รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการปฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice)
คำนำ
รายงานผลการพัฒนาทักษะการเรียนรู้การงานอาชีพ ด้วย Googlesite ระดับช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ฉบับน้ี ได้จัดทำข้นึ เพ่ือรายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการ
ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจำปีการศึกษา 2563 ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการ
เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดย
รายงานนี้ประกอบไปด้วยความสำคัญของนวัตกรรม จุดประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน
กระบวนการผลิดชิ้นงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ
และปัจจัยความสำเรจ็ ซึง่ รายงานฉบบั นีส้ ามารถนำไปเป็นแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
แก่ครูผู้สอน และนำไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสมของบริบทของเนื้อหาและระดับชั้นเรียนของ
ผูเ้ รยี นดว้ ย
ขอขอบพระคุณ นายอดุ มศักดิ์ ดโี สภา ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเมอื งเกษตรวิสัย
นางสาววารนิ ทร์ สีทะ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นมอื งเกษตรวสิ ัย ตลอดจนคณะครู ผูป้ กครองและชุมชน
ที่ให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม จนรายงานนวัตกรรมและวิธีการที่เป็นเลิศ
Best Practice เลม่ นสี้ ำเรจ็ ลลุ ่วงดว้ ยดี
ผ้จู ดั ทำหวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ การพัฒนาทกั ษะการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ด้วย Googlesite
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เล่มน้ี จะอำนวยประโยชนแ์ ก่ผทู้ ่ีสนใจศึกษาค้นควา้ หากมีขอ้ ผดิ พราก
ประการใดผจู้ ัดทำขออภัย ณ ทน่ี ีด้ ้วย
(นายไพบลู ย์ ภกั ดิส์ อนิสิทธ)์ิ
ตำแหนง่ พนกั งานราชการ(สายผ้สู อน)
โรงเรียนเมอื งเกษตรวสิ ัย
รายงานผลงานนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวิธกี ารปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลศิ (Best Practice) ก
สารบญั
เรือ่ ง หน้า
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………….. ก
สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………….. ข
1
1. ความสำคัญของผลงาน นวัตกรรมหรอื วิธีปฏิบัตทิ ่ีนำเสนอ………………………………………….. 1
1.1 ความเปน็ มาและสภาพของปญั หา……………………………………………………………………… 3
1.2 แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา………………………………………………………………………. 3
3
2. จดุ ประสงค์ เปา้ หมายและขอบเขตของการดำเนนิ งาน………………………………………………… 3
2.1 วตั ถุประสงค์และเปา้ หมาย……………………………………………………………………………….. 4
2.2 การกำหนดขอบเขต……………………………………………………………………………………….…. 4
4
3. กระบวนการดำเนินงาน……………………………………………………………………………………….…… 18
3.1 การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม…………………………………………………………………………. 18
3.2 การดำเนนิ งานตามกจิ กรรม………………………………………………………………………………. 19
20
4. ผลการดำเนนิ งาน……………………………………………………………………………………………………. 22
4.1 ผลท่ีเกิดขน้ึ ตามจุดประสงค์…………………………………………………………………………….…. 22
4.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน………………………………………………………………………………………….… 22
4.3 ประโยชนท์ จ่ี ะได้รับ……………………………………………………………………………………….…. 23
ค
5.ปจั จยั ความสำเรจ็ ……………………………………………………………………………………………….…….
6. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรบั /รางวลั ที่ไดร้ ับ………………………………………………….…….
7.1 การเผยแพร่……………………………………………………………………………………………….….…
7.2 การได้รบั การยอมรบั /รางวัลทไี่ ด้รับ…………………………………………………………………....
บรรณานกุ รรม……………………………………………………………………………………………………………
ค
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธีการปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ข
แบบรายงานประวตั แิ ละผลงานเพ่ือพิจารณาคดั เลือกวิธีปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice)
การนำหลักสตู รสถานศึกษาส่กู ารจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ปี ระสบความสำเร็จ
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาร้อยเอ็ดเขต ๒
1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
2. ชื่อผลงาน : เรยี นไดท้ กุ ที่ เพม่ิ ความรู้ทุกเวลา สุขศึกษาและพลศึกษา ดว้ ย Googlesite
3. ช่ือผนู้ ำเสนองาน : นายไพบูลย์ ภกั ดิ์สอนสิ ิทธิ์
ตำแหน่ง พนกั งานราชการ(สายผู้สอน) โรงเรยี นเมืองเกษตรวสิ ยั
สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอ็ดเขต ๒
โทรศพั ท์มือถือ 0930157629 E-mail [email protected]
4.ประเภท / ประถมศกึ ษา
ขนาดเลก็
ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่ /
6.ความสำคญั ของผลงาน นวตั กรรมหรือวิธปี ฏบิ ัติท่นี ำเสนอ
6.1 ความเป็นมาและสภาพของปญั หา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การจัดการเรียนรู้
ครูผสู้ อนต้องวเิ คราะหม์ าตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ดั สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียนในการจดั การเรียนรู้ตาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยมีหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั
การจัดการเรียนรู้ ที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการ
ทางสมองและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาอาจ
เพิ่มเติมขึ้นได้ ในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้สอนต้องจัดกระบวนการที่หลากหลาย
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับ
ผู้เรียน เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการจัดการกระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้ การ
เรยี นรขู้ องตนเอง และกระบวนการพัฒนาลกั ษณะนสิ ัย เปน็ ตน้
จําเนียร ยศราช (2553, หน้า 16 - 17) กล่าวว่า ทุกวันนี้เยาวชนของไทยให้ความสำคญั กับ
เรื่องของ การเกษตรน้อยลง เนื่องจากกระแสของวัยรุ่นที่เห็นว่าเรียนเกษตรนั้นเป็นเรื่องของการใช้
แรงงานหรือต้อง ลําบาก หลายคนจึงอยากเรียนในสิ่งที่ตลาดต้องการอย่างเช่น หมอ วิศวกร
คอมพิวเตอร์ อย่างไรก็แล้วแต่ ในอนาคตภาควิชาเกษตรต้องมาเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ พลังงาน
ทดแทนและเทคโนโลยี เหล่านจ้ี ะเป็นสิ่ง สำคัญของการดำเนินชีวิตของคนในอนาค
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนด้วยวิธกี ารปฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลิศ (Best Practice) 1
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ถอดบทเรียนการจดั การศึกษาเพ่ือรับมือสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรสั โควิด-19 ระลอกที่ผ่านมา ทำให้ต้องคิดหารปู แบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกบั
แต่ละโรงเรียน เพราะในแต่ละพื้นที่มีการแพร่ระบาดของโรคที่แตกต่างกันตามที่ ศคบ.กำหนด ดังน้ัน
ศธ.จะไมก่ ำหนดรูปแบบใดรปู แบบหนึ่งเพื่อให้ทุกโรงเรยี นจดั การเรียนการสอนเหมือนกันท้ังหมด โดยได้
ต่อยอดรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเป็น 5 รูปแบบ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อการรับมือกับการ
แพร่ระบาดระลอกใหม่นี้ คือ 1.On-site เรียนที่โรงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของศูนย์
บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) 2.On-air เรียนผ่านมูลนิธิ
การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV 3.On-demand เรยี นผา่ น
แอปพลิเคชันต่างๆ 4.On-line เรียนผ่านอินเตอร์เน็ต และ 5.On-hand เรียนที่บ้านด้วยเอกสาร เช่น
หนังสอื แบบฝกึ หัดใบงาน ในรปู แบบผสมผสาน หรอื อาจใชว้ ธิ ีอ่นื ๆ เช่น วทิ ยุ เป็นต้น”
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ได้ให้ความหมายบทเรียนออนไลน์ (e-Learning) คือ การใช้ทรัพยากร
ต่างๆ ในระบบอนิ เตอร์เน็ต (Internet) มาออกแบบและจัดระบบเพ่ือสรา้ งระบบการเรยี นการสอน โดย
การสนับสนนุ และสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีความหมายตรงกับความต้องการของผ้สู อนและผู้เรียน
เชื่อมโยงระบบเป็นเครือข่ายที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน สามารถประเมิน ติดตาม
พฤตกิ รรมผู้เรียนได้ เสมือนการเรยี นในหอ้ งเรียนจริง โดยสามารถพิจารณาได้จากคุณลกั ษณะ ดงั น้ี -
เวบ็ ไซตท่ีเกยี่ วของกับการศึกษา เกยี่ วข้องกับเนอื้ หารายวิชาใดวชิ าหน่งึ เปน็ อยา่ งนอ้ ยหรือการศึกษาตาม
อัธยาศยั
- ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จากทุกท่ที กุ เวลาโดยอิสระ
- ผู้เรียนมีอิสระในการเรียน การบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละเนื้อหา ไม่จำเป็นต้อง
เหมอื นกัน หรือพรอ้ มกบั ผูเ้ รยี นรายอน่ื
- มีระบบปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ผูเ้ รยี น และสามารถเรียนรรู้ ่วมกนั ได้
- มเี ครอ่ื งมอื ท่ีวดั ผลการเรียนได้
- มีการออกแบบการเรียนการสอนอย่างมีระบบผู้สอนมีสภาพเป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการ
คน้ หา การประเมิน การใช้ประโยชน์จากเนื้อหา
การประยุกต์ใช้ Googlesite ในกระบวนการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา
เหมาะในการจัดการเรียนการสอนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ลด
ช่องว่างและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพให้กับนักเรียน มีวิธีการเรียนไปตามลำดับ
ขั้นตอนมีส่ือมัลติมีเดียที่หลายหลาย ช่วยเร้าความสนใจ กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนและมีแบบทดสอบ
เพื่อประเมินผลด้วยตนเอง เป็นนวัตกรรมช่วยครูผู้สอนที่ขาดประสบการณ์และเทคนิคการสอน ช่วยให้
ครผู ู้สอนถ่ายทอดเน้ือหาและประสบการณ์ท่ีสลับซบั ซ้อนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และช่วยให้นักเรียนได้
เรียนตามความสามารถ เข้าถงึ สอ่ื เทคโนโลยที ่ีทนั สมัย สามารถเรยี นได้ทุกทท่ี ุกเวลา หากไม่เข้าใจเนื้อหา
ยังสามารถกลบั มาดูได้ซ้ำ ซง่ึ จะสง่ ผลต่อการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) 2
6.2 แนวทางการแก้ปัญหาและพฒั นา
จากเหตุผลข้างต้นและด้วยการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ข้าพเจ้าจึงศึกษาค้นคว้าการประยุกต์ใช้ E-Learning โปรแกรในกระ
บวนการจัดเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา สร้างจากโปรแกรม Google site โดยคุณครูจะ
วางแผนแบง่ เนอื้ หาออกเปน็ หน่วยๆจากน้ันจดั ส่ือตา่ งๆหลากหลาย ครเู ปน็ ผู้ให้คำแนะนำ ช้แี นะแนวทาง
นกั เรยี นเรยี นรไู้ ด้เร็วขน้ึ และเขา้ ใจบทเรียน เปน็ รูปธรรม เชน่ youtube,google, Kahoot,googlefrom
เพื่อช่วยกระตุ้นความสนใจของนักเรียนการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเป็นสิ่งสำคัญในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา และหาก
นักเรียนไม่เข้าใจเนื้อก็สามารถทักไลน์กลุ่มหาคุณครูได้และยังสามารถพัฒนาเว็บ Googlesite กับทุก
รายวชิ าและทุกชน้ั ได้
7. จุดประสงค์ เปา้ หมายและขอบเขตของการดำเนนิ งาน
7.1 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
7.1.1 วตั ถุประสงค์
7.1.1 เพื่อเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั เรียนกบั ก่อนเรียนดว้ ยการประยุกตใ์ ช้
Google site ในกระบวนการเรียนการสอนวิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา
7.1.2. เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ตอบสนองคณุ ลักษณะใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น พฒั นาทกั ษะการคดิ การสบื คน้ ของผู้เรียน
7.1.3. เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุก
สถานที่ ไมจ่ ำกัดอยแู่ ตใ่ นหอ้ งเรยี น
7.1.4. เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนวิชาการงานอาชีพ สามารถนำไปปรับ
ใช้ได้ในชีวติ กระจำวนั
7.1.2 เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ : รอ้ ยละ 90 ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 สามารถเรยี นร้วู ชิ าสุขศึกษา
และพลศกึ ษา จาก Google site ได้
เชิงคุณภาพ : นักเรียนมีความสนใจ สามารถเรียนรู้ ได้ทุกที่ทุกเวลา เรียนรู้ด้วยตนเองอยา่ ง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยการประยุกต์ใช้ Google site ใน
กระบวนการเรยี นการสอนวชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษา
7.2 ขอบเขตการดำเนนิ งาน
7.2.1 กลมุ่ เปา้ หมาย
- นักเรียนโรงเรยี นเมอื งเกษตรวิสัยระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 จำนวน 30 คน
7.2.2 เนอื้ หาทีใ่ ชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้
- หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรอื่ ง ระบบในรา่ งกาย
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) 3
- หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง เพศศึกษา
- หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง ครอบครัวและเพ่ือน
- หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรอ่ื ง สขุ บัญญตั แิ หง่ ชาติ
- หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง ขา่ วสารสุขภาพ
- หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรื่อง เคล่ือนไหวร่างกาย
- หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 เรอื่ ง กายบรหิ าร
- หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 8 เร่ือง เกมและกจิ กรรม
7.2.3 ระยะเวลาในการดำเนินงาน ปกี ารศึกษา 2563
8. กระบวนการดำเนินงาน
8.1 การออกแบบผลงาน/นวตั กรรม
ใชแ้ นวคดิ ADDIE Model ในการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีนกั ออกแบบการเรียนการสอนและ
นกั พฒั นาการฝกึ อบรมนิยมใช้กัน ซ่ึง ADDIE Model มีลำดับการพัฒนาเปน็ 5 ขัน้ ซง่ึ แต่ละขั้นตอนเป็น
แนวทางทีม่ ลี กั ษณะท่ยี ดื หยุ่นเพอื่ ใหส้ ามารถนำไปสร้างเปน็ เครือ่ งมือได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ขั้นที่ 1 ขั้นวิเคราะห์ (Analysis Phase) ทำความเข้าใจปัญหาการเรียนการสอน เป้าหมาย
ของรูปแบบการสอนและวัตถุประสงค์ที่จะสร้างขึ้นตลอดจนสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และความรู้
พื้นฐานและทักษะของผเู้ รียนท่ีจำเป็นตอ้ งมี โดยพจิ ารณาจากคำถามเพ่อื การวิเคราะห์ดงั น้ี
- กลมุ่ เป้าหมายนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/1 จำนวน 30 คน
- ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการประยุกต์ใช้ Google
site ในกระบวนการเรยี นการสอนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
- ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เป็นรายบุคคลและการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ตอบสนองคณุ ลักษณะใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น พฒั นาทักษะการคิด การสืบค้นของผูเ้ รยี น
- ผเู้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ดท้ ุกเวลา ทกุ สถานที่ ไมจ่ ำกัดอยูแ่ ต่ในห้องเรยี น
- ผู้เกิดความสนใจในการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา สามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิต
กระจำวัน
ขั้นที่ 2 การออกแบบ (Design Phase) ขั้นตอนการออกแบบ Google site ประกอบด้วย
การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดเครื่องมือวัดประเมินผล แบบฝึกหัด เนื้อหา วางแผนการสอน
และเลือกส่ือการสอนไดห้ ลายหลายมากข้ึน เช่น ใบงาน , ใบความรู้ , youtube , Dlit , kahoot , web
, googlefrom.
ขั้นที่ 3 ขั้นการพัฒนา (Development Phase) สร้างเครื่องมือวัดประเมินผล สร้าง
แบบฝึกหัด สร้างเนื้อหาและการพัฒนาโปรแกรม Google site เมื่อเรียบร้อยทำการทดสอบเพื่อหา
ขอ้ ผิดพลาดเพ่ือนำผลไปปรบั ปรงุ แก้ไข
ขั้นที่ 4 ขั้นการดำเนินการ (Implementation Phase) สอนโดยอาจจะเป็นรูปแบบชั้นเรียน
นอกชั้นเรียน เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา การฝึกอบรม หรือห้องทดลอง หรือรูปแบบการเรียนการสอนที่ใช้
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธกี ารปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) 4
คอมพิวเตอร์ โดยจุดมุ่งหมายของขั้นตอนนี้คือการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะต้องให้
การส่งเสรมิ ความเขา้ ใจของผ้เู รยี นสนับสนนุ การเรยี นรอบรูข้ องผู้เรยี นตามวตั ถุประสงค์ต่างๆที่ตง้ั ไว้
ขั้นที่ 5 ขั้นการประเมินผล (Evaluation Phase) การนำข้อสังเกตจากการดำเนินการสร้าง
Google siteประกอบด้วยสองส่วนคือการประเมินผลรูปแบบ (Formative) และการประเมินผลใน
ภาพรวม(Summative) ซ่ึงเป็นการประเมินผลเพื่อพัฒนา และการประเมินผลในภาพรวมจะทำเม่ือการ
สอนเสร็จสิน้ เพ่ือประเมินผลประสิทธผิ ลการสอนทั้งหมดข้อมลู จากการประเมินผลรวมโดยปกติมักจะถูก
ใชเ้ พ่ือการตดั สินใจเก่ยี วกบั รปู แบบการสอน
รปู ADDIE Model
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนด้วยวิธกี ารปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 5
8.1.1 ข้นั ตอนการสร้าง Google site รายวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา
- เข้าถึงได้จาก http://sites.google.com หรือเมื่อ login อยู่ในระบบแล้ว ที่เมนู
Google Apps เลอื ก “Sites”
- จะปรากฏหนา้ จอ Site
- กด ว่าง เพื่อสรา้ งเวบ็ ไซต์
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวธิ ีการปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) 6
- คลกิ ตงั้ ชอื่ เวบ็ ไซต์ของเราด้านซ้ายบนของหนา้ จอ แล้วให้กด Enter หรือ Return
- เลอื่ นเมาส์ไปที่มุมซา้ ยลา่ งของหัวข้อเว็บ จะมีฟงั ก์ช่ันการอัพโหลดภาพขึ้นมาให้ ใหเ้ รา
อพั โหลดภาพเขา้ มา
- จากนน้ั เลือกภาพที่ต้องการทำเป็นหวั เวบ็ คลิกรูปท่เี ลือก กดเปดิ เพื่อนำไฟล์อัพโหลดข้ึน
ไปยังหัวเว็บ(ควรเตรยี มไฟล์งานตา่ งๆ เชน่ ใบงาน ใบความรู้ ปก ป่มุ เน้ือหา เพื่อให้ง่ายและสะดวกต่อ
การสร้างเว็บ)
- หัวเวบ็ ปรากฏ ดังน้ี
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการปฏิบัตทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 7
- กดป่มุ ปรบั เพื่อให้อ่านง่าน ออก เพ่ือให้หัวเว็บชดั ขึ้น
- เมือ่ ออกแบบแล้ว ใหเ้ รากดทเ่ี คร่ืองมือ แทรก ดา้ นขวามือ กดไปทก่ี ล่องข้อความ
- ทีส่ ำหรับใสข่ ้อความปรากฏ ดงั นี้
- จากนั้นกดไปท่ี ถาดสี เลื่อนเมาสไ์ ปที่ กดไปท่ีอัพโหลดเพ่ือเลือกรูปภาพหนว่ ยการเรียนรู้
ท่ีออกแบบไว้แลว้
- กดเลือกภาพทอ่ี อกแบบไว้ กดเปดิ
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice) 8
- หน่วยการเรยี นรู้กจ็ ะปรากฏ ดงั นี้
- ตอ่ ไปเป็นการเพิ่มสว่ นของเนือ้ หาในเวบ็ เมื่อไดร้ ปู แบบแลว้ ใหเ้ รากดทเี่ คร่ืองมือ เลย์
เอาต์(Layouts) ด้านขวามือ ซง่ึ จะมรี ปู แบบให้เลอื กประมาณ 6 แบบ ใหเ้ ราเลอื กสักแบบ
- เลย์เอาต์(Layouts) ทเ่ี ลอื กก็จะปรากฏ ดังน้ี
- กดไปท่ี ( + ) กดไปท่ีอัพโหลด
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลิศ (Best Practice) 9
- กดเลือกปุ่มทอ่ี อกแบบไว้ กดเปดิ
- ปุ่มใบความรู้ ก็จะปรากฏ ดังน้ี
- ปรับปุ่มใบความรู้ให้เหมาะสม
- ใสให้ครบั ทงั้ 4 ปุ่ม
- ตอ่ ไปใส่ลิงค์ใบความรู้ คลั ลอกลิงค์ที่ต้องการใช้
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 10
- คลกิ ที่ช่องข้อความท่ีจะใส่ลงิ ค์ จากน้ันกดไปท่ี แทรกลิงค์ เลือกช่องข้อความทตี่ ้องการใส่
ลิงค์ ตรงขอ้ ความให้ใส่ชื่อท่ีจะแสดงผล เช่น ใบความรู้ ตรงลงิ คใ์ ห้คลั ลอกลงิ คแ์ ลว้ เอามาวาง จากนัน้ กด
ใช้
- ลงิ ค์ท่ีใสก่ ็จะแสดง ดังน้ี
- ใสใ่ บงาน ทำเช่นเดียวกบั ใบความรู้
- คลิกที่ชอ่ งข้อความท่จี ะใสล่ งิ ค์ จากน้ันกดไปท่ี แทรกลิงค์ เลอื กช่องข้อความท่ีต้องการใส่
ลิงค์ ตรงข้อความให้ใสช่ ่อื ท่ีจะแสดงผลเช่น ใบความรู้ ตรงลงิ ค์ใหค้ ัลลอกลงิ ค์แลว้ เอามาวางจากน้นั กดใช้
- ลิงคท์ ่ีใสก่ ็จะแสดง ดังน้ี
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธกี ารปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) 11
- ใส่แหล่งเรยี นรู้ คดั ลอกลิงค์
- คลกิ ท่ีช่องข้อความท่ีจะใสล่ ิงค์ จากนนั้ กดไปที่ แทรกลิงค์ เลอื กชอ่ งข้อความที่ต้องการใส่
ลงิ ค์ ตรงข้อความให้ใส่ชือ่ ที่จะแสดงผลเชน่ ใบความรู้ ตรงลิงคใ์ หค้ ัลลอกลงิ ค์แล้วเอามาวางจากน้นั กดใช้
- ลงิ คท์ ี่ใส่ก็จะแสดง ดงั นี้
- ต่อไปใส่ลิงค์แบบทดสอบ เปิด Google From ข้อสอบท่ที ำไว้
- กดไปที่สง่ คลิกทีล่ งิ ค์ คลกิ เลอื กตดั URL ใหส้ นั้ ลง กดคัดลอกลิงค์แบบทดสอบ
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธกี ารปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) 12
- พิมพแ์ บบทดสอบและใสล่ งิ ค์ท่ีคัดลอกไว้ กด ใช้
- แบบทดสอบปรากฏ ดงั นี้
- ต่อไปใส่คลิปวีดี คลิกสร้างกลอ่ งข้อความ
- กดถาดสี กดรปู ภาพ กดอัพโหลด
- เลอื ก พื้นหลงั จากน้นั กดเปิด
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวธิ กี ารปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice) 13
- ปรากฏดงั นี้ จากนนั้ กดนำการปรบั ออก
- กดไปท่ี ฝงั
- วางลิงค์ แลว้ กดแทรก
- จะปรากฏ ดงั นี้
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 14
- กดซ้ายคา้ งลากคลบิ เข้าไปในกล่องข้อความที่สรา้ งขึ้น
- กดไปที่ แสดงตวั อย่างเพือ่ ดูหน้าเวบ็ เวลามนี กั เรียนหรือผู้สนใจเขา้ เรยี น
- เทา่ นี่ก็จะได้เนอ้ื หาหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1
- ทำซำ้ แบบนีไ้ ปเรื่อยๆ จนครบหนว่ ยการเรยี นรู้ ที่กำหนดไว้
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวธิ กี ารปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 15
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 16
- ใส่ สว่ นท้าย
- กดเผยแพร่
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวธิ กี ารปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) 17
8.2 การดำเนนิ งานตามกิจกรรม
8.2.1 ครูชี้แจงใหน้ ักเรียนรเู้ ก่ียวกบั บทบาทของนกั เรยี นในการใช้การเรยี นออนไลน์
8.2.2 นำเข้าสูบ่ ทเรียน มีกจิ กรรมและส่ือท่ีหลากหลาย ครพู ูดเพื่อกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นเกิด
ความสนใจเนือ้ หาทีก่ ำลังจะเรียน
8.2.3 ขน้ั ดำเนนิ การสอน ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน ศึกษาเนื้อทง้ั ในห้องเรยี นและนอก
หอ้ งเรยี น ในการศกึ ษาเน้ือหาสามารถเรยี นได้ทุกทีท่ ุกเวลาและสามารถเรยี นทบี่ า้ นมาก่อนไดโ้ ดยผ่าน
อนิ เทอรเ์ น็ต เมื่อเรียนรู้เสร็จแล้ว นักเรยี นทำแบบทดสอบหลัง เพ่ือวดั และประเมินผลผเู้ รียน
8.1.4 นกั เรียนเรยี นรู้ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากเว็บไซต์หอ้ งเรยี นออนไลน์ ครบู าส (สขุ ศกึ ษาและพละ
ศึกษา) ที่บา้ นของนกั เรยี น ซง่ึ จะช่วยกระต้นุ ความสนใจผูเ้ รยี น นกั เรียนทไ่ี มเ่ ขา้ ใจสามารถศึกษาเพิ่มเติม
ได้และยังเพม่ิ ทกั ษะการเรียนรู้ของนักเรยี นอีกดว้ ย
8.1.5 ขั้นวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ ครูอธิบาย ชี้แจงในสิ่งที่ตอ้ งปฎิบัติและผลท่ีจะเกิดขึน้ ครู
ใหน้ ักเรยี นเสนอสิ่งท่อี ยากทำซึ่งอยู่ในกรอบวัตถปุ ระสงค์ของบทเรยี น
ครูให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ทดสอบสมถรรณะร่ายกาย เก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของตนเอง การ
เคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้อุปกรณ์ต่าง ทำกายบริหาร และเล่นเกมกับกิจกรรม เป็นต้น ซึ่งตรงกับการ
เรียนรู้แบบ Active Learning โดยในแต่ละกิจกรรมการฝึกครูก็จะคอยให้คำแนะนำและชื้แนะแนวทาง
และเวลาฝีกครูเชอ่ื งการฝึกปฏิบตั กิ บั เนอื้ หาเข้าดว้ ยกนั เพื่อให้นักเรียนมองภาพ และเข้าใจจดจำมากขน้ึ
9. ผลการดำเนนิ การ
9.1 ผลทีเ่ กดิ ตามจุดประสงค์
9.1.1 นักเรียนที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา ด้วยเว็บ Googlesite คะแนนสอบหลัง
เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี น
9.1.2 นักเรียนสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตตอบสนอง
คุณลักษณะใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น พฒั นาทักษะการคิด การสบื คน้ ของผ้เู รยี น
9.1.3 นกั เรียนสามารถเรียนรู้ไดท้ กุ เวลา ทกุ สถานท่ี ไมจ่ ำกัดอยูแ่ ตใ่ นห้องเรยี น
9.1.4 นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา สามารถนำไปปรับ
ใชไ้ ด้ในชวี ติ กระจำวนั
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนด้วยวธิ กี ารปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 18
9.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน
จากการพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โดยผ่าน
เว็บ Googlesite ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเมืองเกษตรวิสัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2 ปรากฏผล ดงั นี้
เมื่อเปรยี บเทียบผลการจัดการเรยี นร้กู ่อบเรียนกบั หลังเรยี นของนักเรียนพบวา่ การจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการงานอาชีพ วิชาสุขศึกษาและพละศึกษา โรงเรียนเมืองเกษตรวิสัย
อำเภอเกษตรวสิ ยั จงั หวดั ร้อยเอด็ ผลปรากฏผล ดงั น้ี
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice) 19
สรปุ วา่ นักเรยี นท่เี รียนวิชาการงาน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6/1 โรงเรยี นเมืองเกษตรวิสัย อำเภอ
เกษตรวิสัย จงั หวัดร้อยเอ็ด จำนวน 30 คน ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หนว่ ยท่ี 1 ได้คะแนนเฉลย่ี 3.4 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 34
หนว่ ยท่ี 2 ไดค้ ะแนนเฉล่ีย 3.7 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 37
หนว่ ยที่ 3 ได้คะแนนเฉลย่ี 3.2 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 32
หนว่ ยที่ 4 ไดค้ ะแนนเฉลย่ี 3.6 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 36
หน่วยที่ 5 ไดค้ ะแนนเฉลย่ี 3.8 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 38
หน่วยท่ี 6 ได้คะแนนเฉลย่ี 4.8 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 48
หนว่ ยท่ี 7 ไดค้ ะแนนเฉลี่ย 4.2 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 42
หนว่ ยที่ 8 ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 4.2 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 42
และเมื่อเรยี นรู้ จาก Googlesite แลว้ ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ผลปรากฏว่านักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 6/1 โรงเรยี นเมอื งเกษตรวิสัย อำเภอเกษตรวิสยั จงั หวัดรอ้ ยเอด็ ได้คะแนน
หน่วยท่ี 1 ไดค้ ะแนนเฉลย่ี 9.3 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 93
หน่วยที่ 2 ไดค้ ะแนนเฉลี่ย 9.1 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91
หน่วยท่ี 3 ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 9.1 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 91
หน่วยท่ี 4 ไดค้ ะแนนเฉลี่ย 9.1 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 91
หน่วยท่ี 5 ได้คะแนนเฉลย่ี 9.3 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 93
หน่วยท่ี 6 ไดค้ ะแนนเฉล่ีย 9.3 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 93
หนว่ ยท่ี 7 ไดค้ ะแนนเฉลย่ี 9.4 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 94
หน่วยที่ 8 ไดค้ ะแนนเฉล่ยี 9.4 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 94
9.3 ประโยชน์ที่ได้รบั
9.3.1 กจิ กรรมการเรียนร้ผู ่านเว็บ Googlesite เปน็ กจิ กรรมท่ผี ูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้
โดยสามารถศึกษาไดเ้ อง หากไมเ่ ข้าใจก็ยงั สามารถสอบถามครผู ู้สอนผ่าน Social Media หรอื ชอ่ งทาง
หลายๆ ช่องทาง โดยกจิ กรรมการเรียนรูม้ ุ่งส่งเสรมิ และพฒั นากระบวนการคดิ วเิ คราะหใ์ หก้ บั ผู้เรยี น ใน
การศึกษาหาความรู้ ความจริงจนได้ข้อสรุป เปน็ องค์ความรูใ้ หมแ่ ละส่งผลออกมาเปน็ ผลงานเชงิ
สรา้ งสรรค์พฒั นาเป็นความร้ทู ี่คงทนตลอดไป
9.3.2 นักเรยี นมมี ีเจตคติทดี่ ีและสนใจเรยี นวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
9.3.3 นักเรียนมีคะแนนรายวิชาการงานอาชีพสอบหลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรยี น
9.3.4 เพ่มิ โอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาให้ผ้เู รียนสามารถเรยี นรไู้ ด้ทุกเวลา ทกุ สถานท่ี ไม่
จำกดั อยู่แตใ่ นห้องเรียน
9.3.5 นำนวัตกรรมไปประยุกตใ์ ช้กับการสอนทุกระดับชัน้ และ รายวิชา อ่ืนๆ
9.3.6 ประยกุ ต์ความรสู้ กู่ ารแข่งขนั ทักษะสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
รายงานผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 20
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 21
10.ปัจจัยความสำเรจ็
10.1 สิ่งที่ชว่ ยให้งานประสบความสำเรจ็
การดำเนินงาน มปี ระสทิ ธิภาพส่งผลตอ่ คุณภาพของผลงาน/นวัตกรรม)
1. โรงเรียนส่งเสริม และสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางวิชาการทุกด้าน กำหนดนโยบายให้
มกี ารจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาการไวช้ ัดเจนและจดั กจิ กรรมในการพฒั นาครูและพัฒนานักเรยี นอย่างต่อเน่อื ง
2. ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายผู้ปกครองในการฝึกซ้อมทักษะด้านกีฬา เพื่อเข้าร่วม
แข่งขนั กีฬาศนู ย์เครือขา่ ย
3. ครูผู้ฝึกสอนมีความมุ่งมั่นในการวิเคราะห์และออกแบบการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ Best
Practice นักเรียนมีความมงุ่ ม่ัน ความรับผดิ ชอบ และมรี ะเบียบวนิ ยั ในการฝกึ ทักษะด้านอาชีพ
5. ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในด้าน
เทคโนโลยีการผลิตสอื่ นวัตกรรม
6. ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารฯ คณะครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในการให้คำปรึกษา
แนะนำการดำเนินงานและเป็นการบูรณาการความรู้ ความสามารถ รวมทั้งทักษะด้านต่าง ๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง
11.การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรับ/รางวลั ท่ีไดร้ บั
11.1 การเผยแพร่
กลุ่มไลน์ เว็บโรงเรยี น เพจโรงเรียน
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 22
เผยแพร่บทความ เรยี นได้ทุกท่ีทกุ เวลา การงานอาชพี หรรษาด้วย Googlesite
ลงในเว็บครบู า้ นนอก https://www.kroobannok.com/ ลิงคต์ ดิ ตาม : shorturl.asia/QuThU
เผยแพร่นวตั กรรม เร่อื ง เรยี นไดท้ ุกทท่ี กุ เวลา การงานอาชีพหรรษาดว้ ย Googlesite ตามโรงเรียนตา่ งๆ
มีการนำไปเผยแพรท่ ้ังในกลุ่มไลน์คณะครู กลมุ่ ไลนศ์ ูนย์เครือขา่ ย ทโ่ี รงเรียนต่างๆ เพจโรงเรียน
เว็บไซต์และโรงเรียนเมืองเกษตรวิสัย เพื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน และตอบ
แบบแบบตอบรับการเผยแพร่ นวัตกรรมวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อนำมาพัฒนาและ
ปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นต่อไป ลิงค์แบบตอบรับการเผยแพร่ :
https://www.shorturl.asia/MZQND
11.2 การได้รบั การยอมรบั /รางวัลท่ไี ดร้ บั
ข้าพเจ้าเป็นครูผู้สอนรายวิชาสุขศึกษาแลพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จึงได้นำ
ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีมาปรับใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน จึงได้พัฒนาสื่อเทคโนโลยีใน
การจัดการเรียนการสอนรายวิชาสุขศึกษาแลพลศึกษา ข้าพเจ้าพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและ
พฒั นานวตั กรรมอยา่ งตอ่ เน่อื งและได้รบั รางวัลจากการประกวดโครงงานอาชพี และการอบรมต่างๆ ดังนี้
รายงานผลงานนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice) 23
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 24
รายงานผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 25
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2564). การจัดสาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี
และเทคโนโลยีตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ :
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรมวงษ์. ข้ันตอนการวจิ ยั และพัฒนาเพอ่ื สร้างนวตั กรรมทางการศึกษา.
สบื คน้ https://www.scribd.com/document/508042863/.
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. (2551). ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กระทรวงศึกษาธกิ าร.
กรมวชิ าการ. (2546, หน้า 11). กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นสาระที่เน้นการ
ทำงานและการจดั การอย่างเป็นระบบ พัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์. กรมวิชาการ.
นายเรวัตร น่มิ ยงค์. (2563). นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การพฒั นาทกั ษะการเรียนร้กู ารตอนก่ิง โดย
เรียนรู้ผ่านคลิปวดี โี อ. โรงเรยี นสายปญั ญารงั สติ . สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
มัธยมศกึ ษาเขต 4.
รายงานผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนด้วยวิธกี ารปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 2ค6