The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR โรงเรียนบ้านจีกแดก 2564 PDF

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by too.narathip, 2022-05-02 10:45:08

SAR โรงเรียนบ้านจีกแดก 2564 PDF

SAR โรงเรียนบ้านจีกแดก 2564 PDF

ห น้ า | ก

การขาย

ห น้ า | ข

รายงานผลการปฎบิ ัติงาน และประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

(Salf Assessment Report : SAR)
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4

โรงเรยี นบา้ นจกี แดก

ตำบลจกี แดก อำเภอพนมดงรกั จงั หวัดสุรนิ ทร์

สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

เอกสารลำดบั ที่ ๑/๒๕๖4

ห น้ า | ค

คำนำ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นบ้านจกี แดกฉบบั นี้ จัดทำขึ้น
ตามกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ้ 3 ระบุให้สถานศึกษาจดั สง่ รายงานผลการ
ประเมินตนเองให้แกห่ นว่ ยงานตน้ สังกัดหรือหนว่ ยงานที่กำกบั ดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพ่ือรายงานผล
การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการ
บริหารจดั การศึกษาทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คุณภาพของเด็ก
กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียนกระบวนการบริหารและการจัดการกระบวนการจัดการเรียน
การสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญเพอ่ื นำเสนรายงานผลการจัดการศกึ ษาในรอบปีท่ผี ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการ
ประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
ต่อไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ยที่มสี ว่ นรว่ มในการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2564 คณะ
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรยี นบ้านจีกแดก ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5 ต่อไป

โรงเรียนบา้ นจกี แดก
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต๓

ห น้ า | ง

สารบัญ

เรอื่ ง หนา้

คำนำ ข
สารบัญ ๑
5
บทสรุปผู้บรหิ าร 6
7
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 8
 ข้อมูลท่ัวไป 9
 ขอ้ มูลครูและบุคลากร
 ขอ้ มลู นกั เรยี น 10
 สรปุ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 15
 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผ้เู รียน 15
15
สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั 15
ระดับปฐมวัย 19
22
ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั 24
24
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ 24
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๒8
30
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเป็นสำคัญ 34
ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 34
๓9
ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน 42

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น 43
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
45
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั 47
49
ส่วนท่ี 3 สรปุ ผล และแนวทางการพฒั นา 51
 ระดับปฐมวัย 52
 ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

สว่ นที่ 4 ภาคผนวก
 คำสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมนิ ผลคณุ ภาพการศึกษา และจดั ทำรายงานผลการประเมิน

ตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563
 รายงานผลการทดสอบการอ่านของนกั เรียน (RT)

 รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT)
 รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)
 รายงานผลการประเมนิ สมรรถนะผู้เรยี น และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
 ภาพกจิ กรรม

ห น้ า | ๑

บทสรปุ ผ้บู ริหาร

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน

โรงเรยี นบ้านจีกแดก ตงั้ อยหู่ มูท่ ี่ 1 ตำบลจีกแดก อำเภอพนมดงรกั จงั หวดั สุรินทร์ สังกดั สำนักงาน
เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3 เปิดสอนตัง้ แต่ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 2-๓ และประถมศกึ ษาปีท่๑ี -6 มี
บุคลากรสายบริหาร จำนวน 1 คน ข้าราชการครู 8 ครูธุรการจำนวน ๑ คน บุคลากรจำนวน 1 คน จำนวน
นักเรยี นระดับปฐมวัย 40 คน จำนวนนกั เรยี นระดับประถมศึกษา 143 คน ไดด้ ำเนนิ งานด้านการสร้างความ
เข้มแข็งตามระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยได้ดำเนินงานตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และมีผลการดำเนนิ งาน ดังนี้

ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง
ระดับปฐมวยั

โรงเรียนบา้ นจกี แดกมีบทบาทหนา้ ท่ใี นการจดั การศึกษาให้แก่เด็กนักเรยี นระดับชั้นปฐมวัยเพื่อพัฒนา
และส่งเสริมเด็กให้มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวยั ทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา
มสี ขุ นสิ ยั ท่ีดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการดำเนินชวี ติ และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ในสังคม ภายใต้ปรัชญาพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม ส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้ทีส่ อดคล้องกับการพฒั นาการทางสมองของเด็กแตล่ ะคนอย่างเตม็ ตามศักยภาพ สอดคล้อง
กบั อตั ลกั ษณข์ องโรงเรียน“สขุ ภาพดี มมี ารยาทงาม”

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1. คณุ ภาพของสถานศึกษาอยู่ในระดบั ใด มคี ุณภาพอย่างไร

ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ

มาตรฐานการศกึ ษา/ตวั บ่งชี้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคัญ ดีเลศิ

สรุป ดเี ลศิ

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้และมีทักษะในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ทั้งนี้เพราะครูมี
ความมุ่งมั่นตั้งใจในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาหาความรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ งเข้ารบั
การอบรมตามที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด การอบรมจากหน่วยงานอื่นๆ และตามความสนใจ สามารถนำ
ความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองมาใช้ในการพัฒนา ปรับปรุงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใน
ห้องเรียนแก้ปัญหานักเรียนในห้องเรียนตามสภาพและความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
โรงเรียนมีความพร้อมในด้านบริบทสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกห้องเรียนที่ ร่มรื่น กว้างเหมาะสำหรับพัฒนา
ด้านร่างกาย ภายในห้องเรียนมีระเบียบ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ เด็กนักเรียนมีวินัยรักษาความสะอาดและมี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีระเบียบวินัย มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวิถีไทย วิถีชุมชนและ
ท้องถน่ิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยมีการเยี่ยมบ้าน

ห น้ า | ๒

นักเรียน เด็กมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงมีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถนะตามเกณฑ์ มีสุขภาพจิตดี
เคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์กัน รู้จักดูแลรักษาสุขภา พ
อนามัยและความปลอดภัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และ
สถานการณท์ ่เี สย่ี งอันตราย ดา้ นอารมณ์จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้รา่ เริงแจ่มใสแสดงอารมณ์
ความรู้สกึ ได้เหมาะสม รู้จกั ยับยัง้ ชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในผลงานของตนเองและผู้อ่ืน มี
จิตสำนึกและคา่ นยิ มที่ดี มีความกล้าแสดงออก รู้จักช่วยเหลือแบง่ ปัน มีความซื่อสตั ย์ สุจริตและมีความสุขกับ
ศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคมมีทักษะชีวิต มีวินัย
มคี วามรบั ผดิ ชอบซ่ือสัตยส์ ุจริตรู้จักแบ่งปัน ประพฤตติ นตามประเพณีวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือได้
ด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ
รอบตวั รกั การเรยี นรมู้ ีทักษะในการสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย

ระดบั ข้นั พนื้ ฐาน

1. ผลการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในตามมาตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดงั น้ี
สถานศึกษามีการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาด้วยการมีส่วนร่วมจากผู้มสี ว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

โดยการสอบถามความต้องการและความพึงพอใจของผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นำมา
กำหนดเป้าหมาย จุดเน้นการพัฒนาจากข้อมูลพื้นฐานและสารสนเทศของสถานศึกษา มาจัดทำมาตรฐาน
สถานศกึ ษาโดยยึดมาตรฐานการศึกษาต้นสงั กัด จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาระยะ 3 ปีคือปกี ารศึกษา 2564-
2566 จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2564 การดำเนินงานเริ่มมีการตดิ ตามนิเทศและเพิม่ เตมิ สว่ นที่ยงั ขาด
หรือปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมากขึ้น เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและสมบูรณ์
มากขน้ึ ในอนาคต
๒. ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดับคณุ ภาพโดยรวมดเี ลิศ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี นระดบั ดเี ลิศ (ระดับคุณภาพ ๔) ในการพฒั นาใหผ้ ู้เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนนนั้ จากการประเมินนักเรยี นมคี วามสามารถดา้ นการอ่าน การเขียน จากการประเมินตน้ สงั กัด
นกั เรยี นประถมศึกษาปีที่ 1 การอ่านออกเสียงและอ่านรู้เรื่องอยู่ในระดบั ดี เฉลี่ยรอ้ ยละ 60.48 ผ้เู รยี นมผี ล
การอ่าน คิด วิเคราะหแ์ ละเขียนส่อื ความอยใู่ นระดับดขี นึ้ ไปเฉลีย่ รอ้ ยละ 76.53 มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตาม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาอยู่ในระดับดีข้ึนไปเฉล่ยี รอ้ ยละ 79.92 มผี ลการประเมินสมรรถนะผูเ้ รยี นอยใู่ นระดับดี
ขึน้ ไปเฉลย่ี ร้อยละ 90.55 นกั เรียนมีคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์อยใู่ นระดบั ดขี ึ้นไปเฉลี่ยรอ้ ยละ 100.00
นักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 มผี ลการทดสอบการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น NT เฉลี่ยรอ้ ยละ 39.14
และนกั เรียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน O – NET เฉลีย่
ร้อยละ 33.25 มปี จั จยั หลายอยา่ งท่ีทำใหผ้ ลการประเมินคอ่ นข้างต่ำได้แก่การเปลยี่ นบุคลากรบ่อย นักเรียนมี
จำนวนมากเกนิ ไป ครูขาดแคลน รวมถึงสถานการณ์การแพร่ระบวดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรน่า(COVID-19) ที่
ส่งผลให้การจัดการเรยี นการสอนเปน็ แบบหลากหลายขน้ึ อยู่กับสภาพความพรอ้ มของโรงเรียนและนักเรียน
สง่ ผลใหก้ ารจดั กิจกรรมทำได้ตามสภาพ โดยส่วนใหญภ่ าคเรียนท่ี 1 นักเรียนเรียนแบบ On-hand เกอื บตลอด
ทง้ั ภาคเรียน เม่ือนักเรยี นต้องเรยี นอยู่ทบี่ า้ นเป็นระยะเวลานานสง่ ผลให้เกดิ การสะสมของการส่งงาน การ
ปฏสิ มั พนั ธ์กบั ครแู ละเพื่อนในห้องเรยี น สง่ ผลใหเ้ กิดความกระตือรือรน้ ในการทำกิจกรรมหรอื ส่งงานลดลง
นักเรียนบางสว่ นขาดการใฝ่รู้ใฝ่เรียนและความรบั ผดิ ชอบในการส่งงานซง่ึ เปน็ ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการไดฝ้ ึกฝน
ทกั ษะความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จำเปน็ ต้องเรยี นร้เู ป็นพืน้ ฐานของชวี ติ อย่างไรก็ตามนักเรยี นสว่ นใหญ่ก็มี
พืน้ ฐานการจดั การดี สามารถแบง่ งานร้หู นา้ ที่ และพรอ้ มศึกษาต่อและมีอาชีพ ผู้เรยี นมีคุณลักษณะพึงประสงค์
คณุ ธรรมตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกิจกรรมคุณธรรม มีคุณธรรมตามท่โี รงเรยี นกำหนดตาม

ห น้ า | ๓

ปรัชญาของโรงเรยี น มีค่านยิ มท่ีดีของโรงเรยี น รักท้องถิน่ อนรุ กั ษ์และเหน็ คุณค่าศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย
สามารถอยู่รว่ มกับบุคคลอ่นื ท่ีมีความแตกต่างกันอย่างมีความสุข มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี หลีกเล่ียง
อบายมุขไม่มีความขดั แยง้ โดยมผี ลการประเมินผูเ้ รียนปัญหาการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สารควรจดั
กิจกรรมส่งเสริมทกั ษะทางวชิ าการอยา่ งต่อเน่ือง

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับดีเลิศ (ระดบั คุณภาพ ๔)
โรงเรยี นบ้านจีกแดกมแี นวทางดำเนนิ การพัฒนาผเู้ รยี น แบ่งออกเป็น ๔ งาน ได้แก่ งานวิชาการ งาน
บุคลากร งานบริหารงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป โดยกระบวนการ การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพเชิง
ระบบโดยใช้กระบวนการ P D C A เขา้ มาจดั การ ทกุ โครงการและทกุ กิจกรรม มกี ารประสานความร่วมมือจาก
ทุกฝ่าย โรงเรียนมีการบริหารจัดการและอำนวยความสะดวกให้แก่ครู จัดสภาพแวดล้อมที่สวยงาน สะอาด
ปรับปรุงซ่อมแซมให้ใช้การได้ปลอดภัย จัดแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ห้องเรียนมีทีวี เชื่อมต่อกับโน้ตบุ๊ค
สามารถจัดการเรียนรู้แบบDLTV DLIT โดยติดตั้งเครือข่ายสัญญาณอินเตอร์เน็ตครอบคลุมพื้นท่ี มีการเสนอ
ความคิดเห็นในการวางแผนจัดการศึกษาของชุมชน จัดหาแหล่งเรียนรู้ และวิทยากรภายนอกอย่างเพียงพอ
อุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพได้แก่ มีจำนวนชุดอุปกรณ์ไม่ครบทุกชั้นเรียน และอุปกรณ์บางส่วนที่ได้รับมา
กอ่ นเรม่ิ มีการชำรดุ ต้องมีการปรบั ปรุงซ่อมแซมอยู่เสมอ การใช้ไมต่ อ่ เนือ่ ง องคป์ ระกอบเช่นอินเตอร์เน็ตไม่แรง
มีอุปกรณ์บางอย่างพังเสียหายยังไม่ได้รับการซ่อมแซม หรือหากมีการซ่อมแซมจะต้องใช้งบประมาณในการ
ซ่อมแซมคอ่ นขา้ งสงู รวมถงึ การดแู ลเก่ยี วกบั ดา้ นไอทีต้องใชผ้ ้ทู ่ีมคี วามรูเ้ ฉพาะด้านมาชว่ ยซ่อม จึงใชร้ ะยะเวลา
ในการหาทั้งงบประมาณและหาผู้รู้มาช่วยในการซ่อมแซมแก้ไขค่อนข้างนาน จากปัญหาการแพร่ระบาดโรค
ติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหเ้ กิดปัญหาเรือ่ งการมีส่วนรว่ มในการทำกิจกรรมของนักเรียนท่ี
เป็นกิจกรรมที่ต้องเรียนรู้จากสถานการณ์หรือสถานที่จริงทำได้น้อยมากหรือไม่ได้ทำเลย นักเรียนเรียนผ่าน
ออนไลนซ์ ่งึ กม็ ขี ้อจำกดั พอสมควร
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ระดับดีเลิศ (ระดับ
คณุ ภาพ ๔)
จากสถานการณ์ปัญหาการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษามี
การดำเนินงานท้ังดา้ นการวางแผนการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ วิธกี าร การเตรยี มความพร้อมรับมือกับ
การปัญหาการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และมีการพัฒนาบุคลากรดว้ ยวิธีการ
ที่หลากหลาย เช่น การอบรม การศึกษาเอกสาร การประชุมภายใน การพูดคุยปรึกษาหารือ เยี่ยมห้องเรียน
นิเทศการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ฝึกฝนทักษะ และการดูแลให้เป็นผู้ที่มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย
จิตใจและสติปัญญา เหมาะสมกบั สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน แต่เนอื่ งจากบุคลากรในสถานศึกษา
มีกลมุ่ อายทุ ่แี ตกตา่ งกนั ขาดแคลนบคุ ลากรมาเป็นเวลานาน รวมถึงความไม่แน่นอนจากสถานการณ์ปญั หาการ
แพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้การดำเนินงานไม่เป็นไปตามนโยบายที่ทาง
โรงเรียนต้องการ เช่นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไม่ตอ่ เนื่องในบางกลุ่มสาระ บางรายวิชา ไม่สามารถ
ประสานการใชภ้ ูมิปัญญาท้องถน่ิ เข้ามาสอดแทรกในการจัดการเรียนรู้ ส่วนบุคลากรท่เี ป็นข้าราชการจะทราบ
และเข้าใจนโยบาย จึงมกี ารดำเนินงานจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามความชำนาญและได้ผลค่อนขา้ งดี

ห น้ า | ๔

จดุ เดน่
สถานศกึ ษามีโครงการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่อื ยกคณุ ภาพนักเรยี นให้พัฒนาสูงข้ึน ผู้เรียน
มีคุณธรรม จิตอาสาการบริหารจัดการศึกษา และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง จัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้
เหมาะสม มสี อ่ื ด้านเทคโนโลยีท่ีทนั สมยั โรงเรยี นมีการพฒั นาช่องทางการประชาสมั พันธก์ ิจกรรมของโรงเรียน
ผ่านการทำวารสาร และเพจประจำของโรงเรยี น มีการจัดทำกลุ่มไลน์ของครูและผูป้ กครองนักเรียนแต่ละชนั้
เรียนเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสารของโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง นักเรียนและชุมชน ครูมีความตั้งใจมุ่งมั่นใน
การพัฒนาการสอน การดูแลนักเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้ สถานศึกษามีได้รับความร่วมมือในการการแสดงความคิดเห็นและความช่วยเหลือจากคนในชุมชน
โดยเฉพาะกรรมการสถานศึกษาเป็นอย่างดีเสมอ ส่งผลให้การจัดกิจกรรมประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดีตาม
นโยบายของโรงเรยี น
จดุ ท่ีควรพัฒนา
ผลการประเมินระดับชาติ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนการพัฒนาความสามารถ
ภาษาองั กฤษของนักเรียน พฒั นาครูใหส้ ามารถสร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ พฒั นาเครือขา่ ยการมสี ่วนร่วมจาก
ทุกฝา่ ย การติดตามนิเทศงานอยา่ งต่อเนื่อง การระดมทนุ ในการพัฒนานักเรียนและอาคารสถานที่ของโรงเรยี น
แผนพัฒนาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้ึน
การพัฒนาโครงการ/กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เนน้ การพฒั นาผเู้ รียนเป็นรายบุคคลเรียนรวมเน้นผลสัมฤทธ์ิ
ระดับชาติ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการสร้างองค์ความรู้ให้ครอบคลุมทุกสาระพัฒนาทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จัดทำแผนการพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพโครงการส่งเสริมจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบ Active learning ประสานงานกับเครอื ข่ายท้ังภายในและภายนอกองค์กร จัดทำปฏิทินการนิเทศ
และมีการติดตามอย่างชัดเจน นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการติดต่อประสานงานและจัดการเรยี น
การสอนเพ่ือรองรบั สถานการณต์ า่ ง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ อย่างมคี วามพร้อมตลอดเวลา

ห น้ า | ๕

ส่วนท่ี ๑

ข้อมลู พื้นฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ขอ้ มูลทว่ั ไป

ช่อื โรงเรยี น บา้ นจีกแดก ทอี่ ยู่ หมทู่ ่ี ๑ ตำบลจีกแดก
อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสรุ ินทร์ ๓๒๑๔๐

ตราโรงเรยี น

เอกลกั ษณ์ :บรรยากาศดี วีถีพอเพยี ง

อัตลกั ษณ์ : สุขภาพดี มีมารยาทงาม

คำขวัญ : รลู้ ึก ฝึกเก่ง เครง่ คณุ ธรรม นำชุมชน

ปรัชญาประจำโรงเรยี น : “สุวิชาโน ภะวัง โหนติ” : ผู้รดู้ ีเป็นผู้เจริญ

สีประจำโรงเรียน : ขาว แดง
วิสัยทัศน์ : ภายในปี ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านจีกแดกผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มีความรู้คู่คุณธรรม มีความสามารถด้านเทคโนโลยี โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
การดำเนินชีวติ บนพน้ื ฐานความเปน็ สุรินทรส์ ู่สากล

สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา สุรนิ ทร์ เขต ๓
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

เปิดสอนระดับชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๒ ถึงระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
เขตบริการ ๓ หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ บ้านจกี แดก หมทู่ ่ี ๑บ้านสายกุหลาบ หมู่ที่ ๓ และบ้านทานตะวนั
หมู่ที่ ๑๐ ตำบลจกี แดก อำเภอพนมดงรัก จังหวดั สุรินทร์

ห น้ า | ๖

๑.๒ ข้อมูลครูและบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

๑) จำนวนบุคลาการ

บคุ ลากร ผูบ้ ริหาร ครูผ้สู อน ครูอัตราจ้าง ธุรการ นกั การภารโรง เจา้ หนา้ ท่ีอ่นื ๆ

ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ๑ 8 - ๑ ๑ ๑

๒) วุฒิการศึกษาสูงสดุ ของบุคลากร

17%
33%

50%

มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท

๓) สาขาวิชาท่ีจบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จำนวน ภาระงานสอนเฉล่ยี ของครู ๑ คน
ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สัปดาห์)
(คน)
เฉลีย่ ๒6 ชม./สัปดาห์
๑. บริหารการศกึ ษา 1

๒. หลกั สตู รและการสอน -

๓. ปฐมวยั 1

๔. วทิ ยาศาสตร์ 1

๕. ภาษาไทย ๑

๖. ภาษาองั กฤษ ๑

๗. สังคมศกึ ษา 1

๘. คอมพิวเตอร์ 2

๙. อุตสาหกรรมศิลป์ -

๑๐. ประถมศกึ ษา 2
รวม ๑0

ห น้ า | ๗

๑.๓ ขอ้ มูลนกั เรยี น
จำนวนนักเรียนปกี ารศึกษา ๒๕๖3 รวม 183 คน

ระดับช้นั เรียน อ.๒ อ.๓ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวมทั้งหมด

จำนวนหอ้ ง ๑๑ ๑ ๑๑๑๑๑ ๘
88
ชาย ๑0 14 15 14 5 5 ๑2 ๑3 95
เพศ หญงิ 7 9 10 13 17 ๑4 ๑4 ๑1 183

รวม 17 23 ๒5 ๒7 ๒2 19 26 ๒4

เฉล่ียต่อห้อง 17:๑ ๒3:๑ ๒5:๑ ๒7:๑ ๒2:๑ 19:๑ 26:๑ ๒4:๑

๑.๓.๑ จำนวนนักเรียนอนบุ าล เปรียบเทียบ ๓ ปกี ารศึกษายอ้ นหลัง ปีการศกึ ษา ๒๕๖2 – ๒๕๖4

อนบุ าล ๓ ๒๓ ๒๕๖๔
อนุบาล ๒ ๒๖ ๒๕๖๓
๒๗ ๒๕๖๒

๑๗
๒๒
๒๔

0 5 10 15 20 25 30

ห น้ า | ๘

๑.๓.๒ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖4

ระดบั ปฐมวัย

รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมินพฒั นาการแตล่ ะด้านในระดับ ๓ ข้ึนไป

ผลการประเมินพฒั นาการนักเรยี นด้าน ได้ดีขึน้ ไป

ระดับชั้น ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม สตปิ ัญญา ครบทง้ั 4 ด้าน

จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

ทั้งหมด ดีขึ้น ดีขึน้ ดขี นึ้ ดีขน้ึ ดีขนึ้

ไป ไป ไป ไป ไป

อ.๒ 17 13 76.47 15 88.23 16 94.11 15 88.23 13 76.47

อ.๓ 23 ๒3 100.00 ๒3 100.00 23 100.00 19 82.60 19 82.60

รวม 40 36 90.00 38 95.00 39 97.50 34 85.00 32 80.00

พฒั นาการดา้ นร่างกาย พฒั นาการด้านอารมณ์-จิตใจ
๐% ๑๐% ๐% ๕%

ปรับปรงุ ปรับปรุ
พอใช้ ง
๙๐% ดี ๙๕%

พัฒนาการด้านสงั คม พฒั นาการด้านสังคม
๐% ๒.๕% ๐% ๑๕%

ปรบั ปรุ ๘๕% ปรบั ปรุ
ง ง

๙๗.๕%

ห น้ า | ๙

ป.๖ เปรียบเทยี บจานวนนักเรียนระดับช้ัน ป.๑-ป.๖
ป.๕ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒-๒๕๖๔
ป.๔
ป.๓ ปีการศึกษา๒๕๖๒ ปกี ารศกึ ษา๒๕๖๓ ปีการศกึ ษา๒๕๖๔
ป.๒ ๒๔ ๒๘๒๙
ป.๑ ๒๔ ๒๖ ๓๐

0 ๑๙ ๒๒๔๔
๒๑ ๒๔
๒๒
๒๑ ๒๓ ๒๗

๒๓ ๒๕ ๒๗

10 20 30 40

๑.๔ ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศกึ ษา

ร้อยละของนักเรียนทม่ี เี กรดเฉล่ยี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแต่ละรายวชิ าในระดบั ๓ ขึ้นไป
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

การปอ้ งกนั … ๘๔.๖๗
ภาษาอังกฤษ 84.03
81.94
ศิลปะ
ประวตั ศิ าสตร์ 90.28
วิทยาศาสตร์ 87.50

ภาษาไทย 97.22
70.83
0 71.53

84.03
57.64

69.44

50 ร้อยละ 100 150

ห น้ า | ๑๐

๑.๕ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผูเ้ รยี นระดับชาติ (National Test: NT)
ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓

๑) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT)
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4

คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT)
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖4

คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดบั เขตพ้ืนท่ี
คะแนนเฉล่ียร้อยละ ระดับประเทศ

60.00 47.02 51.41 ๔9.44 46.62 52.80
50.00 56.14 39.14
40.00 41.82
30.00
31.26

20.00

10.00

0.00

ดา้ นภาษาไทย ด้านคณติ ศาสตร์ เฉลี่ยทง้ั ๒ ด้าน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐาน
ของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4

63.15

36.84 36.84
26.31
15.78 10.52 10.52
0.00
ปรับปรุง พอใช้
ดา้ นภาษาไทย ดี ดีมาก
ด้านคณิตศาสตร์

ห น้ า | ๑๑

๒) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดับชาติ(NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓
ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3-๒๕๖4
๒.๑) เปรยี บเทยี บภาพรวมผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี น
ระดบั ชาติ (NT) และร้อยละของผลตา่ งระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖3-๒๕๖4

ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ร้อยละของผลต่าง
๒๕๖3 ๒๕๖๓ ระหวา่ งปีการศึกษา

ด้านภาษาไทย 46.47 47.02 + 0.55
ดา้ นคณติ ศาสตร์ 45.42 31.26 - 14.16
รวมความสามารถทัง้ ๒ ด้าน 45.94 39.14 - 6.80

๒.๒) เปรยี บเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ระดับชน้ั
ประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖3-๒๕๖4

ร้อยละเฉล่ียผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (NT) ระดบั ช้นั
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3-๒๕๖4

ปีการศึกษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564

50.00 46.47 47.02 45.42 45.94
40.00 39.14
30.00
31.26

20.00

10.00

0.00 ดา้ นคณติ ศาสตร์ เฉลยี่ ท้งั 2 ด้าน
ด้านภาษาไทย

ห น้ า | ๑๒

๑.๖ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET)
๑) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖4 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖

๖๐.๐๐

๕๐.๐๐

คะแนนเฉล่ีย ๔๐.๐๐

๓๐.๐๐

๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
44.57 31.71 30.22 26.49
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 53.18 37.95 35.13 37.60
คะแนนเฉลี่ยระดบั จังหวัด 49.54 35.85 33.68 35.46
คะแนนเฉล่ียสงั กัด สพฐ.ทง้ั หมด 50.38 36.83 34.31 39.22
คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ

๒) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET)
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖2 – ๒๕๖4

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖2 – ๒๕๖4 ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

60 31.71 37.06 34.3
50 48.1744.57 22.96๐26.60 28.81 30.22 25.74๐ 26.49๐
40 39.22
30 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
20
10
0

ภาษาไทย

ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศึกษา 2564

ห น้ า | ๑๓

๑.๗ ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1
(Reading Test : RT)

๑) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 (RT)
ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖4

คะแนนเฉลยี่ ร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT)
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4

คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของโรงเรยี น คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ ระดบั เขตพืน้ ท่ี
คะแนนเฉล่ียร้อยละ ระดับประเทศ
44.4๔80.47 45.94 47.60๔3.97
80.00 50.7639.95 ๔๕.๔2
60.00 46.47

40.00

20.00

0.00 เฉลย่ี ท้งั ๒ ดา้ น

การอา่ นออกเสยี ง การอา่ นร้เู รื่อง

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่มผี ลการประเมนิ การทดสอบความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น (RT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4

56.00
52.00

20.00 20.00 20.00

12.00 8.00 12.00

ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
การอ่านออกเสยี ง การอา่ นรู้เรอ่ื ง

ห น้ า | ๑๔

๒) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1
ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖3-๒๕๖4
๒.๑) เปรยี บเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี น
(RT) และร้อยละของผลตา่ งระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖3-๒๕๖4

ความสามารถ ปกี ารศึกษา ปีการศกึ ษา ร้อยละของผลตา่ ง
๒๕๖3 ๒๕๖4 ระหวา่ งปกี ารศึกษา

การอา่ นออกเสยี ง 83.18 66.56 - 16.62
การอา่ นรูเ้ รอ่ื ง 66.07 54.40 - 11.67
รวมความสามารถทงั้ ๒ ดา้ น 74.62 60.48 - 14.14

๒.๒)เปรียบเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน(RT)
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา ๒๕๖3-๒๕๖4

ร้อยละเฉลี่ยผลการประเมินการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผูเ้ รียน (RT) ระดบั ช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา ๒๕๖3-๒๕๖4

ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564
74.62
100.00 83.18 66.07 60.48
80.00 66.56 54.40
60.00 เฉลยี่ ทัง้ 2 ด้าน

40.00

20.00
0.00

อ่านออกเสียง อ่านรู้เร่อื ง

ห น้ า | ๑๕

ส่วนที่ ๒

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเปน็ สำคญั ดีเลิศ

สรุป ดีเลิศ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก

1. ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ดา้ นคุณภาพของเดก็ :ยอดเย่ียม

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ จำนวน จำนวน รอ้ ย เทียบ ความ
นกั เรยี น นักเรียนท่ี ละ/ ระดับ หมาย
ทั้งหมด ไดค้ ะแนน ระดบั ท่ี คุณภาพ
ระดับ 3 ได้ ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 40 5 ยอดเยี่ยม
ขึน้ ไป 90.00 ยอดเยย่ี ม
1.1มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มสี ุข 40 5
นสิ ยั ทด่ี ีและดแู ลความปลอดภยั ของตนเอง 40 36 95.00 5 ดีเลศิ
ได้ 40 97.50 4 ยอดเยย่ี ม
38 85.00
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ 5
ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 39 91.86

1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือ 34
ตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม

1.4 มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา สือ่ สารได้
มที ักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรู้
ได้

รวมคะแนนเฉล่ีย

ห น้ า | ๑๖

2. วิธกี าร ข้อมลู เอกสาร หลกั ฐาน เอกสารสนบั สนนุ

2.1 วธิ กี าร/กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบ้านจีกแดกพัฒนาคุณภาพของเด็กด้วยกระบวนการวธิ ีการท่หี ลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้
เป็นไปตามศักยภาพของเด็กและส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ – จิตใจ
ด้านสังคมและด้านสติปัญญา เหมาะสมตามวัยและสอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 และหลักสูตรสถานศึกษา มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสม
กับวัยของเด็ก โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เน้นกิจกรรมศิลปะให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง
ฝึกสมาธิและสร้างสรรค์ผลงานตามจิตนาการ กล้าแสดงออกในสิ่งที่สนส่งเสริมทักษะการพูด คิดแก้ปัญหา ใช้
คำถามเพื่อกระตุ้นทักษะพัฒนาการคิดของเด็ก จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตของเด็ก เพื่อให้อยู่ในสังคมได้
อย่างมคี วามสขุ พัฒนาด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม วินยั ที่เหมาะสมกับวัยของเดก็ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ด็กเข้าร่วม
กจิ กรรมการแข่งขนั ทักษะทางวิชาการในระดบั ต่าง ๆสง่ เสรมิ ใหม้ ีโอกาสแสดงความสามารถตามศักยภาพ และ
ความสนใจจดั สภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ สง่ เสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้นอก
หอ้ งเรียน โดยนำนักเรียนไปทัศนศึกษาเรยี นรสู้ โู่ ลกกวา้ งในแหลง่ เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการ
ดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง เปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องสงั คมมวี ินัยในตนเอง มสี มั มาคารวะกบั ผูใ้ หญ่ มมี ารยาททดี่ ี ย้ิม
ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมี
มารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ทั้งภายในและนอกห้องเรียน รู้จักช่วยเหลือ
แบ่งปันเพื่อนในหอ้ งเรียน ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ โดยการใชก้ ิจกรรมการทำงานเปน็ กลุ่มในการจดั ประสบการณ์
การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ของตนและของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประเพณี
วัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคัญของ
ชาตกิ ิจกรรมวนั สำคญั ต่าง ๆ เช่น วันพอ่ วันแม่ วนั ไหว้ครู วนั ครสิ ต์มาส วนั เดก็ ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์
จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจรติ ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทนมีความมั่นใจ ยิ้ม
แย้มแจ่มใส สนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูได้ดำเนินการจัด
ประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โรงเรยี นไดส้ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการ
ด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ผ่านการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชั้นเรยี น
และนอกชน้ั เรียนทำให้เดก็ ไดฝ้ ึก การสังเกต ความคดิ สรา้ งสรรค์ รจู้ ักแก้ปัญหา โดยจดั ประสบการณส์ ่งเสริมให้
เดก็ มคี วามสนใจเรียนรูส้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตวั

2.2 ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์
1) เดก็ ร้อยละ 90 มีนำ้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์
2) เด็กร้อยละ 95 มีม่ ีสุขอนามยั และมสี ขุ นสิ ัยทดี่ ี
3) เด็กมีพัฒนาการกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ

ประสานสัมพันธ์กนั
4) เด็กทุกคนมสี ขุ ภาพจติ ดี รา่ เรงิ แจ่มใสเรยี นและทำกจิ กรมได้อย่าง มคี วามสขุ
5) เด็กทกุ คนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจทด่ี งี ามมเี มตา กรณุ า มนี ้ำใจช่วยเหลอื ผ้อู ื่น
6) เด็กทุกคนแสดงออกและชื่นชมผลงานทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออก

กำลงั กายดแู ลสุขภาพตัวเองไดเ้ บ้ืองต้นื ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกบั วยั
7) เดก็ ทุกคนรักธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทยเขา้ รว่ มกิจกรรมด้วย

ความเต็มใจ

ห น้ า | ๑๗

8) เด็กอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข

9) เด็กทุกคนสามารถใช้ภาษาและสื่อสารได้เหมาะสมกับวัยกล้าพูดกล้าแสดงออกได้
เหมาะสมกับวัย

10) เดก็ ทุกคนมจี ินตนาการและแสดงออกด้วนความคิดสร้างสรรค์ มคี วามสามารถในการคิด
และการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัยมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ที่เหมาะสม
ตามวยั

หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์
- แบบบนั ทกึ การประเมินพฒั นาการ /บันทกึ การชง่ั นำ้ หนกั -สว่ นสงู รายบคุ คล
- บนั ทกึ หลังแผนการจดั ประสบการณ์
- แฟม้ สะสมผลงานเด็กรายบุคคล
- แบบประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องเด็กรายบุคคล
- แบบบนั ทกึ พฤติกรรม
- หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั
- โครงการสง่ เสริมประชาธปิ ไตย
- แฟม้ สะสมผลงานของนักเรียนรายบคุ คล
- ภาพถ่ายการรบั ประทานอาหาร การแปรงฟนั การเปลี่ยนแต่งกายชุดนอนกลางวัน
- โครงการวนั สำคญั ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
- โครงการเรียนรู้สโู่ ลกกว้าง
- แผนการจัดประสบการณ์
- บันทกึ การตรวจสขุ ภาพร่างกาย
- ตารางกิจวัตรประจำวันของแต่ละหอ้ งเรยี น
- แบบประเมินผลงานของเด็กรายบคุ คล
- การนำเสนอผลงานนกั เรียน
- ใบงานตามหนว่ ยการเรียนการสอน
- โครงการสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม

3. จุดเด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดับใหส้ ูงขึน้
๓.๑ จุดเดน่
1) เดก็ ปฐมวัยโรงเรยี นบา้ นจกี แดกมสี ขุ ภาพอนามัยทด่ี ี รจู้ กั ดูแลตนเองให้มีความปลอดภยั มี

ทักษะการเคลื่อนไหวพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ
ประสานสัมพันธก์ ันดี ทำงานร่วมกับผูอ้ ื่นไดอ้ ย่างมีความสุข ร่าเริงแจ่มใสและสนุกสนานร่วมกิจกรรมในสังคม
ไดอ้ ย่างมีความสขุ มีพฒั นาการด้านการช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัติกจิ วัตรประจำวนั ไดด้ ี

2) เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง
เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเหมาะสมวัย ได้แก่ การดื่มนมอาหารเสริม อาหารกลางวัน เด็ก
เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว เด็กรู้จักดแู ลสุขภาพร่างกายของตนเองปฏิบตั ิจนเป็นนิสัย และเจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ เข้ามาให้บริการตรวจสุขภาพรายบุคคล เด็กรู้จกั เอาตวั รอด ดูแลตนเองตามขอ้ ปฏิบัติข้อตกลงอย่าง

ห น้ า | ๑๘

สม่ำเสมอ ผา่ นกจิ กรรมประจำวันทหี่ ลากหลาย เหมาะสมตามวัย มีหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยทน่ี ำสู่การปฏิบัติ
ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

3) เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้าน
สติปัญญาอย่างเหมาสมตามวัย ร่าเริงแจ่มใส ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว รู้จัก
ยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับผู้อื่น รู้หน้าที่รับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงามผ่าน
กิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาตทิ ห่ี ลากหลาย เหมาะสมตามวัย

4) พฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสงั คม เด็กมีวินัย
รับผดิ ชอบ เช่อื ฟงั คำสง่ั สอนของพ่อแม่ ครบู าอาจารย์ มคี วามซ่อื สตั ย์ สจุ ริต ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั เลน่ และทำงาน
รว่ มกับผู้อ่นื ได้ และประพฤตติ นตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาที่ตนนบั ถอื เหมาะสมตามวัย

5) ใช้สื่อเทคโนโลยเี ปน็ เครื่องมอื ในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้จากประสบการณ์ตรงจาก
จดั มุมประสบการณท์ ่ีจัดขึน้ เหมาะสมตามวยั
๓.๒ จดุ ทค่ี วรพฒั นา

1) การเคารพผใู้ หญ่ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยให้เหมาะสม เช่น การไหวท้ ำความเคารพต่อ
ผู้ใหญ่ และการใช้คำพดู วาจาให้สุภาพไพเราะการรู้จกั กลา่ วคำขอบคณุ และขอโทษ

2) สุขภาพปากและฟัน
3) ด้านการรจู้ ักยับย้ังชงั่ ใจและรูจ้ ักการอดทนรอคอยในการปฏิบตั ิกจิ กรรม
4) ทกั ษะ แกป้ ัญหาและตดั สินใจ
5) นกั เรยี นในระดับปฐมวัย ยงั ไมม่ ีความพรอ้ มดา้ นด้านการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการเรยี นรู้ เชน่
การเรียนรูใ้ นสถานการณโ์ ควิด ท่ตี อ้ งใช้อุปกรณเ์ รยี นรู้แบบออนไลน์
6) นักเรียนมีพัฒนาการการใช้ภาษา การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบสิ่งตางๆ
รอบตัว เด็กจำเป็นต้องเรียนรู้ภาษาเพื่อใช้ในการสื่อความหมาย การคิด การจินตนาการ การรับรู้ การ
แสดงออก การโตต้ อบกับผู้อนื่ และการปรบั ตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ผ่านการจัดกิจกรรมที่หลายหลายครอบคลุม
ทกุ ดา้ นอย่างสมำ่ เสมอ
7) นักเรียนพัฒนาการเด็กด้านสติปัญญายังไม่หลากหลาย ได้แก่ การคิดสร้างสรรค์ การคิด
แกป้ ญั หา การคิดรวบยอด และทักษะการสื่อสาร ผ่านการจดั กจิ กรรมเสรมิ ทักษะประสบการณ์นกั วทิ ยาศาสตร์
น้อยอยา่ งสมำ่ เสมอ

๓.๓ แนวทางการพัฒนาคุณภาพเพือ่ ยกระดับใหส้ ูงขน้ึ
จดั กิจกรรมยกระดบั การเรยี นรู้ของเด็ก และจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้บูรณาการต่างๆ

เพอ่ื เตรีมความพร้อมสรู่ ะดับช้ันต่อไป ตามศักยภาพของผ้เู รียน เพ่อื สง่ เสริมพฒั นาการเรียนรแู้ ละเตรยี มความ
พร้อมใหก้ บั เด็กในการเรยี นรใู้ นระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานต่อไป และควรจดั การเรยี นการสอนท่มี ุ่งพัฒนาให้
ผูเ้ รียนไดฝ้ กึ มารยาททางสังคมให้เป็นนิสยั และเกิดความเคยชนิ จนสามารถปฏิบตั ไิ ด้โดยไม่ต้องมคี นแนะนำ
เชน่ การไหวท้ ำความเคารพต่อผูใ้ หญ่ และการใช้คำพดู วาจาใหส้ ุภาพไพเราะการรจู้ กั กลา่ วคำขอบคณุ และขอ
โทษ อ่ืนๆ ครูอาจจะต้องยำ้ คิดยำ้ ทำจนนักเรยี นจำได้และปฏิบัตติ นได้ตนตามมารยาทไทยใหเ้ หมาะสม ควร
เสริมกจิ กรรมท่เี ปน็ กจิ กรรมท่ีสง่ ผลตอ่ การรอคอ่ ยใหน้ กั เรียนรจู้ กั อดทน ไม่ว่าจะเป็นการอดทนรอค่อย หรือ
การร้จู ักยับยั้งชงั่ ใจ สอนให้นักเรียนไดฝ้ กึ คิดฝกึ แกป้ ัญหาด้วยตัวเองให้นกั เรยี นไดป้ ฏบิ ตั ิกิจกรรมทุกคนเพ่ือ
สง่ ผลให้นักเรยี นทุกคนมคี วามสามรถในการเรียนรแู้ ละแก้ปัญหาตดั สนิ ใจด้วยตัวเองได้ สง่ เสริมสุขภาพโดยให้
เด็กได้ทำความสะอาดชอ่ งฟันทกุ วัน เชน่ แปรงฟันทุกคร้ังหลงั อาหาร ฝึกฝนใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้และเข้าใจ

ห น้ า | ๑๙

ภาวะความเปลีย่ นแปลงในปจั จบุ ันและสามารถยอมรบั การเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดข้ึนได้อย่างเปน็ ปกติ โดยเฉพาะ
การเรยี นรใู้ นสถานการณ์ไมป่ กติ แตน่ ักเรียนสามารถทำกจิ กรรมใหต้ นเองไดฝ้ ึกฝนการเรียนรไู้ ดอ้ ย่างดแี ละมี
ความสุข เสริมประสบการณ์กิจกรรมบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยในกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้ได้ฝึกฝนเป็น
ประจำ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

1. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ:ดี

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ จำนวน จำนวน ร้อย เทียบ ความ
นกั เรยี น นักเรียนที่ ละ/ ระดบั หมาย
ทงั้ หมด ไดค้ ะแนน ระดับที่ คุณภาพ
ระดับ 3 ได้ ดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 4 ดีเลศิ
ข้นึ ไป 5 4 ดี
2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 - 3 ดเี ลิศ
- 5 4 ดีเลศิ
ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถ่นิ 5 4
- ดี
2.2 จดั ครูใหเ้ พียงพอกับชน้ั เรยี น - - 5 3 ดี
73.33
2.3 ส่งเสริมใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ น - - 5

การจัดประสบการณ์ - 5

2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่ือการ - - 30

เรียนรู้อย่างปลอดภยั และเพียงพอ

2.5 ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและ -

สือ่ การเรยี นรเู้ พ่อื สนับสนนุ การจดั

ประสบการณ์สำหรับครู

2.6 มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ -

ผู้เกย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วม

รวมคะแนนเฉล่ีย

2. วิธกี าร ข้อมลู เอกสาร หลกั ฐาน เอกสารสนบั สนนุ

2.1 วธิ กี าร/กระบวนการพัฒนา

การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านจีกแดกมีการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้าน
วชิ าการ ดา้ นครูและบุคลากร ด้านขอ้ มูลสารสนเทศ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ และด้านระบบ
การประกันคุณภาพภายใน สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถิ่นและสถานการณ์การเปลยี่ นแปลงในปัจจุบันเพื่อให้
นักเรียนมีความรู้ความสามารถ ทักษะที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมและเป็นปกติสุข โดย
เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และ มีการกำกับติดตามการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ครูมีความเชี่ยวชาญในการจัด

ห น้ า | ๒๐

ประสบการณ์โดยการอบรวมกับหน่วยงานต่างๆ ด้านงานวิชาการการจัดการศึกษาที่เน้นคุณภาพของผู้เรียน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย จัดทำคู่มือปฏิบัติการมอบหมายงาน และส่งเสริมทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น มุ่งเน้นพัฒนาเด็กทั้ง ๔ ด้าน คือ
รา่ งกาย อารมณ์จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ดำเนนิ การจัดครูให้ครบชัน้ เรียนและเพียงพอกับช้นั เรยี น มีการจัด
สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรเู้ พือ่ สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ที่ใช้ได้จรงิ

2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์
๑) หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรยี นบา้ นจีกแดก พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สตู ร

การศกึ ษาปฐมวัยพุทธศกั ราช 2560 (สำหรับเดก็ อายุ 3 –6 ปี)
๒) แผนการจดั การสบการณ์
๓) แบบประเมินการใชห้ ลักสูตรของสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย
๔) ขอ้ มลู สถิติของนกั เรียนและจำนวนครูผสู้ อนปฐมวยั
๕) แฟ้มสะสมผลงานของครูผู้สอน
๖) แบบประเมนิ พฒั นาการรายบคุ คล
๗) ขอ้ มูลสารสนเทศด้านอาคารสถานที่
๘) ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ ส่อื อุปกรณ์ และสงิ่ อำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ ในห้องเรียนและ

นอกห้องเรยี น
๙) แบบบันทกึ การสงั เกตจากสภาพจริง
๑๐) ทำเนยี บการจัดทำสื่อการเรียนการสอนตามหนว่ ยการเรยี น
๑๑) โครงการสง่ เสรมิ งานวชิ าการของโรงเรียน
๑๒) ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับปฐมวยั
๑๓) แผนพัฒนาการศึกษา 4 ปี
๑๔) แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา
๑๕) แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ
๑๖) คำสัง่ การปฏบิ ตั งิ าน
๑๗) ขอ้ มูลจากการเยยี่ มบ้านนกั เรยี น
18) การสร้างช่องทางการส่ือสารระหวา่ งโรงเรยี น นกั เรยี นและชมุ ชน ผา่ นเทคโนโลยี Line

และ เพจประชาสมั พันธ์ของโรงเรยี น เพือ่ ใหเ้ กดิ การส่อื สารกนั ได้อยา่ งรวดเรว็ และเข้าใจตรงกัน
19) ผลงานนักเรียนทง้ั ในสว่ นท่ีเปน็ ชิ้นงานและส่วนทีแ่ สดงออกผา่ นการทำกิจกรรมต่างๆ

3. จดุ เดน่ จุดทีค่ วรพัฒนา แนวทางการพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดับใหส้ ูงขนึ้
๓.๑ จุดเดน่
1) สถานศกึ ษามีหลกั สตู รสถานศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของทอ้ งถิ่นและหลักสูตร

การศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น มกี ารใช้เคร่ืองมือการวัดและประเมิน
พัฒนาการของเด็กอยา่ งหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเดก็ แก่ผู้ปกครอง

2) จดั ครใู ห้เพยี งพอกบั ชัน้ เรียน มวี ุฒิและความรู้ ความสามารถในดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั
ปฏิสมั พนั ธท์ ่ดี ีกบั เด็กและผูป้ กครองตรงความต้องการของครูและสถานศกึ ษา

3) มสี ภาพแวดล้อมและสง่ิ อำนวยความสะดวก อปุ กรณ์ทจี่ ำเปน็ ตอ่ การพัฒนาเด็กอยา่ ง

ห น้ า | ๒๑

เหมาะสมเพียงพอ มีความสะอาด ปลอดภัย เปน็ ระบบทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรียน
4) บรหิ ารจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
5) มีระบบการประกนั คุณภาพตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

พ.ศ.2561
6) เปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนมสี ่วนในการพัฒนาการศึกษาท้ังในเรื่องการระดมทุนและการ

ช่วยเหลอื ในดา้ นตา่ ง ๆ
7) ปรับปรงุ วธิ กี ารสอนใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณป์ ัจจุบันไดอ้ ย่างเหมาะสมเปน็ ประโยชน์

กบั นักเรยี นและเหมาะสมท่ีสุดเม่ือเกิดสถานการณ์ไมป่ กติ โดยนกั เรยี นยงั ไดร้ บั การจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนเพื่อฝกึ ฝนใหเ้ กดิ การพฒั นาในทุกดา้ นเป็นอยา่ งดีเสมือนสถานการณ์ปกติ

8) ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรว่ มมือในการทำงานเป็นอย่างดี มีการ
ประชมุ ประจำเดือนหรือเมื่อเกิดเหตกุ ารณ์สำคัญอยา่ งรวดเรว็ เสมอ

9) ผ้ปู กครองและชมุ ชนใหค้ วามรว่ มมอื ในการจัดการเรียนการสอนเปน็ อย่างดี
10) สง่ เสริมให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ มีการอบรมพัฒนาตนเอง
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เพื่อนครดู ้วยกันเอง จัดประสบการณเ์ ด็กตามวัยอย่างเหมาะสม
11) การจัดใหบ้ ริการสื่อ เทคโนโลยีสานสนเทศ สถานศึกษาจดั คอมพิวเตอรแ์ ละโทรทัศน์
เพอื่ การเรยี นรคู้ รบทุกห้อง ทำใหจ้ ดั ประสบการณ์สำหรบั ผู้เรียนมีคุณภาพ
12) เปิดโอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย มี
ครู บุคลากร ชุมชน และหน่วยงานราชการใหค้ วามรว่ มมอื สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรม
13) สถานศกึ ษามีการพฒั นาหลกั สตู รโดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ น
โรงเรยี นโดยพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ทั้งการปลูกพืชผักสมุนไพรและเล้ยี งสัตว์ ใหน้ กั เรียนได้ลงมอื
ปฏบิ ัติเพือ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอย่างถ่องแท้ในการปฏิบตั ิตน
๓.๒ จดุ ที่ควรพฒั นา
1) การนำหลักสตู รท้องถ่ินมาบรู ณาการกับหลักสตู รหลกั ให้เหมาะสมกบั สถานการณป์ ัจจุบนั
2) ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และอุปกรณเ์ พ่ือสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ยังมีไม่เพยี งพอ
3) การยา้ ยของครูในแต่ละปีการศกึ ษาและการได้รับครูกลบั มาสอนคนื ในแต่ละปกี ารศึกษา
ทง้ิ ชว่ งหา่ งกนั เปน็ เวลานาน ทำให้นกั เรียนต้องเรยี นกบั ครูที่ไมไ่ ดต้ รงเอกปฐมวยั สง่ ผลใหก้ จิ กรรมหลายอยา่ งมี
การปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลงใหเ้ กดิ ความเหมาะสมทงั้ ตวั ครทู ่ีมาสอนและตัวนักเรียนบ่อยครง้ั จนเกินไป
4) การปลูกต้นไมใ้ นบรเิ วณโรงเรียนให้มากยิ่งข้ึนเพือ่ ใช้เป็นท่วี ่งิ เลน่ หรอื ทำกิจกรรมของ
นักเรียน
5) หลงั คาอาคารปฐมวยั สหี มดอายุ มีปญั หาพื้นห้อง หลงั คาผุพงั มีนกพิราบเข้าไปได้ควร
ปรับปรุง
6) ส่อื และชุดฝกึ ต่างๆ ในห้องเรยี นยังมีนอ้ ย เชน่ หนงั สอื นิทาน ความหลากหลายวสั ดุมุมสอื่
ประสบการณ์ต่างๆ
7) การจัดกจิ กรรมเด็กมกั จดั ภายในหอ้ งเรียนเป็นสว่ นมาก ควรเสรมิ ประสบการณ์นอก
หอ้ งเรยี น ใหเ้ ด็กไดฝ้ กึ ทกั ษะการสังเกต แยกแยะ จดจำสงิ่ ต่างๆที่อยรู่ อบตัว
๓.๓ แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดบั ให้สงู ขึ้น
เมอื่ มีการวางแผนและเพิ่มหลักสูตรทอ้ งถน่ิ ในโครงสร้างวิชาเรียนให้เกดิ เป็นหนว่ ยการเรยี นรู้แลว้ ควร
จดั ทำแผนการจัดประสบการณ์เพื่อนำมาสอนให้เกิดการเรียนการสอนจรงิ และไดล้ งมือปฏิบัตจิ รงิ เกิดเปน็ องค์

ห น้ า | ๒๒

ความรใู้ ห้แก่ผ้เู รยี นมากท่ีสดุ ควรมีการพฒั นาและเพ่มิ สื่อการสอนประเภทส่ือเทคโนโลยใี หน้ กั เรียนได้ศึกษา
เชน่ ควรให้เด็กไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ ได้ทดลองใช้สอื่ เทคโนโลยีจรงิ ควรมีการพัฒนา ระบบ ICT สำหรับเดก็ ให้
เด็กไดเ้ รยี นรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด พัฒนาอาคารสถานทใี่ ห้เป็นสถานที่ทำกจิ กรรมทพี่ ฒั นาทักษะตา่ ง ๆ
ของนักเรียนได้อยา่ งเป็นอตั โนมัติในระหวา่ งการเล่น ส่งเสริมให้ครไู ด้เข้ารว่ มศึกษาอบรมตามโครงการต่างๆ ให้
เกิดองคค์ วามรู้ที่สามารถนำมาพฒั นาผู้เรียนได้ พัฒนาสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนปฐมวยั

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคญั

1. ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษา ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นเด็กเป็นสำคญั :

ดีเลิศ

จำนวน จำนวนครู รอ้ ยละ/ เทียบ ความ

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ครู ทป่ี ฏิบัติได้ ระดับที่ ระดบั หมาย

ทั้งหมด ได้ คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั

1.1 จัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมให้เด็กมี 2 2 80.00 4 ดเี ลศิ
2 80.00 4 ดเี ลิศ
พัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ 2 80.00 4 ดีเลิศ
2 80.00 4 ดเี ลิศ
1.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ 2
ดีเลศิ
ตรง เล่น และปฏิบัตอิ ยา่ งมีความสุข

1.3 จัดบรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สื่อ 2

และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวัย

1.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง 2

และนำผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป

ปรบั ปรุง การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

รวมคะแนนเฉลยี่ 80.00 4

2. วิธีการ ขอ้ มลู เอกสาร หลกั ฐาน เอกสารสนับสนนุ

2.1 วธิ กี าร/กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนบ้านจีกแดกดำเนินการส่งเสริมให้ครูระดับปฐมวัย มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการ
ครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอย่างสมดุล
และเตม็ ศักยภาพ มคี วามรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวฒั นธรรมในการดำรงชีวิต เพอื่ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ได้อย่างเป็นสุข มีทักษะชีวิต สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรให้เหมาะสมกับวัย เน้นให้เด็ก
เรยี นรผู้ า่ นการเล่นและการลงมือปฏิบัติ เด็กเรยี นรู้กจิ กรรมประจำวันอย่างมีประสิทธภิ าพ จัดสภาพแวดล้อม
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และจัดให้มีเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อสนันสนุนการศึกษาร่วมกันพัฒนาเด็กปฐมวัย จัด
ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ เรียนปนเล่น เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง โดยมีการ
ดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการอบรมเชิงปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา สู่การปฏิบัติในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรยี นอย่างมปี ระสิทธิภาพ มีการบูรณาการ
กิจกรรม ภาระงาน ชิ้นงาน จัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้อง
กับหน่วยการเรียนรู้และหลักสูตรสถานศึกษา สนับสนุนให้ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ท่ี สร้างโอกาสให้

ห น้ า | ๒๓

นกั เรยี นทุกคนมีส่วนร่วมได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง จดั ประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ทักษะ
การใช้ชวี ิตประจำวนั สามารช่วยเหลอื ตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัย ครูมีการจดั ปา้ ยนิเทศ และจดั บรรยากาศ
ภายในห้องเรียนใหน้ ่าอยู่ และใชส้ ื่อการเรียนการสอนทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกับนักเรียน ครูทุกคนทำงาน
วจิ ัยในช้ันเรยี น ภาคเรียนละ 1 เรือ่ ง

2.2 ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์
๑)แผนการจัดประสบการณ์การเรียนร้เู ดก็ ปฐมวัย
๒) สรปุ หลังแผนการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวยั
๓) แบบประเมินคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ในหลักสตู รสถานศกึ ษา
๔.บนั ทึกการสง่ แผนการสอน
๕) การนิเทศการสอน
๖) ภาพถ่ายกิจกรรมการเรยี นการสอน
๗) ภาพถา่ ยหอ้ งเรียน
๘) การผลิตสื่อการเรยี นการสอน
๙) การจัดปา้ ยนเิ ทศหนว่ ยการเรยี น
๑๐) บนั ทึกการผลิตสือ่ และการใช้สอื่ การจัดการเรยี นการสอน
๑๑) แบบบันทึกการประเมนิ พฒั นาการเด็กทัง้ 4 ดา้ น

3. จดุ เด่น จดุ ทีค่ วรพัฒนา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับใหส้ ูงข้ึน
๓.๑ จดุ เด่น

๑) ครูจดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศกั ยภาพ ครจู ัด

จัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการเด็กครบทกุ ด้าน ทัง้ ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ สงั คม และ

สติปญั ญา อย่างสมดุลเต็มศักยภาพโดยความร่วมมือของพ่อแม่และครอบครัว ชุมชน และผเู้ กี่ยวข้อง และเปน็

แบบอยา่ งทีด่ ี และนำผลการประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก

๒) ครูมีแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

๓) ครสู ามารถจดั การเรยี นร้ทู ี่เด็กไดล้ งมอื ปฏิบตั ิจริง

๔) มกี ารจดั การเรยี นร้ตู ามแหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกสถานศกึ ษาสร้างโอกาสให้เด็กได้รับ

ประสบการณ์ตรง ทศั นศกึ ษาแหลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกห้องเรยี น เช่อื มโยงประสบการณ์เดมิ ให้เดก็ มี

โอกาสทำอย่างอิสระ เลน่ และปฏิบัตอิ ย่างมีความสขุ เรียนรู้ลงมอื ทำดว้ ยตนเองอยา่ งมีความสุข

๓.๒ จุดทีค่ วรพัฒนา
๑) การพฒั นาอาคารเรยี นภายใน
๒) การประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ
๓) การประเมนิ พัฒนาการด้านทักษะภาษา
๔) การใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอนของครู
๕) นวัตกรรมการสอน
6) ครูขาดการประเมนิ พัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล และกระบวนการสงั เกตพฤติกรรมเด็ก

ในขณะทำกิจกรรม ขาดการทำเอกสารข้อมูลสารสนเทศแบบประเมินพฤติกรรมเด็กเป็นรายบคุ คล เนอ้ื หาการ
ประเมินบา้ งอยา่ งยังไม่สมบูรณ์ครบถ้วน

7) ขาดครูจบตรงเอกปฐมวัย

ห น้ า | ๒๔

๓.๓ แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดบั ให้สูงขึ้น
ดำเนินการซ่อมแช่มพัฒนาอาคารเรียนภายในและภายนอก เช่นการปรับปรุง จุกที่แตกหัก

เสียหาย เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่ผู้ให้มากที่สุด โรงเรียนต้องส่งเสริมให้ครไู ด้มีการใช้เทคโนโลยีในการ
จัดการเรียนการสอน สนับสนุนอุปกรณ์ที่ขาดเหลือให้ได้ใช้ตามสภาพและความเหมาะสม ครูมีการจัดทำ
นวัตกรรมการสอนที่เกิดประโยชน์และใช้ได้จริง มีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงการประเมิน
พัฒนาการด้านทักษะภาษาและส่งเสริมการเรยี นรดู้ ้านภาษา ดว้ ยกิจกรรมต่าง ๆ

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ดีเลิศ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั ดเี ลศิ
สรุป ดเี ลศิ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น เปา้ หมาย ผลการ ระดบั
๑. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น : ดเี ลศิ ดำเนินการ คณุ ภาพ

1.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน 78.60 ดี

มาตรฐานการศึกษา 75.45 ดี
75.32 ดี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผ้เู รยี น 85 79.78 ดี
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 80.25 ดี
1) มคี วามสามารถใน การอ่าน การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ 85 87.95 ดีเลศิ
๒) มคี วามสามารถใน การคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ 85
อภปิ ราย แลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแก้ปญั หา 85 94.65 ดเี ลศิ
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 85 93.54 ดเี ลศิ
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ๙๐ 92.30 ดเี ลิศ
95.20 ยอดเยี่ยม
๕) มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๙๐
๖) ความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชพี ๙๐
1.2 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น ๙๐
1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมทีด่ ตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด ๙๐
2) ความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย
3) การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สังคม

ห น้ า | ๒๕

2. วิธกี าร ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารสนับสนุน
2.1 วธิ กี าร/กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบา้ นจีกแดกไดด้ ำเนินการพัฒนาผู้เรยี นในการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการ โดย

มีการพูดคุยกันกับคณะครูในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรรายกล่มุ สาระ การจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) มีการนำหลักสูตรไปวิเคราะห์เพ่ือ
จัดทำแผนจัดการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนและนอกห้องเรียน หลากหลายแบบ
ผสมผสานตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ที่สถานศึกษาต้องพบเจอ โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้โดย
บูรณาการทุกสาระการเรียนรู้ เช่น การสนทนาก่อนเริ่มเรียน ฝึกให้นักเรียนได้อ่านทุกวันทั้งอ่านเดี่ยว อ่าน
พร้อมกันและฝึกอ่านตามครู การนำเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน การอ่านการเขียนคำพื้นฐาน แบบฝึกหัดคิดเลข
เร็ว การใช้โจทย์ปัญหา กิจกรรมศิลปหัตถกรรม เรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยีในห้องเรียน แหล่งเรียนรู้จาก
ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ระบบอินเตอร์เน็ต DLIT DLTV ทัศนศึกษา เข้าค่ายลูกเสือ ร่วมกิจกรรมกับชุมชน
เช่น การร่วมแห่เทียนเข้าพรรษา กิจกรรมวันลอยกระทง จัดกิจกรรมใหน้ กั เรียนได้ศึกษาหาความรู้ค้นคว้า ทำ
รายงาน การคัดลายมือ เขียนตามคำบอก ทำแบบฝึกหัด ให้การบ้าน นอกจากกิจกรรมในห้องเรียนที่กล่าว
มาแล้วข้างต้น โรงเรียนยังมีการจัดกิจกรรมที่ดำเนินการ นอกห้องเรียน เช่น กิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคำ
กิจกรรมทักทาย สนทนาภาษาอังกฤษและภาษาไทยในตอนเช้า มีการพัฒนาผู้เรียนตามโครงการใน
แผนปฏิบัติการและมีการการรายงานโครงการตามแผนปฏิบัติการในทุก ๆ ปี เช่น โครงการพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษาทีจ่ ะเน้นใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นดว้ ยการลงมือปฏิบัตจิ รงิ โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น จะมี
กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมผู้เรียนเช่น กิจกรรมรักการอ่าน สอนเสริมนักเรียน กิจกรรมโครงงานกิจกรรมเข้าค่าย
วิชาการ คิดเลขเร็ว อ่านจับใจความ กิจกรรมทักษะการคิด โครงการห้องสมุด กิจกรรมพัฒนาภาษาอังกฤษ
ซึ่งจะมี กิจกรรมวันสำคัญ เช่น วัน Christmas, valentine’s day นอกจากนี้โรงเรียนยังมีโครงการที่ฝึกให้
ผู้เรยี นไดเ้ กดิ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแก้ปญั หา เช่น มี
กิจกรรมการทำความสะอาดเขตรับผิดชอบโดยมีคณะกรรมการนักเรียนตรวจเวรและรายงานหน้าเสาธง
กิจกรรมเลือกประธานนักเรียน จัดตั้งคณะกรรมการนักเรียน กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมน้องไหว้พี่ กาย
บริหาร นอกจากนี้ยังการจัดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ที่จะส่งเสริมผู้เรียนทางด้านทักษะและสร้าง
นวัตกรรมจากโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน เช่น
กิจกรรมเลยี้ งปลา เล้ยี งไกไ่ ข่ กิจกรรมออมทรัพย์ และนำผลผลิตมาแปรรูปเปน็ อาหารกลางวนั โดยมีนกั เรียน
เปน็ ผู้ดำเนินการและสรา้ งนวัตกรรมจากการผลิตเองนอกจากน้โี รงเรียนได้พัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะตามที่
โรงเรียนกำหนดโดยมีกิจกรรมประจำวัน เช่น การรับเด็กหน้าประตู การติดตามการทำความสะอาด เวรทำ
ความสะอาดโรงเรียน วัด การเข้าแถวเคารพธงชาติ มีการอบรมโดยครูเวรประจำวัน การออกกำลังกาย
กิจกรรมการไหว้ อบรมวันสุดสัปดาห์ อบรมธรรมะ มีกิจกรรมเช่น ค่ายคุณธรรม วันแม่ ไหว้ครู วันเด็ก วันปี
ใหม่ วันอาสาฬหบูชา วิสาขบูชา วันมาฆบูชา ทำกระทงวันลอยกระทง สัปดาห์ภาษาไทย วันสุนทรภู่/รณรงค์
ต่อตา้ นยาเสพตดิ โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพ กจิ กรรมกีฬาสี อาหารเสรมิ (นม) อาหารกลางวนั หอ้ งพยาบาล การ
ตรวจสุขภาพ การรักษาสุขภาพ เช่น ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร แปรงฟันหลังอาหาร โครงการระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน เช่น กิจกรรมการใช้สื่อการสอน การช่วยเหลือให้ทุนการศึกษาเด็กที่มีความประพฤติดี
ฐานะยากจน จากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงคส์ ูงกว่าเป้าหมายของสถานศึกษา

ห น้ า | ๒๖

2.2 ขอ้ มูล หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมินตนเองด้านคณุ ภาพผู้เรยี น
๑) นักเรยี นทุกคน มคี วามสามารถใน การอา่ น การเขยี นภาษาไทย ระดบั ดตี ามเกณฑ์

สถานศึกษา
๒) นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 รอ้ ยละ 85 มีความสามารถในการอ่านออกเสียง การ

เขยี นคำ และการเขียนเรอื่ ง ตามแบบประเมนิ และเกณฑ์การประเมินของสำนักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
๓) นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ผลการทดสอบการอา่ น (RT) เฉล่ยี รอ้ ยละ 60.48 อยใู่ น

ระดับดี
๔) นักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 และชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

มีผลการทดสอบระดบั ชาตอิ ยูใ่ นระดบั ทดี่ ี
๕) นักเรียนทกุ คนมีความรบั ผิดชอบ ออ่ นนอ้ ม มีวินัย มภี าวะผนู้ ำ มจี ิตอาสา อยรู่ ว่ มกับคน

อ่นื อยา่ งมคี วามสขุ
6) แบบบันทกึ การเรียน/บนั ทึกการชงั่ นำ้ หนกั -สว่ นสูงรายบุคคล
๗) บันทกึ หลงั แผนการสอน
8) แฟ้มสะสมผลงานของนักเรยี นรายบคุ คล
9) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของเด็กรายบุคคล
10) แบบบันทึกพฤติกรรม
11) หลักสูตรสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564
12) ภาพถา่ ยการรับประทานอาหาร การแปรงฟัน การทำกิจกรรมต่าง ๆ
13) บันทึกการตรวจสุขภาพรา่ งกาย
14) ตารางกิจวตั รประจำวนั ของแต่ละห้องเรียน
15) แบบประเมนิ ผลงานของนกั เรยี นรายบคุ คล
16) การนำเสนอผลงานนักเรียน
17) ใบงานตามหนว่ ยการเรียนการสอน
18) โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี 2564

ความโดดเด่นด้านผู้เรยี น
๑) นักเรียนพยายามปรับตัวได้เป็นอย่างดีในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ในรูปแบบที่ตนเองมีความพร้อม ใส่ใจและรับผิดชอบงานที่ได้รับ
มอบหมายเปน็ อย่างดี

๒) นักเรียนได้พัฒนาตนเองในการฝึกงานบูรณาการความร้ทางวิชกาการกับการประกอบอาชีพ โดย
ฝกึ ชำกงิ่ มลั เบอร์ร่อี อกจำหนา่ ย ทำใหม้ รี ายได้จากการเรียนรู้ การทำอาหาร ทำขนม

๓) นักเรียนมเี งินออมจากการสะสมเงนิ ฝากเพื่อใช้สำหรับซือ้ สิ่งของที่จำเป็นในการเรียนต่อในปีต่อไป
ชว่ ยลดภาระค่าใช้จ่ายผู้ปกครองในช่วงเวลาเปิดภาคเรยี น

๔) แม้จะต้องพบปัญหากับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) แต่
นักเรยี นก็สามารถเรียนรู้ ฝกึ ฝน ศกึ ษาค้นควา้ ในการทำกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของตนเองได้ จนสามารถผ่าน
ตวั ชวี้ ัดในแต่ละรายวิชาไดเ้ ป็นอย่างดี

ห น้ า | ๒๗

5) นักเรียนเริ่มมีทักษะในการใช้เทคโลยีด้านการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ของตนเองได้หลากหลาย
ช่องทางมากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้ความรู้และทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีของนักเรียนทำได้อย่างดีเยี่ยม สามารถ
สอื่ สารเพือ่ การเรียนรู้ระหว่างตนเองกบั ครู ผู้ปกครองไดด้ ี

3. จุดเดน่ จดุ ทีค่ วรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพเพ่ือยกระดบั ให้สูงขึ้น
๓.๑ จุดเดน่
๑) ผู้เรียนมสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์
๒) มสี ุขภาพจิตที่ดีและสนุ ทรยี ภาพ มีระเบยี บวนิ ัย มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ีพงึ

ประสงค์
๖) มคี วามเคารพครู อ่อนน้อม ไหวง้ าม มคี วามซือ่ สัตย์สจุ ริต มีวนิ ยั มีความรบั ผดิ ชอบ

และมจี ติ สาธารณะจนเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา
๔) เป็นทีย่ อมรับของชมุ ชนโดยรอบเคารพกฎกตกิ า และมารยาทของสังคม
๕) สามารถใช้เทคโนโลยใี นการคน้ คว้าหาความรู้
๖) การบริหารจดั การศึกษา และการมีสว่ นรว่ มของผู้เก่ยี วขอ้ ง
7) โรงเรียนจัดให้มีการจัดการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการปลูกพืช

สมนุ ไพร การทำปุย๋ หมัก การเลย้ี งสัตว์
๓.๒ จดุ ควรพัฒนา

๑) ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
๒) การนำเสนอ การอภปิ รายและแลกเปล่ยี นเรยี นรอู้ ยา่ งสมเหตสุ มผลและทกั ษะการ
แก้ปัญหาตามสถานการณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู ร และการทดสอบระดบั ชาติ
๔) พฒั นาความสามารถภาษาอังกฤษของผูเ้ รยี น
5) ในการจัดการเรียนการการสอนแบบผสมผสานปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) นักเรียนมพี ฤติกรรมเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการ
ส่งงานนอ้ ยลง จึงต้องมกี ารกระต้นุ ดว้ ยวิธตี ่าง ๆ ใหม้ ามวี ินัยเหมือนในภาวะปกติ
6) ครูต้องจัดเตรยี มการเรยี นการสอนเพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง
อย่เู สมอใหม้ ีความหลากหลายและก้าวทันเทคโนโลยี

๓.๓ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดบั ใหส้ ูงขึน้
โรงเรยี นต้องศกึ ษาข้อมูลผู้เรียนรายบคุ คล และข้อมลู ตัวชีว้ ัดที่สอดคลอ้ งกับการประเมิน

ผู้เรียนระดับชาติเพื่อจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้เรียน อีกทั้งจัดทำโครงการพัฒนาทักษะทางวิชาการทั้งใน
เวลาเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดโครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศด้วยวิธีการท่ี
หลากหลายด้วยการใช้สอื่ เทคโนโลยี นอกเหนอื จากการพฒั นาทักษะทางวิชาการแล้วยังต้องเตรียมการพัฒนา
ทักษะทางวิชาชีพเพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงตามการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยกำหนด
เปา้ หมายของการศึกษา จดั ทำหลักสตู ร เนน้ การพฒั นาทักษะทางด้านการเรยี นรู้และทักษะอาชีพ ให้มีความ
ชดั เจนปฏบิ ตั ิได้จรงิ แลเกดิ ผลจริง

ห น้ า | ๒๘

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ : ดเี ลิศ

มาตรฐานการศกึ ษา เปา้ หมาย ผลการ ระดับ
ดำเนินการ คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยีย่ ม
ดเี ลศิ 82.51 ดเี ลิศ
๒.1 การมเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจทสี่ ถานศกึ ษากำหนด 84.56 ดเี ลศิ
ชดั เจน ดีเลศิ
ดเี ลศิ 83.75 ดีเลิศ
๒.๒ มรี ะบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 95.00 ยอดเยี่ยม
ดเี ลิศ
๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพของผูเ้ รียนรอบ 85.37 ดีเลศิ
ด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษาและ ทกุ กลุ่มเป้าหมาย ดเี ลิศ
86.74 ดเี ลศิ
๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ

๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อื้อต่อการจดั
การเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบริหาร
จัดการและ การจดั การเรียนรู้

๒.วธิ ีการ ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารสนบั สนุน
๒.๑ วธิ ีการ/กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบา้ นจีกแดกไดด้ ำเนนิ การวเิ คราะห์สภาพปญั หา ผลการจัดการศกึ ษาทผี่ ่านมาโดยการศกึ ษา

ข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และ
จัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์
กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านจีกแดก เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับ
แผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนา
รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยเฉพาะการปรับตัวและการปรับการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมทั้งจัดหา
ทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายที่กำหนดให้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการ
ดำเนินงานเพ่ือใหผ้ ลการพฒั นาประสบผลสำเรจ็ ตอ่ ผู้เรยี นมากท่สี ุด

๒.๒ ข้อมลู หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
โรงเรยี นบ้านจีกแดกมกี ารกำหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความ
ต้องการพัฒนาของโรงเรียนบ้านจีกแดก นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และ
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการ
ประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไป
ประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอยา่ งเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่กระตุ้นให้
ผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ โรงเรียนบ้านจีกแดกมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ

ห น้ า | ๒๙

ประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาและร่วมรบั ผิดชอบ โดยผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพ
โรงเรียนบ้านจีกแดก มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผล
การจัดการศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็น
ระบบและต่อเน่ือง เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการ
เชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่ง
พัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา นอกจากนี้มีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้สถานศึกษามีสื่อ และแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพซึ่งมีระบบการ
บรหิ ารจดั การคณุ ภาพอย่างเปน็ ระบบ โดยมเี อกสารหลักฐานอ้างองิ ดังน้ี

๑) แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจำปี หลักสตู รสถานศกึ ษา
๒) รายงานประเมินตนเอง SAR ของครู
๓) รายงานโครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ าร
๔) เอกสารรายงานการพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี น
๕) รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปขี องสถานศึกษา
๖) เกยี รตบิ ัตร ภาพถา่ ย
๗) ผลงานนักเรียน
๘) คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคท์ ีเ่ กดิ ตอ่ ตัวนักเรียน
๙) แผนการจดั การเรยี นรู้
๑๐)แบบประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ นหลกั สูตรสถานศึกษา
๑๑)บนั ทกึ การสง่ แผนการสอน
๑๒)การนเิ ทศการสอน
๑๓)ภาพถ่ายกิจกรรมการเรียนการสอน
๑๔)ภาพถ่ายหอ้ งเรียน
๑๕)การผลิตสอื่ การเรยี นการสอน
๑๖)การจดั ป้ายนเิ ทศหน่วยการเรียน
๑๗)บันทกึ การผลติ สื่อ และการใช้สือ่ การจดั การเรยี นการสอน
3. จุดเดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดบั ให้สงู ขึน้
๓.๑ จุดเดน่
โรงเรยี นบ้านจีกแดกมกี ารบริหารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ โรงเรียนบ้านจกี แดกไดใ้ ชเ้ ทคนคิ
การประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา
และนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาที่มุ่งเนน้ การพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร
โรงเรียนบ้านจีกแดก กำหนดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ
ชัดเจน กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับกิจกรรมโครงการ
ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพมีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ
ดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลมาใช้
เปน็ มาตรฐานในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา

ห น้ า | ๓๐

๓.๒ จุดควรพัฒนา
๑) เปิดโอกาสใหผ้ ู้ปกครองได้มสี ่วนรว่ มในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัดการศึกษาเพ่อื

พฒั นาผ้เู รียน
๒) การสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือของผ้มู ีส่วนรว่ มเกย่ี วข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรียน

ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ

3) การระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาทั้งในส่วนของการสื่อสารทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย และ
การพัฒนอาคารสถานทีใ่ ห้อยใู่ นสภาพดี มีความพรอ้ มสำหรบั นักเรยี นอย่เู สมอ

4) การเตรียมพัฒนาหลักสตู รและการสอนใหส้ ามารถสร้างนักเรียนให้เป็นคนท่ีมีความพร้อม
ในการดำเนินชีวิตในสภาพปัจจุบันไดอ้ ย่างมีความสุข รเู้ ท่าทนั โลกและการเปล่ยี นแปลง

๓.๓ แนวทางการพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดับให้สูงขึน้
โรงเรียนมกี ารทำแบบสอบถามความต้องการพฒั นาสถานศึกษาอย่างหลากหลายสร้างวิธีการ

ประสานงานกับองค์กรภายในและนอกสถานศึกษาเพื่อประสานความรว่ มมือในการพฒั นา จัดทำโครงการการ
นิเทศงาน และการเรียนการสอนด้วยการจัดทำปฏิทินและกำหนดตัวผู้รับผิดชอบการเตรียมพัฒนาหลักสูตร
และการสอนให้สามารถสร้างนักเรียนให้เป็นคนที่มีความพร้อมในการดำเนินชีวิตในสภาพปัจจุบันได้อย่างมี
ความสุข รู้เท่าทันโลกและการเปลี่ยนแปลง ระดมทรัพยากรด้วยตนเองเพื่อนำมาพัฒนาโรงเรียนให้มี
ประสิทธิภาพทั้งทางดา้ นความรูค้ วามสามารถนักเรียนและการพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ

๑. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็น

สำคัญ :ดีเลิศ

มาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย ผลการ ระดบั

ดำเนนิ การ คุณภาพ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้น ดเี ลศิ 87.47 ดเี ลิศ
ผู้เรยี นเป็นสำคญั
ดีเลศิ 85.98 ดเี ลศิ
๓.๑ จดั การเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและการปฏบิ ัติ ดีเลิศ 86.00 ดีเลิศ
จรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ ใชใ้ นชีวติ ได้
ดเี ลศิ 87.25 ดีเลิศ
๓.๒ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหลง่ เรยี นรู้ท่ี
เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ดีเลิศ 84.14 ดเี ลิศ

๓.๓มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก

๓.๔การตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ
และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น

๓.๕ มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั
เพ่อื พัฒนาและปรับปรุง การจดั การเรยี นรู้

ห น้ า | ๓๑

๒.วิธกี าร ข้อมูล หลักฐาน เอกสารสนับสนนุ
๒.๑ วิธกี าร/กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านจกี แดกไดแ้ บ่งการบรหิ ารงานเป็น 4 งาน โดยมงี านหลกั ไดแ้ กง่ านวชิ าการสิง่ สำคญั ท่ี

ขับเคลื่อนไดก้ ค็ ืองานบุคลากร โดยมโี ครงการพฒั นาบุคลากรเพ่ือให้ครทู กุ คนมีการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ครูมีความรับผิดชอบ รักความเป็นครู
รักเด็กและมีความตั้งใจจริงที่จะส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามตัวชี้วัดของ
หลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน ใช้กระบวนการ Active learning เช่น กิจกรรมการ
เรียนการสอนแบบโครงงาน การลงมือประดิษฐ์ชิ้นงานต่างๆเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการฝกึ ทักษะแสดงออก
แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เช่นการนำเสนอผลงาน การรายงาน การสรุปองค์ความรู้เพื่อนำเสนอผลงาน
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศจากอินเตอร์เน็ต และแหล่งเรียนรู้
รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น จากในโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าความรู้ด้วย
ตนเองจากหอ้ งสมดุ ห้องคอมพิวเตอร์ ครผู ู้สอนมกี ารบริหารจดั การชนั้ เรยี น โดยเน้นการมปี ฏิสมั พนั ธด์ ้วยการ
สอบถามความต้องการ เป็นที่ปรึกษาปัญหานักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม ให้การชมเชย กระตุ้นให้กำลังใจ
นักเรียน ที่จะเรียนรู้เช่น การเล่นกีฬา สอบความเป็นเลิศทางวิชาการ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข
ส่งเสริมพัฒนาทักษะทางวชิ าการเพ่ือความเปน็ เลศิ เช่น การทำพานพุ่มสกั การะ โครงงานอาชีพ การประดิษฐ์
เคร่ืองรอ่ นนาน ในการแข่งขันศลิ ปหัตถกรรมจนได้รบั รางวัลเหรยี ญทอง และเหรยี ญเงินระดับเขตพน้ื ที่ มีการ
ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ โดยใช้เครอื่ งมือและวิธีการวัดและประเมินผล
ที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ทั้งในสถานศึกษาและต้นสังกัดเช่น การประเมินผลงาน สังเกต
พฤตกิ รรมการทำงาน ความสนใจ ความเอาใจใส่ ความรับผดิ ชอบ และใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับนำไปใช้พฒั นาผู้เรียน
เช่น สอนซ่อมเสริมตอนเย็น ติวนักเรียน สอนชดเชย ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องนำข้อมูลร่วมกันแลกเปลี่ยน
ความรู้และประสบการณ์ เช่น ร่วมประชมุ พูดคุย ด้วยวธิ ีการ PLC เพ่อื นำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการ
จดั การเรียนรู้

๒.๒ ข้อมลู หลักฐานเชิงประจกั ษ์
ผลทีเ่ กดิ จากการพัฒนา
โรงเรียนมหี ลักสูตรสถานศึกษา หลักสตู รรายสาระ มีแผนจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ มีส่ือ
การสอนสอื่ เทคโนโลยีท่ีเกิดจากความต้องการของทุกฝา่ ย มีความมั่นใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน มี
ความชำนาญใหค้ วามเอาใจใส่แกเ่ ด็ก รักเด็ก มุ่งผลการเรยี นจากตัวชี้วัดในหลักสตู ร และเชื่อมโยงการนำไปใช้
ในชีวิตประจำวัน ครูบูรณาการใช้สื่อการสอนจาก DLTV DLIT ทำให้บทเรียนน่าสนใจ ใช้ใบงานและสื่อท่ี
ค้นคว้า ในการตรวจสอบวัดผลและประเมินผลผู้เรียน โรงเรียนมีระเบียบว่าด้วยการวัดผลประเมินผลการ
เรียนรู้รายสาระระดับสถานศึกษา ระเบียบการวัดผลประเมินผลการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ การ
ประเมินสมรรถนะ การประเมินคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีการวัดประเมินผลทั้งกลางปีและปลายปี แบ่ง
สดั ส่วนคะแนนตามความเหมาะสมธรรมชาติสาระการเรยี นรู้ มบี ันทกึ คะแนนที่เหมาะสมกับสัดส่วนคะแนน มี
การกำหนดวิธีการประเมินผลให้สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ มี
เครื่องมือการประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการประเมิน โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น แบบทดสอบกลุ่ม
สาระการเรียนรู้แบบสังเกตการเรยี น แบบประเมนิ ผลงาน แบบสอบถาม แบบประเมินพฤติกรรม โดยนักเรียน
ผู้ปกครอง และเพื่อนนักเรียนประเมินกันเองตามความเหมาะสม มีการแจ้งผลการประเมิน ให้นักเรียน
ผู้ปกครองได้ทราบ แล้วแจ้งผลงานและเสนอแนะให้นักเรียนได้แก้ไขปรับปรุงทั้งทางแบบ ปพ.ต่างๆ การ
ประชาสัมพันธ์หนา้ เสาธง ที่ประชมุ เอกสาร แผน่ พับ เป็นตน้ โดยมหี ลกั ฐานเอกสารอา้ งองิ ดงั นี้

ห น้ า | ๓๒

๑) แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา
๒) ระเบียบวา่ ดว้ ยการวดั ผล ประเมนิ ผลผเู้ รยี น
๓) แผนการจัดการเรยี นรู้
๔) บนั ทกึ การนเิ ทศ/บนั ทกึ การประชมุ
๕) เคร่อื งมือประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
๖) บนั ทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๗) บรรยากาศห้องเรยี น มุมส่ือ มุมผลงานนกั เรยี น
๘) แบบ ปพ.
๙) ภาพกิจกรรมตา่ งๆ
๑๐) งานธุรการช้นั เรียน
๑๑)รายงานประเมนิ ตนเอง SAR ของครู
๑๒)รายงานโครงการตามแผนปฏบิ ัติการ
๑๓)เอกสารรายงานการพัฒนาคณุ ภาพนกั เรียน
๑๔)รายงานผลการประเมินตนเองประจำปีของสถานศึกษา
๑๕)เกียรติบตั ร ภาพถ่าย
๑๖)ผลงานนกั เรยี น
๑๗)คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ทเ่ี กดิ ต่อตัวนักเรยี น
๑๘)แบบประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ นหลักสูตรสถานศึกษา
๑๙)บนั ทกึ การส่งแผนการสอน
๒๐)การนิเทศการสอน
๒๑)ภาพถา่ ยกิจกรรมการเรยี นการสอน
๒๒)ภาพถา่ ยห้องเรยี น
๒๓)การผลิตสอื่ การเรยี นการสอน
๒๔)การจัดปา้ ยนิเทศหน่วยการเรียน
๒๕)บันทกึ การผลิตสื่อ และการใช้ส่อื การจัดการเรียนการสอน
๒๖) ภาพถ่ายการเขา้ ร่วมกจิ กรรมนกั เรียน

3. จดุ เด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดับให้สูงขึ้น
๓.๑ จดุ เดน่
ครูมคี วามต้ังใจ มงุ่ ม่ันในการพัฒนาการสอน โดยการจัดกจิ กรรมใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้ ได้ปฏบิ ตั ิจรงิ

มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ มกี ารบูรณาการเรียนการ
สอนให้นักเรียนเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสิ่งแวดล้อม ทำสวน
สมนุ ไพร เลี้ยงสัตว์ ทำปุ๋ยหมัก เพือ่ ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทกั ษะให้พร้อมในทุกดา้ นในการดำรงชวี ิต

๓.๒ จดุ ควรพฒั นา
ควรนำภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นให้เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้ และการใหข้ ้อมลู

ห น้ า | ๓๓

ย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้ในการพัฒนาตนเอง และนำผลการการวิจัยไปพัฒนาผู้เรียน
เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนต่อไป รวมถึงพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีและ
นำมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้อย่างมคี วามสุข

๓.๓ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับให้สงู ข้ึน
สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด ควรจัดหาบุคลากรให้มีพอเพียงกับความต้องการอัตรากำลัง
ส่งเสริมพัฒนาครูด้วยวิธีการที่หลากหลายตามความต้องการและสอดคล้องกับภาระงานของครูลดภาระงาน
ภายนอก ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน จัดทำโครงการพัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพด้วยชุมชนแห่งการเรยี นรู้
พัฒนางานการสอนด้วยงานวิจัย สร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
รวมถงึ การพัฒนการจดั การเรียนการสอนทก่ี า้ วทันเทคโนโลยีท่เี ปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็

ห น้ า | ๓๔

สว่ นที่ 3

สรุปผลและแนวทางการพัฒนา

มาตรฐานระดบั การศึกษาปฐมวัย

จากผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรยี นบ้านจกี แดก สามารถสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมของ
สถานศึกษา จดุ เด่น จุดควรพัฒนา และแนวทางในการพัฒนาเพอ่ื ให้ได้มาตรฐานที่สงู ขึ้นดงั น้ี

1.ผลการประเมนิ โดยภาพรวมของโรงเรียน:ดเี ลศิ ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ยอดเยยี่ ม
ดี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ดเี ลศิ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคญั

2. วธิ กี าร ข้อมลู เอกสาร หลกั ฐาน เอกสารสนบั สนุน
2.1 วิธกี าร/กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบา้ นจีกแดกพัฒนาคุณภาพของเด็กด้วยกระบวนการวธิ ีการท่ีหลากหลาย ครจู ดั การเรยี นรู้ให้

เปน็ ไปตามศักยภาพของเด็กและส่งเสริมให้เด็กมีพฒั นาการท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ – จิตใจ
ด้านสังคมและด้านสติปัญญา เหมาะสมตามวัยและสอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยพุทธศกั ราช 2560 และหลักสูตรสถานศึกษา มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสม
กับวัยของเด็ก โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เน้นกิจกรรมศิลปะให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจรงิ
ฝึกสมาธแิ ละสร้างสรรค์ผลงานตามจิตนาการ กล้าแสดงออกในส่ิงทีส่ นส่งเสริมทักษะการพดู คดิ แก้ปัญหา ใช้
คำถามเพื่อกระตุ้นทักษะพัฒนาการคิดของเด็ก จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตของเด็ก เพื่อให้อยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข พัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม วินัยที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้า
รว่ มกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวชิ าการในระดบั ต่าง ๆส่งเสรมิ ใหม้ ีโอกาสแสดงความสามารถตามศักยภาพ
และความสนใจจัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรสู้ ่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก มกี ารจัดกจิ กรรมเรียนรู้
นอกห้องเรียนโดยนำนักเรียนไปทัศนศึกษาเรียนรู้สู่โลกกว้างในแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆเพื่อส่งเส ริมให้เด็กมี
พัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมมีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มี
มารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสามารถรับประทานอาหารด้วย
ตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จกั ดูแลรกั ษาความสะอาด ท้ังภายในและนอกห้องเรยี น รู้จัก
ช่วยเหลือ แบ่งปันเพื่อนในห้องเรียน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยการใช้กิจกรรมการทำงานเป็นกลุ่มในการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ของตนและของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จัก
ประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวัน
สำคญั ของชาติกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ เช่น วันพอ่ วนั แม่ วนั ไหวค้ รู วันครสิ ต์มาส วันเด็กส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านอารมณ์จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทนมี
ความม่นั ใจ ยิ้มแย้มแจม่ ใส สนกุ สนาน มปี ฏิสัมพันธ์ทีด่ กี บั เพอ่ื น ทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี น โดยครไู ด้ดำเนนิ การ

ห น้ า | ๓๕

จัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการด้านสติปัญญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ไดผ้ ่านการทำกจิ กรรมต่าง ๆ
ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนทำให้เด็กได้ฝึก การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา โดยจัด
ประสบการณส์ ่งเสริมให้เด็กมคี วามสนใจเรยี นร้สู งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว

การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัยโรงเรียนบ้านจีกแดกมีการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลมุ ด้าน
วิชาการ ด้านครูและบคุ ลากร ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการเรียนรู้ และด้านด้าน
ระบบการประกันคุณภาพภายใน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นโดยเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน
ร่วมในการจัดการศึกษา จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 และ มีการกำกับติดตามการดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจต่อคุณภาพ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ครูมีความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์โดยการอบรวมกับหน่วยงาน
ต่างๆด้านงานวิชาการการจัดการศึกษาที่เนน้ คณุ ภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย จัดทำคู่มอื
ปฏิบัติการมอบหมายงาน และส่งเสริมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความ
สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น มุ่งเน้นพัฒนาเด็กทั้ง ๔ ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ดำเนินการจัดครูให้ครบชั้นเรียนและเพียงพอกับชั้นเรียน มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้เพื่อ
สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ท่ใี ชไ้ ดจ้ รงิ

โรงเรียนบ้านจีกแดกดำเนินการส่งเสริมให้ครูระดับปฐมวัย มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการ
ครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยา่ งสมดุล
และเต็มศักยภาพ มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับ
ผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างเปน็ สุข มีทักษะชวี ติ สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิกจิ วัตรให้เหมาะสมกับวัย เน้นให้เด็ก
เรียนรผู้ ่านการเล่นและการลงมือปฏบิ ตั ิ เดก็ เรยี นรกู้ ิจกรรมประจำวนั อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ จดั สภาพแวดลอ้ ม
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และจัดให้มีเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อสนันสนุนการศึกษาร่วมกันพัฒนาเด็กปฐมวัย จัด
ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ เรียนปนเล่น เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง โดยมีการ
ดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการอบรมเชิงปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา สู่การปฏบิ ัตใิ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในช้นั เรียนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มกี ารบูรณาการ
กิจกรรม ภาระงาน ชิ้นงาน จัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้อง
กับหน่วยการเรียนรู้และหลักสูตรสถานศึกษา สนับสนุนให้ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่สร้างโอกาสให้
นกั เรียนทกุ คนมีส่วนร่วมไดล้ งมือปฏิบัตจิ รงิ จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสริมทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ทักษะ
การใช้ชีวิตประจำวันสามารช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัย ครูมีการจัดป้ายนิเทศ และจัด
บรรยากาศภายในห้องเรียนให้น่าอยู่ และใช้สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับนักเรียน ครู
ทุกคนทำงานวิจยั ในชน้ั เรียน ภาคเรียนละ 1 เรื่อง

๒.๒ ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์

๑) เด็กร้อยละ 90 มนี ำ้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์
๒) เด็กร้อยละ 95 มีม่ ีสขุ อนามัยและมสี ุขนิสยั ทด่ี ี
๓) เด็กทุกคนมีพฒั นาการกล้ามเน้ือใหญ่และกลา้ มเน้ือเลก็ แขง็ แรง ใช้ได้อยา่ งคล่องแคล่ว
และประสานสัมพันธก์ นั
๔) เด็กทุกคนมีสุขภาพจิตดี ร่าเริงแจม่ ใสเรียนและทำกจิ กรมได้อย่าง มีความสขุ
๕) เด็กทุกคนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจทด่ี ีงามมีเมตา กรณุ า มีน้ำใจชว่ ยเหลือผู้อ่ืน

ห น้ า | ๓๖

๖) เด็กทกุ คนแสดงออกและชนื่ ชมผลงานทางศิลปะ ดนตรี การเคลอ่ื นไหว และรกั การออก
กำลังกายดูแลสขุ ภาพตัวเองไดเ้ บ้อื งตนื้ ช่วยเหลอื ตนเองได้เหมาะสมกบั วัย

๗) เด็กทุกคนรักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทยเข้ารว่ มกจิ กรรม
ด้วยความเต็มใจ

๘) เด็กอยู่รว่ มกบั ผู้อื่นได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

๙) เดก็ ทกุ คนสามารถใช้ภาษาและสือ่ สารได้เหมาะสมกับวยั กลา้ พดู กล้าแสดงออกได้
เหมาะสมกบั วัย

๑๐) เดก็ ทกุ คนมีจนิ ตนาการและแสดงออกดว้ นความคดิ สร้างสรรคม์ คี วามสามารถในการ
คดิ และการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวยั มเี จตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ท่ี
เหมาะสมตามวัย

-หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรยี นบา้ นจกี แดก พุทธศักราช 2564 ตาม
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 (สำหรับเดก็ อายุ 3–6 ปี)

- แบบบันทกึ การประเมนิ พัฒนาการ /บันทึกการช่งั น้ำหนกั -สว่ นสูงรายบุคคล

- บันทกึ หลังแผนการจัดประสบการณ์
- บนั ทึกการตรวจสุขภาพร่างกาย
- แฟม้ สะสมผลงานเด็กรายบุคคล
- หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย
- โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรม
- โครงการส่งเสริมประชาธปิ ไตย
- แฟ้มสะสมผลงานของนกั เรียนรายบุคคล
- ภาพถา่ ยการรบั ประทานอาหาร การแปรงฟนั การเปลี่ยนแต่งกายชุดนอน
กลางวนั
- โครงการวันสำคญั ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- แผนการจัดประสบการณ์
- แบบประเมนิ การใช้หลักสูตรของสถานศึกษาระดบั ปฐมวัย
- แบบประเมนิ พัฒนาการรายบุคคล
- ขอ้ มูลสารสนเทศด้านอาคารสถานที่
- ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ สอื่ อุปกรณ์
- แบบบันทกึ การสังเกตจากสภาพจรงิ
- ทำเนียบการจัดทำส่ือการเรียนการสอนตามหน่วยการเรยี น
- โครงการสง่ เสรมิ งานวิชาการของโรงเรียน
- ระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย
- แผนพัฒนาการศึกษา 4 ปี
- แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศึกษา
- แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ
- ข้อมลู จากการเยย่ี มบา้ นนักเรยี น

ห น้ า | ๓๗

- แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เดก็ ปฐมวยั
- สรุปหลังแผนการจัดประสบการณ์ระดบั ปฐมวัย
- ภาพถ่ายกิจกรรมการเรียนการสอน
- ภาพถา่ ยหอ้ งเรียน
- การผลิตส่ือการเรียนการสอน
- การจดั ป้ายนเิ ทศหน่วยการเรยี น
- บนั ทึกการผลิตสอื่ และการใช้ส่ือการจัดการเรียนการสอน
- แบบบนั ทึกการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ทง้ั 4 ดา้ น
3. จดุ เด่น จดุ ท่ีควรพฒั นา และแนวทางพัฒนาเพือ่ ใหค้ ุณภาพที่สูงขน้ึ
๓.๑ จุดเด่น
คณุ ภาพของเดก็
เด็กปฐมวยั โรงเรยี นบ้านจีกแดกมีสุขภาพอนามัยท่ดี ี รู้จักดแู ลตนเองให้มีความปลอดภัย มี
ทักษะกาเคลื่อนไหวพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ
ประสานสมั พันธ์กนั ดี ทำงานรว่ มกบั ผ้อู ืน่ ได้อย่างมีความสุข รา่ เรงิ แจ่มใสและสนุกสนานรว่ มกจิ กรรมในสังคม
ได้อยา่ งมคี วามสุข มพี ัฒนาการด้านการชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วัตรประจำวนั ได้ดี
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑) สถานศกึ ษามีหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกบั บริบทของทอ้ งถนิ่ และหลักสตู ร
การศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 มี
๒) ครเู พียงพอกับช้ันเรียน ตรงความต้องการของครแู ละสถานศึกษา
๓) มีสภาพแวดล้อมและสง่ิ อำนวยความสะดวก อุปกรณ์ท่ีจำเป็นตอ่ การพฒั นาเดก็ อย่าง
เหมาะสมเพยี งพอ มีความสะอาด ปลอดภยั เป็นระบบทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรียน
๔) บริหารจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
๕) มีระบบการประกนั คุณภาพตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
พ.ศ.2561
การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเดก็ เปน็ สำคญั
๑) ครจู ดั ประสบการณ์ท่ีส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกดา้ นอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ
๒) ครูมแี ผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
๓) ครูสามารถจดั การเรยี นรูท้ ่ีเด็กได้ลงมือปฏิบตั ิจริง
๔) มกี ารจัดการเรยี นร้ตู ามแหลง่ เรียนรูภ้ ายนอกสถานศกึ ษา
๓.๒ จดุ ท่คี วรพฒั นา
คณุ ภาพของเดก็
๑) การเคารพผใู้ หญป่ ฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยใหเ้ หมาะสม เช่น การไหวท้ ำความเคารพตอ่
ผู้ใหญ่ และการใช้คำพดู วาจาใหส้ ุภาพไพเราะการรู้จกั กล่าวคำขอบคุณและขอโทษ
2) สุขภาพปากและฟัน
3) ดา้ นการรจู้ ักยับยง้ั ชั่งใจและรู้จักการอดทนรอคอยในการปฏิบตั กิ ิจกรรม
4) ทักษะ แก้ปัญหาและตัดสินใจ

ห น้ า | ๓๘

กระบวนการบริหารและการจัดการ
1) หลักสตู รทอ้ งถนิ่
2) ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และอุปกรณ์เพ่ือสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
3) ครูได้รบั การส่งเสริมเพ่ือการพัฒนาวชิ าชพี

การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเปน็ สำคัญ
1) การพัฒนาอาคารเรียนภายใน
2) การประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ
3) การประเมนิ พัฒนาการดา้ นทกั ษะภาษา
4) การใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอนของครู
5) นวตั กรรมการสอน

๓.๓ แนวทางพฒั นาเพอื่ ใหค้ ุณภาพท่ีสงู ข้นึ
1) ประสานผู้ปกครองด้านสุขอนามัยของเด็ก
2) ควรจดั หาเครือ่ งเล่นสนามเพ่อื ส่งเสริมพัฒนาการกลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ให้ความสำคญั ต่อการ

พฒั นาการดา้ นกลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ และความปลอดภยั ดา้ นร่างกายของเด็ก
3) ใหค้ วามรู้เด็กและผ้ปู กครองด้านสารเสพตดิ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
4) ควรพฒั นาหลกั สตู รใหค้ รอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทในท้องถ่ิน

หลักสตู รท้องถน่ิ นวตั กรรมการสอนอยา่ งเปน็ ระบบ
5) ควรจดั สภาพแวดลอ้ มและส่อื เพื่อการเรยี นรู้อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอดำเนินการ

ซ่อมแซมอาคารเรยี นทัง้ ภายนอกและภายใน
6) ควรใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรยี นรเู้ พื่อสนับสนุนการจัด

ประสบการณ์สำหรับครู
7) ควรปรบั ปรุงสอื่ ด้าน ICT เพ่ือให้ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงเพอื่ ใหน้ ักเรยี นทุกคนสามารถ

เขา้ ถึงการศึกษาดา้ น ICT
8) ควรมีการวิเคราะห์และประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมนิ

พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก
9)ควรมีการสอนเสริมใหเ้ ด็กด้านภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ในชัว่ โมงว่าง เช่น กอ่ นกลับบ้าน

เปน็ ต้น
10) ควรมีการใช้เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กแตล่ ะระดับช้ัน

เพยี งพอต่อจำนวนนักเรยี น มีขนาดทเี่ หมาะสม ส่งผลดตี ่อการจดั การเรียนการสอน
11) บริบทภายนอกและภายในห้องเรยี น เช่น ควรมีการปรับปรงุ ฝ้าเพดาน พืน้ ห้อง สนาม

เด็กเล่น เปน็ ตน้

ห น้ า | ๓๙

มาตรฐานระดบั ขน้ั พื้นฐาน
จากผลการปฎิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน

ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านจีกแดก สามารถสรุปผลการประเมินรวมของ
สถานศึกษา จุดเดน่ จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางในการพัฒนาเพอื่ ให้ได้มาตรฐานทสี่ ูงข้นึ ดงั นี้

๑) ผลการประเมนิ โดยภาพรวมของโรงเรียน : ดีเลิศ
๒) วธิ กี าร ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารสนับสนนุ

๒.๑ วธิ ีการ/กระบวนการพฒั นา
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการใช้กระบวนการ P D C A อย่างมีส่วน
ร่วมโดยมีเปา้ หมายความสำเร็จเป็นมาตรฐาน มกี ารประชุมและสอบถามความต้องการและความพงึ พอใจของ
ทุกฝ่าย แล้วนำมากำหนดเป็นวิสัยทัศน์ เป้าหมายของสถานศึกษา กำหนดมาตรฐานและค่าเป้าหมาย
สถานศึกษา กำหนดวิธีการพัฒนาโดยจัดทำโครงการ กิจกรรม ตามภาระงานทั้ง 4 งาน รวบ รวมเป็น
แผนปฏิบัติการประจำปี พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและความต้องการ
ของโรงเรียน ระเบียบว่าด้วยการประเมินผล โดยคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร พัฒนาครูทุกคนให้มี
ความสามารถในการนำเทคนคิ วิธสี อนให้ตรงตามศกั ยภาพผู้เรียน ใช้สือ่ เทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นการสอน
มแี หลง่ เรยี นรู้และแหล่งสบื ค้นข้อมูล และมอบหมายคณะครรู ับผิดชอบงานการสอนโดยนำหลักสูตรมาจัดทำ
หน่วยการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ด้วยวิธีการที่
หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ ให้เป็นไปตาม ศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ
หลกั สูตร มีการออกแบบการจดั การเรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั ผู้เรียน โดยมีการจัดการ เรียนรูท้ งั้ รูปแบบ การระดม
สมองแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหาเป็นหลัก
และเน้นเร่ืองการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนเปน็ เร่ืองสำคญั ท่ีสดุ โดยม่งุ พัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและ
เขียนได้ตั้งแต่ระดับชั้น ป. ๑ ดำเนินการวัดผลประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง และนำผลการประเมินมาใช้
พัฒนาและแก้ปญั หาผู้เรียน จัดทำแผนปฏิบตั กิ าร โครงการ กจิ กรรม ดำเนนิ งานคณะครู มกี ารตดิ ตาม นิเทศ
โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครูและต้นสังกัด รายงานผลโครงการ จัดทำสรุปรายงานผล
การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพประจำปี ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสถานศึกษาได้จัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมี
ความปลอดภยั เพ่ือให้ครจู ัดการเรียนการสอนเพ่ือสง่ เสริมการคิดและปฏิบัตจิ ริงทุกชั้นเรยี นผู้บริหารมีสัมพันธ์
ภาพทดี่ ีกบั ชุมชน และมีการแสวงหาความรว่ มมือในการใชท้ รัพยากรจากชุมชน มโี ครงการระดมทรัพยากรมา
ช่วยเหลือนักเรยี นอย่างตอ่ เนอื่ ง
๒.๒ ข้อมูล หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ผลทเ่ี กดิ จากการพฒั นา

จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมต่างๆ ส่งผลใหโ้ รงเรียนบ้านจกี แดกจดั การ
พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาประสบผลสำเร็จตามท่ตี ้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้
ว่า ระดับดีเลิศ เนื่องจากโรงเรียนบ้านจีกแดกมีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ี
เป็นไปตามปญั หาและความต้องการพัฒนาตามสภาพของผ้เู รียน สอดคลอ้ งกบั จดุ เน้นของโรงเรียน และสภาพ
ของชมุ ชนทอ้ งถ่ิน จนมีการพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี นอยู่ในระดับดีเลิศ ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการอา่ นและ
เขยี น การสอ่ื สารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคำนวณ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามที่สถานศึกษา

ห น้ า | ๔๐

กำหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏผลการประเมินในมาตรฐานที่ ๑ ในด้านกระบวนการบริหารจัดการ
ของผู้บรหิ ารสถานศึกษามีผลกรประเมินรายมาตรฐานอยู่ในระดับดีเลิศ สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบ
กิจกรรมและการดำเนินงานตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดำเนินงานที่ผ่านมา
เป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายของการพัฒนา ตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการ
ปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการ
ประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และ
บริบทของสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียน
เพอื่ พฒั นาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงทุกขนั้ ตอน สถานศกึ ษาดำเนินงานตาม
ระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นขั้นตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผลกร
ประเมินอยู่ในระดับดี โดยสถานศึกษาให้ความสำคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อเกิดความร่วมมือในการวาง
ระบบ และดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจ
ตอ่ ระบบการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดบั สูง โดยมหี ลกั ฐาน เอกสารอ้างอิงดังนี้

1) แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี 2564-2566
2) แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564
3) หลักสตู รสถานศกึ ษา
4) แผนจัดการเรียนร้แู ละบนั ทึกหลังสอน
5) เอกสารประกอบการประเมนิ ผู้เรียน ช้นิ งาน รายงาน ผลงานเกียรตบิ ัตร
6) รายงานโครงการ ปีการศกึ ษา 2564
7) รายงานการประเมินตนเอง ปกี ารศึกษา 2564
8) รายงานการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น
9) สงั เกตบรรยากาศชน้ั เรยี น สิ่งแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรู้

10) แบบบันทกึ ผลการเรียน

11)บันทกึ การชั่งนำ้ หนกั -ส่วนสูงรายบุคคล

12) ข้อมลู จากการเยี่ยมบ้านนักเรยี น
13)บนั ทกึ การตรวจสุขภาพรา่ งกาย
14) แฟ้มสะสมผลงานเดก็ รายบุคคล
15) รายงานการวเิ คราะหก์ ารใชห้ ลกั สตู ร
16) แบบประเมนิ การใชห้ ลกั สตู รของสถานศึกษาระดับปฐมวยั
17) ข้อมูลสารสนเทศด้านอาคารสถานท่ี
18) ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ สือ่ อปุ กรณ์
19) แบบบันทึกการสงั เกตจากสภาพจริง
20) ทำเนียบการจดั ทำสอ่ื การเรยี นการสอนตามหน่วยการเรยี น
21) ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย
22)ภาพถ่ายกิจกรรมการเรียนการสอน
23) บนั ทกึ การผลติ สอื่ และการใชส้ ื่อการจดั การเรียนการสอน
24)การผลติ สื่อการเรียนการสอน
25)ารจัดปา้ ยนเิ ทศหน่วยการเรยี น

ห น้ า | ๔๑

๓. จุดเด่น จุดท่คี วรพัฒนา และแนวทางพัฒนาเพือ่ ให้มีคณุ ภาพที่สูงขึน้
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษา จะต้องนำไป

วเิ คราะห์ สังเคราะห์เพอื่ สรปุ นำไปสูก่ ารเชื่อมโยงหรอื สะทอ้ นภาพความสำเรจ็ กบั แผนพฒั นาการจดั การศึกษา
ของสถานศึกษา (๓-๕ ปี) และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ดงั นนั้ จากผล
การดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ
มาตรฐาน พร้อมท้ังแนวทางพฒั นาเพ่อื ใหม้ ีคุณภาพทส่ี งู ขึ้นดงั นี้

๓.๑) จุดเด่น

ผเู้ รยี นมสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง มสี มรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีสขุ ภาพจิตที่ดี
และสุนทรียภาพ มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความเคารพครู อ่อนน้อม
ไหว้งาม มีความซื่อสัตย์สุจริต จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบเคารพกฎ
กติกา และมารยาทของสังคม ผเู้ รยี นสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง โรงเรียนมีการ
บรหิ ารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ โรงเรียนได้ใชเ้ ทคนคิ การประชุมท่ีหลากหลายวธิ ี เชน่ การประชุมแบบ
มีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวสิ ัยทศั น์ พันธกิจ
เป้าหมายทีช่ ัดเจน มีการปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำปที สี่ อดคล้องกับผล
การจัดการศกึ ษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ทมี่ งุ่ เนน้ การพัฒนาให้
ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสตู รของสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ มี
การดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และการจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา
ครูมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้
เรยี นร้ไู ด้ปฏบิ ตั ิจรงิ มีการใหว้ ิธกี ารและแหลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย

๓.๒ จุดทีค่ วรพฒั นา

ความสามารถทางดา้ นคิดวิเคราะหข์ องผู้เรยี น พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การทดสอบระดับชาติ
เปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ กครองได้มีสว่ นร่วมในการเสนอความคดิ เห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนควรนำภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
นกั เรียนทนั ทีเพื่อนักเรียนนำไปใชใ้ นการพฒั นาตนเอง จดั เตรียมทั้งในด้านวธิ ีการจัดการศึกษาท่ีเตรียมรับกับ
การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันให้พร้อมและเกิดการเรียนรู้และทักษะที่นักเรียนพร้อมจะนำไปใช้ในการดำเนิน
ชีวติ จริงใหไ้ ด้

๓.๓ แนวทางการพฒั นาในอนาคต

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้ชัดเจนขึ้น การส่งเสริมให้ครู
เห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ การพัฒนาบุคลากรโดยการส่งเข้าอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานท่ี
ได้รับมอบหมาย ติดตามผลการนำไปใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และการพัฒนาสถานศึกษาให้
เป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ของชุมชน รวมถึงจัดเตรียมท้ังในด้านวิธีการแนวคิดการจดั การศึกษาและทรัพยากร
ทางการศึกษาที่เตรียมรับกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันให้พร้อมและเกิดกา รเรียนรู้และทักษะที่นักเรียน
พร้อมจะนำไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตจรงิ ใหไ้ ด้

ห น้ า | ๔๒

ภาคผนวก

ห น้ า | ๔๓

คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทำรายงานประจำปี (SAR) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ห น้ า | ๔๔

ห น้ า | ๔๕

แบบรายงานผลการทดสอบการอ่านของนกั เรยี น (Reading Test : RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ห น้ า | ๔๖


Click to View FlipBook Version