เรยี นมี -วธิ ีการตง้ั เวลารด -ศกึ ษาข้อมลู 6 20

อัตโนมตั ิ ทกั ษะในการดูแล น้า จากเอกสาร

รกั ษาสปรงิ เกอร์ -การดแู ลรกั ษา สอ่ื Youtube

สปรงิ เกอร์ - ลงมอื ปฏบิ ตั ิ

5 พลังงานทดแทนใน เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมี -ความหมายของ -ศึกษาข้อมลู 6 20
โรงเรือนอัจฉริยะ ทักษะในการใช้ พลงั งานทดแทน จากเอกสาร
พลังงานทดแทน -ประเภทของ สื่อ Youtube
และการดูแลรกั ษา พลังงานทดแทน - ลงมือปฏบิ ัติ
-อภิปรายการ
ทางานโดยใช้ทกั ษะ
การจดั การเพอ่ื
ประหยดั พลังงาน
ทรพั ยากรและ
ส่ิงแวดลอ้ ม

สอบปลายภาค 10
รวม 100

10

กระบวนการจัดการเรยี นรู้

1. บรรยายประกอบสาธติ
2. การศกึ ษาราย
3. การศกึ ษานอกสถานที่
4. กรณศี ึกษาค้นคว้าจากใบความรู้
5. ค้นควา้ หาความรู้เปน็ กลุม่
6. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
7. อภปิ ราย
8. สนทนา
9. ศึกษาใบความรู้

ส่อื และแหล่งเรยี นรู้

1.โคกหนองนา
2.Youtube
3.เกษตรผสมผสาน

การวัดและประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสอง
ประการคือการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนา
คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนา
และประเมนิ ตามตัวช้ีวดั เพื่อใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็น เป้าหมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็น
กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน
ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตาม
ศกั ยภาพ

11

แนวทางการวัดและประเมนิ ผล

1. ต้องวัดและประเมินผลท้ังความรู้และความคิด ความสามารถ ทักษะและ
กระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จรยิ ธรรม รวมทัง้ โอกาสในการเรยี นรู้ของผเู้ รียน

2. วิธีการวัดและประเมนิ ผลต้องสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัดท่ีกาหนด
ไว้

3. ต้องเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลตามความเป็นจริง และต้อง
ประเมนิ ผล ภายใตข้ อ้ มลู ท่มี อี ยู่

4. ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นต้องนาไปส่กู ารแปลผล และข้อสรุปที่
สมเหตสุ มผล

5. การวดั และการประเมนิ ผลต้องมีความเที่ยงตรงและเป็นธรรม ท้ังในด้านของวิธีการ
วดั
โอกาสของการประเมนิ

การวดั และการประเมนิ ผล

ระดบั คุณภาพ

ประเด็นการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ไมผ่ า่ น
(5) (1)
1. รู้และเขา้ ใจประวตั คิ วามเปน็ มาของไฮโดรโป (4) (3) (2)
นิกส์

2. รแู้ ละเขา้ ใจประวตั ิความเป็นมาของผักแต่ละ
ชนดิ
3. รู้ถึงประโยชนข์ องการปลกู ผกั

4. สามารถปฏบิ ัติทกั ษะพนื้ ฐานของการปลกู

5. สามารถใช้อปุ กรณ์ในการปลกู ได้

เรื่อง สวนเกษตรอจั ฉรยิ ะ (Smart Farm) 12

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้

ปีการศึกษา 2564 เวลา 30 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน เข้าใจ มีทักษะทจ่ี าเปน็ มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้
เทคโนโลยีเพอื่ พฒั นาอาชพี มีคุณธรรม และมีเจตคติท่ดี ตี อ่ อาชพี

2. ตัวชวี้ ดั
2.1 อภิปรายการหางานดว้ ยวิธที ่ีหลากหลาย
2.2 วิเคราะแนวทางเขา้ ส่อู าชีพ

3. สาระสาคัญ
คุณลักษณะและคณุ สมบตั ิทั่วไปของโรงเรอื นอจั ฉรยิ ะ ด้วยระบบควบคมุ โรงเรือน

อัจฉรยิ ะแบบอัตโนมตั ิ ระบบบรหิ ารจดั การปลกู พืชผา่ นสมาร์ทโฟนในโรงเรอื น ระบบต้ังเวลา
รดน้าอตั โนมัติ และระบบพลงั งานทดแทนในโรงเรอื นอัจฉริยะ การออกแบบโรงเรอื นอจั ฉรยิ ะ
การประกอบระบบควบคุมโรงเรอื นอัจฉรยิ ะแบบอัตโนมตั ิ ระบบต้งั เวลารดน้าอัตโนมตั ิใน
โรงเรอื นอัจฉริยะ ระบบพลังงานทดแทนในโรงเรือนอัจฉรยิ ะการทดลองระบบควบคุม
โรงเรือนอัจฉรยิ ะแบบอัตโนมัตริ ะบบเซ็นเซอรว์ ัดความชืน้ ในดนิ การใช้บอรด์ Arduino การ
ปลกู พืชผ่านสมาร์ทโฟนในโรงเรอื นอัจฉรยิ ะระบบต้ังเวลารดนา้ อตั โนมัติในโรงเรอื นอจั ฉรยิ ะ
และระบบพลงั งานทดแทนในโรงเรอื นอัจฉริยะการบรหิ ารจัดการและถา่ ยทอดองค์ความรู้
การปลูกพชื ผ่านสมารท์ โฟนในโรงเรือนอัจฉริยะเพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ทกั ษะ
ประสบการณแ์ ละเทคโนโลยใี นการส่งเสริมและพัฒนางานอาชีพ มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์
การคิดวเิ คราะห์ การแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอาชีพ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ มีจติ สานึกในการอนุรักษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดล้อม มีคุณธรรมการตรงต่อ
เวลาในการปฏบิ ัติงาน

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 13

4.1 เพือ่ ผลิตเทคโนโลยสี มัยใหม่ ด้านอเิ ล็กทรอนิกสเ์ ข้ามาผสมผสานเข้ากับงานด้าน

การเกษตรแก้ไขปญั หาการบริหารจัดการฟาร์มใหก้ บั เกษตรกร

4.2 เพื่อพัฒนาการเกษตรแบบด้ังเดิมไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ไทยแลนด์ 4.0 ทีเ่ นน้ การ

บรหิ ารจัดการและเทคโนโลยฟี าร์มอัจฉรยิ ะ (Smart Farm หรือ Intelligent Farm)

4.3 เพอ่ื ส่งเสรมิ การทาการเกษตรทีเ่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม

4.4 เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มที ักษะทางปญั ญามคี วามรู้ทางทฤษฎี มีความคดิ ริเริม่

สร้างสรรค์สามารถคิดวิเคราะหแ์ ละมสี มรรถนะในการแก้ไขปญั หาและพัฒนางานอาชีพ โดย

ใชห้ ลักกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ มีบคุ ลกิ ภาพและคุณลกั ษณะเหมาะสม

กบั การปฏบิ ตั งิ านอาชพี และการทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่

4.5 เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถประยกุ ต์ใชค้ วามรู้พฒั นางานอาชพี มีสมรรถนะวิชาชพี ดา้ น

การวางแผน ดาเนินงาน จดั การ และพฒั นางานอาชพี ตามหลักการและกระบวนการโดย

คานงึ ถึงการอนรุ ักษ์พลังงานและสงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั

5. สาระการเรียนรู้
5.1 เพ่ือผลิตเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ด้านการเกษตร
5.2 เพ่ือพัฒนาการเกษตรแบบดัง้ เดิมไปสูก่ ารเกษตรสมยั ใหม่ไทยแลนด์ 4.0
5.3 เพอ่ื สง่ เสรมิ การทาการเกษตร

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
6.1 ครูผสู้ อน

6.1.2 สือ่ ค่มู อื ฝึกอาชีพระยะสนั้ ในสวนเกษตรอจั ฉรยิ ะ(Smart Farm) สาหรับ
นักเรยี นและเกษตรกรผู้สนใจ ในเขตพน้ื ที่ ประกอบด้วย 5 ชดุ ใชส้ อน 5 วัน เป็นเวลา 30
ชัว่ โมง ดงั้ น้ี

ชุดที่ 1 เรื่อง โรงเรอื นอัจฉริยะ (Smart Farm) 6 ชวั่ โมง
ชดุ ที่ 2 เรื่อง ระบบควบคมุ โรงเรอื นอัจฉริยะแบบอัตโนมตั ิ (Control
System)6 ช่วั โมง
ชุดที่ 3 เรื่อง การบรหิ ารจัดการปลูกพืชผา่ นสมารท์ โฟน (IOT) 6 ชั่วโมง
ชุดท่ี 4 เรือ่ ง ระบบตง้ั เวลารดน้าอัตโนมตั ิ (Sprinkler System) 6 ชว่ั โมง
ชดุ ท่ี 5 เร่ือง พลังงานทดแทนในโรงเรือนอัจฉริยะ 6 ช่วั โมง
การสอนและการประเมนิ การใชค้ ่มู ือจัดการเรียนการสอนอาชพี ระยะสั้น ในสวนเกษตร
อัจฉริยะ(Smart Farm)
สาหรับนกั เรียนและเกษตรกรผสู้ นใจ ในเขตพืน้ ท่ี จังหวดั อตุ รดิตถร์ ายละเอียดการดาเนินการ
ดงั ตอ่ ไปน้ี

6.1.3 สว่ นประกอบของคมู่ ือฝกึ อาชพี ระยะส้ันประกอบด้วย 14
6.1.4 แผนการจัดการเรียนร้ปู ระกอบด้วย คูม่ ือฝึกอาชพี ระยะส้นั 10 แผน ในแตล่ ะ
แผน ประกอบดว้ ย

6.1.1 ชื่อเรอื่ ง
6.1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
6.1.3 เน้ือหาสาระการสอน
6.1.4 กิจกรรมการเรียนการสอน
6.1.5 ส่อื การเรยี นการสอน
6.1.6 การวัดผลประเมินผล
6.1.2 คู่มือฝึกอาชพี ระยะสัน้ ในสวนเกษตรอัจฉริยะ(Smart Farm) สาหรบั นกั เรยี น
และเกษตรกรผูส้ นใจ ในเขตพื้นที่ มจี านวนท้ังหมด 5 ชุด แตล่ ะชดุ ประกอบด้วย
6.1.2.1 ทบทวนความรู้เดิม
6.1.2.2 ใบความรู้ ใบงาน
6.1.2.3 กิจกรรมกลุ่ม
6.1.2.4 กจิ กรรมรายบุคคล
6.1.2.6 แบบประเมินผลคุณภาพผูเ้ รียน
6.1.3 แผนการจัดการเรียนรู้
6.1.4 แบบวดั เจตคตติ ่อการปฏบิ ตั ิงานเกษตรสวนเกษตรอจั ฉริยะ (Smart
Farm) สาหรบั นักเรียนและเกษตรกรผู้สนใจ ในเขตพ้นื ท่ี
6.1.5 แบบทดสอบประมวลผลความรู้ ใชว้ ดั ผลหลงั เรียนชุดการจัดการเรยี นรู้
เสร็จสนิ้
6.2. วิธีการใชค้ ู่มือฝึกอาชพี ระยะส้นั ในสวนเกษตรอัจฉรยิ ะ(Smart Farm ) สาหรบั
นักเรียนและเกษตรกรผู้สนใจ ในเขตพ้นื ที่
6.2.1 ในชั่วโมงแรกใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบประมวลผลความรู้ก่อนทดลองใช้
คู่มือฝึกอาชีพระยะส้นั
6.2.2 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้อยา่ งละเอยี ดและปฏบิ ตั ิตามแผนการจัดการ
เรียนร้ขู องครู
6.2.3 ก่อนให้นกั เรยี นทาคมู่ ือฝึกอาชีพระยะสัน้ ตอ้ งชแี้ จงให้นักเรียนเข้าใจ
6.2.4 ในขณะท่นี ักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรม ครเู ป็นผ้ใู หค้ าปรกึ ษาและให้ความรู้
เพม่ิ เติมกับนักเรียน
6.2.5 เมอ่ื นักเรียนทาคมู่ ือฝึกอาชีพระยะส้นั เสรจ็ ใหค้ รูตรวจและบนั ทึกผลคะแนน
6.2.6 หลงั จากจบคมู่ อื ฝกึ อาชพี ระยะสั้นในชดุ ที่ 8 ให้นักเรียนทาหลังเรยี นทุกชุด
อกี ครั้งเพอื่ เปรียบเทียบของการเรยี นร้ทู าแบบทดสอบประมวลผลความรู้

7. กลมุ่ เปา้ หมาย 15
7.1 นักเรยี นชน้ั ประถม มัธยมศึกษาตอนต้น
7.2 นกั เรยี นและนกั ศึกษาสาขาท่ีสนใจ

8.รปู แบบหลกั สตู ร

(หลักสูตรระยะส้ัน/รายวิชาในหลักสูตรสถานศกึ ษานกั เรียนชน้ั ประถม มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ปวช.ปวส.)

8.1 หลักสูตรอาชีพระยะสั้น พฒั นาขนึ้ เพื่อฝึกวชิ าชพี ใหก้ บั นกั เรียนมธั ยมศกึ ษา
ตอนต้นและประชาชนที่สนใจ

8.2 นักเรยี น นักศึกษาสาขาทีส่ นใจ ทผ่ี า่ นการเรียนหลักสตู รน้แี ลว้ ร่วมเป็นวทิ ยากร

9.องค์ประกอบหลักสตู ร

(ชือ่ หลักสตู ร วชิ า/จานวนหนว่ ยกิต/อัตราสว่ นเวลาทฤษฎีกับการปฏบิ ตั ิ/จุดประสงค์รายวิชา
ทีส่ อดคล้องกับกรอบมาตรฐาน สมรรถนะรายวิชา คาอธบิ ายรายวชิ า ผงั การเช่ือมโยง
หลักสตู ร 3 ระดบั การสอนและการประเมนิ

9.1 ชอ่ื หลกั สูตร สวนเกษตรอจั ฉรยิ ะ (Smart Farm)
9.2 จานวนหนว่ ยกิต หลกั สตู รอาชีพระยะส้ัน 30 ช่ัวโมง
9.3 อัตราส่วนเวลาเรียน ทฤษฎี กบั การปฏบิ ัติ (30 : 70) สวนเกษตรอัจฉริยะ
(Smart Farm) สาหรบั นักเรียน นกั ศึกษาและเกษตรกรผ้สู นใจ ประกอบด้วยกจิ กรรม 3
ลกั ษณะ คอื

1. กจิ กรรมท่ีผสู้ อนเปน็ ผดู้ าเนินการสอน
2. กิจกรรมท่นี ักเรยี นรว่ มกนั ปฏบิ ตั เิ ป็นกลุม่
3. กิจกรรมท่ีนกั เรียนรว่ มกันปฏิบัติเป็นเหตุผล

10.กระบวนการบริหารจัดการหลกั สตู ร

(การวางแผน วเิ คราะห์ การจัดทาแผนการดาเนินการ การประสานกบั สถาบันเครอื ข่าย)
การบริหารหลักสูตรเกษตรอจั ฉรยิ ะเพอ่ื ให้การจดั การเรยี นการสอนบรรลุเป้าหมายและ
วัตถุประสงค์ มีการดาเนินการดงั นี้

16

1. การวางแผนงานหลักสตู ร มกี ารวางแผนที่ดี จดั ระบบใหด้ ี มีข้อมูลทีช่ ดั เจน และ
เตรยี มทุกอยา่ งใหพ้ ร้อมรับการเปล่ียนแปลง

2. การจัดระบบขอ้ มูลโรงเรยี น เปน็ พืน้ ฐานทีส่ าคัญประการหน่งึ ในการบริหาร
หลักสูตร ระบบข้อมูลโรงเรยี นประกอบด้วยข้อมลู ต่าง ๆ ทงั้ ด้าน ครู ผเู้ รยี น และวสั ดุอปุ กรณ์
รวมท้ังส่งิ กอ่ สร้างต่าง ๆ

3. เอกสารหลกั สูตร มแี นวการสอนอยา่ งถกู ต้อง ชดั เจน และทนั สมัย เอกสาร
ประกอบหลกั สูตรและรายวชิ าที่ละเอียดจะชว่ ยให้การบรหิ ารหลักสตู รเปน็ ไปโดยงา่ ย
สามารถติดตามการทางานไดอ้ ย่างใกล้ชดิ และเปน็ ขั้นเป็นตอน

4. คณาจารย์มคี ณุ ภาพ เข้าใจหลกั สตู รอย่างดี เมอ่ื ครเู ปน็ ผู้เขยี นหลักสตู รเองแลว้
ย่อมจะทาใหก้ ารศึกษาทาความเขา้ ใจหลกั สตู รเป็นไปโดยงา่ ย สามารถปรับประยกุ ตใ์ ห้
เหมาะสมกับสภาพท่เี ปน็ จรงิ ในหอ้ งเรียนได้

5. ผูเ้ รียนมคี วามพรอ้ มด้านความรูพ้ ้นื ฐานและคุณธรรม ทง้ั ดา้ นวิชาการ คณุ ธรรม
จริยธรรม สถานศึกษาจะต้องจัดเตรยี มระบบขอ้ มูลรายบคุ คลของผ้เู รยี น โดยครูผ้สู อนทกุ คน
มสี ว่ นรว่ มพฒั นาผเู้ รียน

ทกุ ๆ ด้าน
6. มีทรพั ยากรสนับสนนุ ทีด่ ีและเพียงพอ ซึ่งครอบคลมุ ท้ังเรื่องงบประมาณ ทรพั ยากร

บุคคลแหล่งเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมในการเรยี นการสอน
7. ระบบอาจารยท์ ่ีปรึกษาดแี ละมีประสทิ ธภิ าพ บทบาทในเรื่องน้ไี ม่ใชภ่ าระหน้าท่ี

ของครู คนใดคนหนง่ึ แตค่ รูทกุ คนจะมบี ทบาทเป็นครูทปี่ รึกษาหรอื ครูแนะแนวได้ โดยเฉพาะ
ครูที่อยูใ่ กล้ชิดเด็ก

8. มีบรรยากาศทางวชิ าการท่ีเอ้ือตอ่ การแสวงหาความรู้
9. มีระบบการติดตามและประเมินผล คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรรายวชิ าจะต้อง
มาพูดคยุ กนั ในแตล่ ะภาคการศกึ ษา และทกุ สิ้นปกี ารศกึ ษา

11. ความรว่ มมือของหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

สถานประกอบการและชมุ ชน,โรงเรยี น,อาชวี ศกึ ษา ในการดาเนินการได้รบั ความร่วมมอื ใน
การดาเนินการนาหนักสูตรสู่การพฒั นากลมุ่ เป้าหมาย เช่น สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษา ใหผ้ ูเ้ รียนได้สามารถเรยี นรู้และประยกุ ตใ์ ชอ้ งค์ความรูใ้ นชวี ติ ประจาวันพฒั นา
คุณภาพดา้ นเกษตรสยู่ คุ ไทยแลนด์ 4.0

12. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 17

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การผ่าน
1 บอกการเตรียมความพรอ้ มและ แบบวดั เจตคติต่อการ -แบบประเมนิ พฤตกิ รรม -ผลทีเ่ กดิ จากการบรหิ าร
การสร้างประสบการณส์ อู่ าชีพได้ ปฏิบตั งิ านเกษตรสวน จัดการหลักสตู ร มี
(K) เกษตรอัจฉริยะ (Smart หลกั สูตรทส่ี ามารถนามาใช้
Farm) สาหรบั นกั เรยี นและ ในการจดั กระบวนการ
เกษตรกรผู้สนใจ ในเขต เรยี นรูใ้ หแ้ กน่ กั เรยี น
พืน้ ที่ นักศึกษาและประชาชน
ท่วั ไป

2 วิเคราะห์ความพรอ้ มของตนเอง แบบทดสอบประมวลผล - ใบงานความรู้ - ผ้เู รยี นไดร้ ับการพฒั นา
สมรรถนะวชิ าชีพและ
เพือ่ หาแนวทางการประกอบอาชพี ความรู้ ใช้วดั ผลหลังเรียน คุณวุฒิในแต่ละตามระดบั
การศกึ ษา
แบบเศรษฐกิจพอเพียงได้ (P) ชดุ การจดั การเรยี นรเู้ สรจ็
-ผู้เรียนเกดิ ทกั ษะทาง
สนิ้ ปัญญามีความร้ทู างทฤษฎี
มคี วามคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์
3 มุ่งม่ันในการทางาน (A) ในช่วั โมงแรกใหผ้ เู้ รียนทา - แบบสงั เกตคุณลกั ษณะ สามารถคิดวิเคราะหแ์ ละมี
สมรรถนะในการแกไ้ ข
แบบทดสอบประมวลผล อนั พงึ ประสงค์ ปญั หาและพฒั นางาน
อาชพี โดยใช้หลกั
ความร้กู อ่ นทดลองใช้คู่มอื กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และ
ฝึกอาชีพระยะส้นั คณิตศาสตร์ มบี ุคลกิ ภาพ
และคุณลกั ษณะเหมาะสม
ศึกษาแผนการจดั การ กบั การปฏบิ ตั งิ านอาชีพ
และการทางานร่วมกับ
เรยี นรอู้ ยา่ งละเอยี ดและ ผู้อ่ืน

ปฏิบัตติ ามแผนการจัดการ

เรยี นรขู้ องครู

ก่อนให้นักเรียนทาคู่มอื ฝกึ

อาชพี ระยะส้ันตอ้ งชแี้ จงให้

นกั เรียนเข้าใจ

19

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การผา่ น

4. ความสามารถในการ 1.สังเกตคุณลกั ษณะอัน -แบบสังเกต -ผูเ้ รยี นสามารถประยุกต์ใช้
สอ่ื สารเป็นความสามารถใน ความรพู้ ัฒนางานอาชีพ มี
การรบั ส่งและส่งสาร (c) พงึ ประสงคข์ อง คุณลักษณะอันพึง สมรรถนะวชิ าชีพด้านการ
วางแผน ดาเนนิ งาน
นักเรยี น ประสงค์ จดั การ และพฒั นางาน
อาชพี ตามหลกั การและ
กระบวนการโดยคานึงถงึ
การอนุรักษ์พลังงานและ
สิ่งแวดล้อมและความ
ปลอดภัย

5.การพฒั นาอาชพี ดา้ น ตดิ ตามผลสัมฤทธ์ิ แบบสังเกต ผปู้ กครองและชุมชนมี
การเกษตรแบบดั้งเดมิ ไปสู่ ทางการเรียน คณุ ลักษณะอันพึง แหล่งเรียนรู้ในการพฒั นา
การเกษตรสมัยใหม่ (K) ประสงค์ อาชีพด้านการเกษตรแบบ
ดง้ั เดิมไปสู่การเกษตร
สมัยใหม่ไทยแลนด์ 4.0 ท่ี
เน้นการบริหารจัดการและ
เทคโนโลยีฟาร์มอจั ฉริยะ
(Smart Farm)

6.สามารถออกแบบและตดิ ตั้ง ตดิ ตามผลสมั ฤทธ์ิ แบบสังเกต ผ้ปู กครองและชมุ ชน
ทดสอบ วเิ คราะห์ และ ทางการเรยี น คณุ ลักษณะอันพึง สามารถนาเทคโนโลยี
บารงุ รักษาอุปกรณแ์ ละวงจร ประสงค์ สมัยใหม่ ด้าน
อิเล็กทรอนกิ ส์ได(้ P) อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ข้ามา
ผสมผสานเขา้ กับงานดา้ น
การเกษตรแกไ้ ขปัญหาการ
บรหิ ารจดั การฟาร์มให้กบั
เกษตรกร

20

เอกสารอา้ งองิ

• สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (๒๕๖๐). ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑.

• สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. (๒๕๔๙). แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐.

• สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (๒๕๔๗). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การปฏริ ูปการศึกษา.

คณะผู้จดั ทำ

1.นางสาวสาธินี ภูมศี รี รหัส6480110157
2.นางสาวจิราพรรณ สนทอง รหัส 6480110174
3.น.ส.จินตนา คาธานี รหัส6480110173
4.นางสาวบุษราพร กุละภู รหัส 6480110178
5.นายกฤษณะ พูลกลาง รหัส 6480110168


Click to View FlipBook Version