ก
คำนำ
คู่มือพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ประจำปี ๒๕๖๔ เล่มน้ี ได้รวบรวมสาระสำคัญท่ีเกี่ยวข้องกับ
โครงการ ลำดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน บทบาทหน้าท่ีของผู้เกี่ยวข้อง และมีการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ของ
สำนักงานพระสอนศีลธรรม เพื่อใช้เปน็ แนวในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และขอขอบคุณหนว่ ยงานท่ี
เก่ียวขอ้ งทกุ ทา่ นท่ชี ว่ ยให้คมู่ อื ฉบบั นี้สมบรู ณ์ และทำใหก้ ารดำเนนิ งานมีประสิทธิภาพยง่ิ ขึ้น
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย มีอตั ราพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น
จำนวน ๖,๗๐๐ รูป โดยมีความคาดหวังวา่ จะเป็นโครงการที่สร้างคุณประโยชน์ต่อสังคมในการเข้าไปมีส่วน
ผลักดันสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ด้วยการเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่างบ้า น วัด
โรงเรยี น มพี ระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นที่จะนำหลกั ธรรมคำสอนผา่ นกระบวนการเรยี นร้ใู นการพฒั นาคุณธรรม
จริยธรรมเดก็ เยาวชน นกั เรียน นกั ศึกษาท่วั ประเทศ ซึง่ ประโยชน์สงู สุดที่ได้รับ คอื ผเู้ รียนจะไดร้ ับการปลูกฝัง
ในเร่อื งคุณธรรมจริยธรรมจากพระภกิ ษุสงฆ์โดยตรง
คณะกรรมการบริหารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จึงได้รับสมัครพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรียน เพือ่ จัดฝึกอบรมขึ้นทะเบยี นบรรจุเปน็ พระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น และเข้าปฏิบัตหิ นา้ ทส่ี อนศีลธรรม
ในโรงเรียนทกุ ภูมภิ าค โดยมีส่วนกลาง วทิ ยาเขตและวทิ ยาลยั ฯ เป็นศูนยป์ ฏิบัตกิ ารโครงการ ฯ รวม ๑๐ แห่ง
แต่เน่ืองด้วยพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มจี ำนวนมากและปฏิบัติหน้าท่ีทุกภูมิภาค มวี ัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย
แตกต่างกันไป ทำให้ยากแก่การสื่อสารและทำความเข้าใจให้เป็นแนวเดียวกัน สำนักงานพระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จึงได้จัดทำคู่มือพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพื่อให้เป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานและการปฏิบัตกิ ารสอนให้เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
มีนาคม ๒๕๖๔
ข
สารบญั
เรือ่ ง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข–ค
คำสง่ั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ี ๐๙๘๐/๒๕๖๒ ๑
เรือ่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการบรหิ ารโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน
ประกาศ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ๓
เร่อื ง การแบง่ สว่ นงานระดับฝา่ ยภายในสำนกั งานอธกิ ารบดี
คำส่ัง มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ที่ ๖๐๖/๒๕๖๑ ๔
เร่ือง แต่งตง้ั ผู้รกั ษาการในตำแหนง่ หัวหนา้ สำนักงานพระสอนศลี ธรรม
ประกาศ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ๕
เรื่อง การรับสมคั รพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นทัว่ ประเทศ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔
ประกาศ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย ๗
เรือ่ ง นโยบายและแนวทางดำเนนิ การในโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน
ประวตั คิ วามเปน็ มาของการตง้ั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ๑๑
- จดั การศกึ ษาหัวเมอื ง ๑๕
- ประกาศพระราชดำรใิ นการจัดการศกึ ษา ๑๗
- ประกาศจดั การเล่าเรียนในหัวเมอื ง ๑๘
คณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั ๒๓
- บณั ฑติ วทิ ยาลัย ๒๓
- คณะศาสนาและปรัชญา ๒๗
- คณะมนษุ ยศาสตร์ ๒๙
- คณะสงั คมศาสตร์ ๓๑
- คณะศึกษาศาสตร์ ๓๓
บทความ เร่อื ง การจัดการเรียนการสอนวชิ าพระพทุ ธศาสนา ของพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น ในบรบิ ทฐาน
วถิ ชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ๓๔
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ค
โครงสร้างการบรหิ ารสำนกั งานพระสอนศีลธรรม
ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารสำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ๓๗
ยุทธศาสตร์สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ๔๔
๔๕
- วสิ ัยทศั น์ ๔๙
- พนั ธกจิ ๔๙
- ยทุ ธศาสตร์ ๔๙
- เปา้ ประสงค์ ๔๙
- กลยุทธ์ ๕๐
พน้ื ท่ีการดำเนนิ งานปี ๒๕๖๔ สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย ๕๑
ตวั อยา่ ง บัตรประจำตวั พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ๕๒
๕๓
สารบัญ (ตอ่ ) หน้า
๕๔
เรอ่ื ง ๕๖
คู่มอื การใชร้ ะบบฐานขอ้ มูล สำหรับพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ๕๗
๕๘
- การสมัครพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น ๕๙
- การตรวจสอบสถานะการสมคั ร ๖๐
- การลงช่ือเขา้ ใช้งานระบบ ๖๓
- การจดั การข้อความ ๖๔
- รายงานผลการปฏิบัติการสอน ๖๕
- การพมิ พ์แบบรายงานการสอน ๖๖
- การจดั การเร่ืองเอกสารคำรอ้ งทวั่ ไป ๖๗
- การตั้งคา่ ขอ้ มลู สว่ นตวั ๖๘
ภาคผนวก ๖๙
- เอกสารประกอบการส่งแบบรายงานปฏิบัติการสอน ๗๐
- เอกสารประกอบสำหรบั การสมัครพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ๗๑
- ใบแจง้ ขอยา้ ยสถานทส่ี อน สำนกั งานพระสอนศีลธรรม ประจำวทิ ยาเขต/วทิ ยาลัย
- ใบแจง้ ขอยา้ ยสถานทส่ี อน สำนักงานพระสอนศลี ธรรม (สว่ นกลาง)
- สัญญาจา้ งพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน (ส่วนกลาง)
- เอกสารประกอบในการต่อสญั ญาจ้างพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ง
- แบบฟอร์มขอชแ้ี จงการไมไ่ ดเ้ ขา้ อบรมพระสอนศีลธรรม ประจำปี ๒๕๖๔
- ใบขอลาออก ๗๓
- ใบขอมีบตั รประจำตวั พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ๗๔
- ช่องทางการติดตอ่ และตดิ ตามขา่ วสาร สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มมร ๗๕
๗๖
๗๗
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๑
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๒
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๓
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๔
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๕
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๖
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๗
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๘
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๙
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๑๐
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๑๑
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๑๒
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๑๓
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หนา้ ๑๔
ต้งั มหามกุฏราชวิทยาลัย
สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นนักการศึกษาทส่ี ำคญั พระองค์หนง่ึ ของไทย พระดำรใิ น
การริเริ่ม แก้ไข และพัฒนาเกย่ี วกับการศึกษาของไทย ทงั้ ในดา้ นพุทธจักรและอาณาจักร ได้ก่อให้เกิดผลดแี ก่พระพทุ ธศาสนา
คณะสงฆ์ และประเทศชาตเิ ป็นอเนกประการ แตม่ คี นไทยจำนวนไมน่ ้อยทไี่ ม่เคยได้รไู้ ดย้ ินพระเกยี รติคุณของพระองค์ท่านใน
ด้านนี้
พ.ศ.๒๔๓๕ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ส้ินพระชนม์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ
ยาวชริ ญาณวโรรส ขณะทรงดำรงพระอสิ ริยยศเป็น กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส จงึ ทรงครองวัดบวรนเิ วศวหิ าร เปน็ พระองค์ท่ี ๓
สืบต่อมา ซึง่ ขณะน้ันทรงมพี ระชนมายุ ๓๒ พรรษา
ปีรุ่งข้ึน พ.ศ.๒๔๓๖ ทรงได้รับสถาปนาเป็น เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยตุ สืบตอ่ จากสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระ
ยาปวเรศวริยาลงกรณ์ หลังจากทรงดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตแล้ว พระองค์ก็ทรงเร่ิมพัฒนาการศึกษาของ
พระสงฆ์ในคณะธรรมยุตทนั ที กลา่ วคือ
ในปี พ.ศ.๒๔๓๖ น้ัน ได้ทรงจัดตัง้ สถานศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรมแบบใหม่สำหรับภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุตข้ึน ณ
วดั บวรนิเวศวิหาร โดยพระบรมราชานุญาตในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั เรียกว่า “มหามกุฏราชวิทยาลยั ”
เพื่อเฉลิมพระนามาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสถานศึกษาสำหรับภิกษุสามเณรเรียกส้ัน ๆ ว่า
วทิ ยาลยั พรอ้ มทงั้ จัดต้งั โรงเรียนหนังสือไทยของมหามกุฏราชวิทยาลยั สำหรบั เปน็ สถานศกึ ษาของกุลบตุ รขนึ้ ดว้ ย
สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ ได้ทรงกำหนดวัตถุประสงคข์ องมหามกุฏราชวทิ ยาลัยไว้ ๓ ประการ คือ
๑. เพื่อเป็นสถานท่ศี ึกษาพระปรยิ ัตธิ รรมของพระสงฆค์ ณะธรรมยุติกนิกาย
๒. เพ่อื เป็นสถานที่ศึกษาวทิ ยาซง่ึ เปน็ ของชาติภูมิ และต่างประเทศแหง่ กลุ บตุ ร
๓. เพ่อื เป็นสถานที่จดั การส่งั สอนพระพทุ ธศาสนา
เหตทุ ที่ รงต้งั สถานศึกษาเฉพาะสำหรับพระสงฆ์ธรรมยุติกนกิ าย กเ็ พราะในขณะนั้น ทรงเป็นเพียงเจ้าคณะใหญค่ ณะ
ธรรมยุตเทา่ น้ัน จึงทรงจัดตงั้ มหามกฏุ ราชวิทยาลัยข้นึ เป็นการเฉพาะในสว่ นที่พระองคท์ รงปกครองดแู ลท้งั การจดั ต้งั มหามกุฏ
ราชวิทยาลัยนั้น นับว่าเป็นการทดลองทำในสิ่งท่ีแปลกใหม่ในยุคนั้น จึงทรงทดลองทำอยู่ในวงแคบ ๆ ก่อน เป็นเสมือน
โครงการนำร่อง
ในระยะแรก ที่ทำการของมหามกุฏราชวิทยาลัยตัง้ อยูท่ ี่ตำหนักล่าง อันเป็นที่ประทับของพระองค์ ส่วนสถานศึกษา
หรือโรงเรยี นของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ตง้ั ข้ึนตามวดั ต่าง ๆ คือ
๑. โรงเรยี นวัดบวรนิเวศวิหาร
๒. โรงเรยี นวัดมกฏุ กษัตรยิ าราม
๓. โรงเรียนวัดเทพศริ ินทราวาส
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๑๕
๔. โรงเรยี นวัดพชิ ัยญาตกิ าราม
๕. โรงเรียนวัดนิเวศนธ์ รรมประวตั ิ พระนครศรอี ยุธยา
สำหรบั โรงเรยี นหนังสือไทยกต็ ง้ั ข้นึ ควบคกู่ นั ไปกบั โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมสำหรับภกิ ษุสามเณรในวดั น้นั ๆ
เหตทุ ่ที ำให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงพระดำริจดั ตั้งมหามกฏุ ราชวิทยาลัยข้ึนน้ัน ก็เพราะทรงเห็นว่า การศกึ ษา
พระปริยัติธรรมของภกิ ษุสามเณรทเ่ี ป็นอย่ใู นขณะน้ัน ยงั มอี ุปสรรคปัญหาท่ีทำให้การศกึ ษาของภิกษุสามเณรไม่เจริญก้าวหน้า
หลายประการ กล่าวคือ
ตำราอันเป็นหลักสูตรสำหรับการเรียนยังไม่เหมาะสม ผเู้ รียนตอ้ งใชเ้ วลามากกว่าจะร้เู ร่ือง แม้จะร้เู ร่ืองก็ยังไมช่ ดั เจน
พอท่ีจะใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งแท้จริง
การเรยี นการสอนไมม่ ีการจดั เป็นช้ันเป็นระดับอย่างชดั เจน มกั มีครูคนเดียวสอนทุกช้ัน ซึ่งยากแกก่ ารเรียนการสอน
และหาครทู ี่สามารถสอนได้ดที กุ ช้นั เปน็ การยาก
การสอบกใ็ ชแ้ ปลปากเปล่าซึง่ เปน็ วิธีทไ่ี ม่สามารถวัดความรู้ได้อย่างแทจ้ รงิ ทง้ั ต้องเสยี เวลาในการสอบแตล่ ะคร้ังเป็น
อันมาก
กำหนดสอบก็นานเกนิ ไป คือ ๓ ปีสอบครัง้ หนึ่ง หากมีความจำเป็นก็เล่ือนไปเป็น ๖ ปสี อบครั้งหน่งึ ทำใหน้ ักเรียนผู้
จะเขา้ สอบท้อแทห้ มดกำลงั ใจ
แนวพระดำริในการปรับปรุงแกไ้ ขการศึกษาพระปรยิ ัติธรรมของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ก็คือ “ให้ผู้เรียนร้ไู ด้เร็ว
ไมเ่ ปลอื งเวลา ไมพ่ กั ลำบาก รู้ไดด้ ดี ้วย” ฉะน้นั การจดั ตงั้ มหามกุฏราชวิทยาลยั จึงเปน็ การนำเอาวธิ กี ารเรียนการสอนและการ
สอบแบบใหมเ่ ข้ามาใชใ้ นวงการศึกษาของไทยเป็นคร้ังแรก เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆ์ให้เจรญิ ก้าวหน้าดังที่พระองค์
ตรัสไว้ว่า “ความประสงค์ท่ีจะจดั การฝึกอบรมตามแบบใหมน่ นั้ กเ็ พอื่ จะลองหาทางแกไ้ ขการเรยี นพระปริยัติธรรมให้ดขี นึ้
การศึกษาแบบใหม่ที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงจัดขึ้นในมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามแนวพระราชดำริของ
พระองค์ คือ
๑. การจัดหลกั สูตร ต้องจดั ใหน้ อ้ ยชัน้ แต่ยน่ ความรู้ใหจ้ ลุ งในชนั้ นั้น ๆ และใหเ้ ป็นคลองเดยี วกันกบั การศึกษาชน้ั สูง
ๆ ขน้ึ ไปด้วย
๒. หลักสูตร ทรงตง้ั หลักสูตรแบบใหมจ่ ัดเปน็ ๓ ช้ัน คอื ช้ันเปรียญตรี เรียนบาลีไวยากรณ์และอรรถกถาเป็นชน้ั ท่ี
เรยี นเอาความรู้ทางภาษา ช้ันเปรียญโท เรยี นบาลีพระวินัยมหาวิภังค์ ภิกขุนีวภิ ังค์ และบาลีพระสูตรบางเล่ม ช้ันเปรยี ญเอก
เรยี นบาลีพระวนิ ัยมหาวิภงั คแ์ ละจุลลวคั ค์ และบาลีพระอภิธรรมบางเลม่ สองช้นั น้ีเปน็ การเรียนเอาความรทู้ างพระศาสนา
๓. การเรียน ไม่เรียนเฉพาะภาษามคธอย่างเดียว การเล่าเรยี นใดซ่ึงเกื้อกูลต่อการพระศาสนาก็ดี เปน็ วทิ ยาสำหรับ
บุรุษกด็ ี ต้องจัดขน้ึ ดว้ ยตามแตจ่ ะจดั ได้
๔. การสอน แก้ไขวิธีการสอนใหเ้ รียนงา่ ยขน้ึ ให้รู้ไดจ้ ริง ใหจ้ บหลกั สตู รไดเ้ รว็
๕. การสอบ สอบไลท่ กุ ปี สอบโดยวธิ ีเขียนแทนวิธีแปลปาก การได้-ตก ใช้วธิ ลี ดคะแนนตามข้อผิด
๖. หลักสตู รมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หน้า ๑๖
ชน้ั นกั เรียนที่ ๓ เรยี น บาลีไวยากรณ์
ชน้ั นักเรียนท่ี ๒ เรยี น อรรถกถาธรรมบท บั้นตน้ ทอ้ งนิทาน
ชั้นนักเรยี นที่ ๑ เรยี น แก้คาถาอรรถกถาธรรมบท บนั้ ปลาย
ช้นั เปรียญที่ ๓ เรยี น แก้คาถาอรรถกถาธรรมบท บนั้ ตน้ (เปรยี ญตรี)
ชน้ั เปรยี ญที่ ๒ เรยี น บาลพี ระวนิ ัยมหาวิภงั ค์ ภกิ ขนุ ีวิภังค์ และพระสตู รบางสตู ร
(เปรยี ญโท)
ชั้นเปรียญท่ี ๑ เรียน บาลพี ระวินัยมหาวัคค์ และจุลวัคค์ และอภธิ รรม (เปรยี ญเอก)
การสอบ สอบทุกปี และผลของการสอบครงั้ แรกในปี ร.ศ.๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) ก็ปรากฏว่าได้ผลดี คอื มีนักเรยี นสอบ
ไดเ้ กนิ กวา่ คร่ึง ดังทปี่ รากฏตามรายงานการสอบ ดงั นี้
ช้ันนักเรยี นท่ี ๓ สอบ ๒๙ ได้ ๑๕ ตก ๑๔
ชั้นนกั เรยี นท่ี ๒ สอบ ๑๐ ได้ ๖ ตก ๔
ชัน้ นกั เรียนท่ี ๑ สอบ ๔ ได้ ๑ ตก ๓
แนวพระดำริในการจัดการศกึ ษาสำหรบั ภิกษสุ ามเณรน้นั สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเน้นการเรยี นทใ่ี ชเ้ วลานอ้ ย
รูไ้ ด้เร็วและรู้ไดจ้ ริง และการทีจ่ ะรู้ได้จริงน้นั ต้องรทู้ ้ัง ๒ ส่วน คอื เบื้องต้น ต้องร้ภู าษาบาลีหรือภาษามคธก่อน จึงจะสามารถ
เอาความร้คู วามเข้าใจเร่ืองพระศาสนาจากพระคมั ภีร์ได้ ฉะนั้น การเรยี นของภิกษุสามเณร จงึ ตอ้ งให้รู้ทง้ั ภาษาและรู้ท้ังพระ
ศาสนา ความรู้ทีไ่ ด้นั้นตอ้ งถอื เป็นหลกั ได้ และทรงเห็นว่า ความร้ทู ี่เป็นหลกั สำคัญในทางพระศาสนาคือความรู้พระวินยั ดว้ ย
เหตนุ ้ีในหลกั สตู รของมหามกุฏราชวทิ ยาลัยจึงทรงจัดเอาพระคัมภีรพ์ ระไตรปฎิ กคอื พระวนิ ัย พระสูตร และพระอภิธรรม มา
เปน็ หลักสตู รให้ภิกษสุ ามเณรศึกษาเลา่ เรียน
หลังจากมหามกุฏราชวิทยาลัยต้ังขึ้นได้ ๓ ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนิน
ทอดพระเนตรกิจการของมหามกุฏราชวิทยาลัย และได้เสด็จประทับฟังการประชุมกรรมการสภาของมหามกุฏราชวิทยาลัย
ด้วย พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงแสดงความชนื่ ชมต่อมหามกุฏราชวิทยาลยั เป็นอย่างมาก ดงั พระราชดำรัส
ต่อกรรมการสภาตอนหนึ่งว่า “การท่ีได้จัดข้ึนน้ีมีคณุ ตอ่ พระพุทธศาสนา เป็นพระเกียรตยิ ศแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจา้ อยู่หัว และมปี ระโยชน์แก่ประชมุ ชน ตัง้ แต่พระองค์เองลงไป”
ในระยะ ๒ ปีแรกแห่งการต้ังมหามกฏุ ราชวิทยาลัยนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงรับหนา้ ที่เป็นสภานายกด้วย
พระองค์เอง ตง้ั แตป่ ีท่ี ๓ เป็นต้นไป ทรงให้กรรมการผลดั เปลี่ยนกันเป็นนายกวาระละ ๑ ปี ดำเนินกจิ การของวิทยาลัย สว่ น
พระองคเ์ องนั้นจะทรง “เป็นแตผ่ ้บู ำรงุ ตามหน้าทีเ่ จา้ คณะ” ท้ังนกี้ ็เพื่อจะฝกึ ให้กรรมการทกุ ทา่ นรงู้ าน และสามารถบริหารงาน
ได้ด้วยตนเอง ดังท่ปี รากฏในพระดำรัสตอนหน่งึ ว่า “ใหก้ รรมการผลัดเปลี่ยนกนั เปน็ นายกปกครองกันเอง ส่วนข้าพเจ้าจะเป็น
แต่ผู้บำรุงตามหน้าท่ีเจ้าคณะ ถ้ากรรมการช่วยกันจัดการวิทยาลัยใหเ้ ปน็ ไปตลอดได้ ก็จะเป็นที่หมายใจแน่ว่าถึงไม่มีข้าพเจ้า
แล้ว วทิ ยาลยั กค็ งจะทรงอยู่ได้ ถ้ากรรมการจดั การไม่ตลอดไปได้ขดั ข้องอยู่ดว้ ยข้อใด ข้าพเจ้าจะชว่ ยเปน็ ธุระแกข้ ัดขอ้ งในข้อ
นั้น ตามอำนาจและสตปิ ัญญาของข้าพเจ้าเพอ่ื ใหก้ ารเป็นไปโดยสะดวก อย่างนี้เห็นว่าดีกว่าท่ขี ้าพเจ้าจะเป็นนายกอย่เู สมอไป
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
ค่มู อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๑๗
ซง่ึ ไม่มีตัวลงในเวลาไรแล้วจะหาผู้แทนได้โดยยาก” ฉะน้ัน มหามกุฏราชวิทยาลัยที่ทรงจัดต้ังข้ึนจึงทรงกำหนดให้บริหารใน
รูปแบบกรรมการสภา โดยใหก้ รรมการสภาผลัดเปล่ยี นกนั เป็นสภานายก ดำเนนิ กจิ การของวิทยาลัยวาระละ ๑ ปี มหามกุฏ
ราชวทิ ยาลยั จงึ มีสภานายกมาโดยลำดับ ดังนี้
- สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส สภานายก พระองคท์ ่ี ๑
- พระสาสนโสภณ (อ่อน อหสึ โก) สภานายก รูปที่ ๒
- หมอ่ มเจา้ พระศรสี คุ ตคตั ยานวุ ตั ร (หมอ่ มเจา้ พร้อม ลดาวัลย์) สภานายก รูปที่ ๓
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงวชินวรสริ ิวัฒน์ สมเดจ็ พระสังฆราชเจ้า สภานายก พระองค์ท่ี ๔
ต่อแตน่ ้นั มา สมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ กต็ อ้ งทรงรบั เปน็ สภานายกของมหามกุฏราชวทิ ยาลัยมาโดยตลอด เนอื่ งจาก
ไม่มพี ระเถระรูปใดรับเป็นสภานายก ถึง พ.ศ.๒๔๔๔ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ จึงทรงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต
หยดุ การสอบพระปรยิ ัติธรรมตามหลกั สตู รของมหามกฏุ ราชวิทยาลัย รวมเวลาดำเนนิ การอยู่ ๘ ปี สาเหตทุ ่ีตอ้ งหยดุ การสอบ
แบบมหามกุฏฯ เพราะกรรมการสภาของมหามกุฏราชวิทยาลัยส่วนใหญ่ต้องรับภาระทางการคณะสงฆ์และเปน็ ผ้อู ำนวยการ
ศกึ ษาหวั เมอื ง ออกไปจัดการศกึ ษาในหัวเมืองจนไม่มเี วลาท่จี ะบรหิ ารงานของมหามกฏุ ราชวิทยาลยั
เน่ืองด้วยการจัดต้ังมหามกุฏราชวิทยาลัย สมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ ได้ทรงพระดำรริ ิเริ่มกิจการอ่ืน ๆ ข้ึนอีกด้วย
หลายอย่าง กล่าวคอื
ทรงออกนิตยสารธรรมจักษุ เป็นนิตยสารทางพระพุทธศาสนาฉบับแรกของไทย เพื่อเผยแผ่คำสอนทาง
พระพุทธศาสนาและข่าวสารเก่ียวกับการดำเนินกิจการของมหามกุฏราชวทิ ยาลัย เริม่ ออกฉบับแรกเม่ือวนั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ.
๒๔๓๗ แตไ่ ดห้ ยุดไประยะหน่ึง ถึง พ.ศ.๒๔๗๖ จงึ ได้เริ่มออกอกี ครง้ั หน่งึ และยงั ออกตอ่ เน่ืองมาจนถงึ ทุกวันนี้
ทรงจัดตั้งโรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัยข้นึ เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ เพื่อจัดพิมพ์คัมภีร์และหนังสือทางพระพุทธศาสนา
รวมทั้งตำราท่ีใช้เป็นหลักสูตรเรียนในมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ท่ีทรงตั้งขึ้นนั้น ทรงใชอ้ าคารโรงพิมพ์ท่ีพระบาทสมเด็จพระจอม
เกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงสร้างขึน้ เมื่อครั้งยงั ทรงผนวชอยูแ่ ละทรงครองวดั บวรนิเวศวิหาร เป็นที่ต้ังโรงพิมพ์ แต่โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราช
วทิ ยาลัยทที่ รงต้ังขน้ึ น้ันดำเนินการอยู่เพียง ๘ ปี กเ็ ลกิ ไป เพราะสคู้ า่ ใชจ้ ่ายไมไ่ หว
แตอ่ กี ๓๒ ปตี ่อมา สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ ผ้ทู รงครองวดั บวรนิเวศวิหาร สืบตอ่ จากสมเด็จ
พระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น ได้ทรงฟ้ืนฟูโรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัยขึ้นอีกคร้ังหนึ่ง เม่ือ พ.ศ.๒๔๗๘ และยังคงดำเนิน
กิจการตอ่ มาจนถงึ ทกุ วันนี้
สบื เน่ืองจาก “ทุนนอน” ทส่ี มเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ ทรงพระดำริตง้ั ขนึ้ ไวใ้ นมหามกุฏราชวิทยาลัย เพ่ือนำดอกผล
มาใช้บำรงุ การศึกษาของภิกษุสามเณรและส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาคร้ังกระน้ัน ตอ่ มาไดพ้ ัฒนามาเป็นมูลนิธิมหาม
กุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ โดยได้จดทะเบยี นเป็นมูลนิธิครั้งแรกเมื่อวันท่ี ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๖ นบั เป็นมลู นธิ ิทาง
พระพทุ ธศาสนาแห่งแรกในประเทศไทย และได้พัฒนายั่งยืนมาจวบจนทุกวนั นี้
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ ไดท้ ำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาและคณะสงฆเ์ ป็นอันมาก สมตามพระดำริของ
สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ พระองคน์ น้ั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ไดเ้ ปน็ ผดู้ ำเนินการให้เกิดมีมหาวทิ ยาลัยพุทธศาสนาแห่งแรกขน้ึ ใน
ประเทศไทย
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั หนา้ ๑๘
พระดำรสิ ำคญั อนั เนือ่ งมาจากการต้ังมหามกุฏราชวทิ ยาลัยของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ดงั กลา่ วมาแล้วกค็ อื ทรง
พระดำริท่จี ะจดั ต้ังมหาวทิ ยาลัยพระพุทธศาสนาข้ึนในประเทศไทย ดงั ที่พระพรหมมนุ ี (ผนิ สุวจเถระ) อดีตเจ้าอาวาสวัดบวร
นิเวศวิหาร และอดีตประธานกรรมการสภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย ไดเ้ ล่าไว้ว่า “ทรงกะจะต้ังมหาวิทยาลัยขึ้นบรเิ วณ
ตลาดยอดบางลำพู และจะจัดจ้างชาวต่างประเทศมาร่วมเป็นอาจารย์ด้วย และได้ทรงเริ่มหาชาวต่างประเทศมาสอน
ภาษาอังกฤษในวัดบวรนเิ วศวิหารก่อน แตด่ ำเนนิ ไปได้เพียงช่ัวคราว เนอ่ื งจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ พระองคน์ ั้น ทรงมี
ภารกิจในการบริหารคณะสงฆ์และรจนาแบบเรยี นพระปรยิ ัติธรรมเป็นอันมาก จึงไม่ทนั ไดด้ ำเนินงานจัดตั้งมหาวิทยาลัยพทุ ธ
ศาสนาขนึ้ ไดใ้ นสมัยพระองค์”
แต่อกี ๒๔ ปี หลังจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ พระองค์นั้นสิ้นพระชนม์ พระดำริในการจดั ต้ังมหาวิทยาลัยพุทธ
ศาสนาของพระองค์ก็ได้เป็นจริงข้ึน โดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ นายกกรรมการมูลนิธิมหามกุฏราช
วทิ ยาลัยฯ ได้ทรงประกาศต้ังมหาวทิ ยาลัยพุทธศาสนาขึ้น เม่ือวันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ.๒๔๘๘ เรียกว่า “สภาการศกึ ษามหาม
กุฏราชวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย” ซึ่งปัจจุบนั เรียกว่า “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย”
ตง้ั อย่ใู นวัดบวรนเิ วศวหิ าร นบั เป็นมหาวิทยาลยั พทุ ธศาสนาแห่งแรกของไทย
สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ชอื่ วา่ ทรงเป็นผ้พู ัฒนาการศึกษาทางพระพุทธศาสนาของ
ไทยให้เจรญิ ก้าวหน้าทันสมยั ต่อสถานการณ์ของโลก เปน็ คุณประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติและพระพุทธศาสนาสบื มาจนทุกวนั น้ี
จัดการศึกษาหัวเมอื ง
ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ประเทศไทยนบั วา่ ตกอยู่ทา่ มกลางรอบด้าน บรรดา
ประเทศเพื่อนบ้านโดยรอบลว้ นเพลย่ี งพล้ำตกอยู่ในอำนาจปกครองของมหาอำนาจตะวนั ตกกนั หมดสน้ิ มีเพียงประเทศไทย
เทา่ น้นั ทีย่ งั คงเปน็ อิสระอยู่ท่ามกลางอาณานคิ มของชาวตะวันตก
ด้วยทรงพระราชวติ กถึงอนาคตและอิสรภาพของชาตบิ ้านเมือง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั จงึ ทรง
ดำเนนิ พระราโชบายทุกประการเพอ่ื ปกปอ้ งอธปิ ไตยของชาติ และรกั ษาอิสรภาพของบ้านเมอื งไวใ้ หร้ อดปลอดภัย
ส่วนหนงึ่ พระราโชบายดังกล่าวก็คือการพัฒนาบ้านเมอื งใหเ้ จริญก้าวหนา้ ในทกุ ดา้ น แตพ่ ระองค์ก็ประสบปัญหาอนั
ย่งิ ใหญ่ คือปัญหาเรือ่ งคน ดังทท่ี รงมพี ระราชดำรสั ไวใ้ นพระราชหัตถเลขาฉบับหนึ่งว่า “ในเมืองเราเวลานี้ ไม่ขัดสนอนั ใดยง่ิ
กวา่ คน การเจริญอนั ใดจะเปน็ ไปไมไ่ ด้เร็วก็เพราะเรอื่ งคนนีอ้ ย่างเดยี ว เพราะเหตุขัดสนเช่นนจ้ี งึ ตอ้ งจำใชฝ้ รั่งในทีซ่ ่ึง
คนเรายงั มคี วามรแู้ ละสามารถไม่พอ”
ด้วยเหตดุ ังท่ที รงมพี ระราชดำรสั ไว้ดงั กล่าวข้างตน้ รัฐบาลไทยในสมัยนั้นจึงตอ้ งจ้างชาวตา่ งชาตมิ าชว่ ยราชการใน
ด้านต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เชน่
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๑๙
จ้างกปั ตนั จอหน์ บุช ชาวอังกฤษมาเป็นเจา้ ทา่ ภายหลังได้รบั พระราชทานบรรดาศกั ด์ิเป็น พระยาวิสตู รสาครดฐิ
จ้างกปั ตนั ริเชอรเิ ยอ ชาวเดนมารก์ มาเปน็ ผู้บัญชาการกรมทหารเรอื ภายหลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดเิ์ ปน็
พระยาชลยทุ ธโยธนิ ทร์
จา้ งแฮรธ์ ีโอดอร์ โคลมาน ชาวเยอรมัน มาเปน็ ปลัดบญั ชาการกรมไปรษณยี โ์ ทรเลข
จ้างเอช.สเลค ชาวองั กฤษ มาเปน็ เจ้ากรมป่าไม้คนแรก
จ้างโรลนิ ยัคมินท์ ชาวเบลเย่ียม มาเป็นทป่ี รกึ ษาราชการทวั่ ไป ภายหลงั ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศักดิ์เปน็
เจ้าพระยาอภยั ราชา
จ้างโทคชิ ิ มาซาโอะ ชาวญป่ี นุ่ มาเปน็ ทป่ี รกึ ษากฎหมาย เป็นต้น
แตพ่ ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมไิ ดท้ รงพอพระราชหฤทัยในการทตี่ อ้ งจา้ งชาวต่างชาติมาชว่ ยราชการ
ของไทยเทา่ ใดนกั ดงั จะเห็นได้จากความในพระราชหตั ถเลขาฉบบั หนงึ่ วา่ “แตก่ ารใช้ฝรง่ั น้นั ไม่ใช่เปน็ เรื่องง่ายแลก็รู้ชัดเจน
อยใู่ นใจด้วยกันว่าเขาเป็นคนตา่ งภาษาตา่ งชาติ จะซ่ือตรงจงรักภักดอี ะไรตอ่ เราหนักหนา ก็ชว่ั แต่มาหาทรัพย์กลับไปบ้าน
... บางคนซ่ึงมีอธั ยาศัยดี แลมีความรอู้ ยากจะไดช้ ่ือเสียงทด่ี ี ฤามีความละอาย ฤาอยากจะทำการใหย้ ืดยืนไป เขากท็ ำดีตอ่
เรามาก ๆ อยู่บา้ ง แตอ่ ย่างไร ๆ กต็ อ้ งนบั วา่ เป็นเพอ่ื นกนิ ไมใ่ ช่เพื่อนตาย เกือบจะทัง้ น้ัน”
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงชี้ใหเ้ หน็ ปัญหาของการจา้ งชาวตา่ งชาติมาชว่ ยราชการของไทยว่า
“บางคนไลฝ่ ร่งั ไม่ทัน ฤาไม่เอือ้ เฟื้อที่จะคดิ การใหย้ นื ยาว หวังแตจ่ ะให้พน้ ความลำบากแลจะให้เปน็ การเรียบร้อยอย่างเดยี ว ก็
วามือวาตนี ใหจ้ นฝรงั่ มอี ำนาจเกนิ ไป... เพราะความคดิ ส้นั ๆ เช่นน้ที ำให้เราไดค้ วามเดอื ดร้อนคลงั่ นัก เหตุนก้ี ็เพราะเรอ่ื งไมม่ ี
คนเปน็ ปจั จัย” และทสี่ ดุ ทรงสรปุ ให้เห็นวา่ “รวบยอดสำคญั กเ็ ร่ืองการเลา่ เรยี นของคนไทย”
ในเร่ืองการศึกษาของไทยน้ัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชปรารภกับสมเด็จพระเจ้า
บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ คราวหนึง่ ว่า “การศกึ ษาของเรายงั บกพร่องอยู่เปน็ อันมากฉันใด เธอยอ่ มทราบ
อยู่แล้ว ไมต่ ้องกล่าวถงึ ผู้ซง่ึ มวี ิชาความรู้ ซงึ่ สามารถจะทำการคา้ ขายหรือเป็นช่าง แตค่ นซ่ึงจะหาบรรจุตำแหนง่ ราชการก็
ไมม่ ีที่เลอื กได้”
จากพระบรมราชาธิบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ดังกล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่าปัญหา
สำคัญของการพฒั นาบ้านเมอื งในสมัยนน้ั กค็ อื ขาดแคลนคนท่มี คี วามรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ ทงั้ นี้กเ็ พราะการศึกษาของ
ชาตยิ ังบกพร่องและล้าหลัง ดังพระราชดำรสั ที่วา่ “การในกระทรวงศึกษาทุกวนั นี้การเล่าเรยี นก็เปน็ ข้ันอกั ขรวิธแี ละเลขชั้น
ต่ำ ๆ... กย็ ังหานักเรียนที่จะไลไ่ ด้ให้เตม็ หลักสตู รไม่ใคร่มี” การที่จะพฒั นาคนก็คือตอ้ งพฒั นาการศกึ ษาให้เจริญกา้ วหน้า แต่
ปัญหาด้านการศึกษาของชาติในขณะน้ันก็คือ “ไม่มีตำบลที่จะเรยี น ไม่มีผู้สอนที่จะให้พอกับคนและให้มีความรู้สูงทันกับ
การงาน”
ฉะนั้น หลังจากเสด็จพระราชดำเนินกลับจากเสด็จประพาสยุโรปคร้ังแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ก็ทรงเร่มิ โครงการจัดการศึกษาของชาติทนั ที เพราะทรงเห็นว่าเปน็ ความต้องการรีบดว่ นของชาติ ดัง
พระราชดำรัสว่า “รวบยอดสำคญั ก็เรอื่ งการเลา่ เรียนของไทย” ทรงมีพระราชประสงค์อย่างแรงกลา้ ท่ีจะจดั การศกึ ษาของคน
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
ค่มู ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หนา้ ๒๐
ไทยให้เจริญทั่วถึงตลอดพระราชอาณาจักร เพราะ “การศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับกู้บ้านเมืองในอนาคตสำหรับ
อิสรภาพของเมอื งไทย”
เพ่ือให้พระราชประสงค์สัมฤทธิผลตามพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว จึงโปรดให้บุคคล
ผู้เก่ียวข้องหลายฝ่ายเสนอแนวทางจัดการศกึ ษาของชาติประกอบพระราชดำริ ผู้ที่จัดการทำแผนการจัดการศกึ ษาทูลเกลา้ ฯ
ถวายประกอบพระราชดำริ ในครง้ั นนั้ มี ๔ ท่าน คือ
- เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เสนาบดีกระทรวงธรรมการ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ขณะดำรงพระอิสริยยศ เป็นกรมหมื่น เสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ เปน็ กรมหมืน่
- เจ้าพระยาพระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี (ม.ร.ว.เปยี มาลากลุ ) ขณะเปน็ ทีพ่ ระยาวสิ ุทธสิ ุริยศักด์ิ อคั รราชฑูตประจำราช
สำนกั เซนต์เจมส์ ประเทศองั กฤษ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงมพี ระราชวนิ ิจฉยั แผนการศึกษาของท่านท้งั ๔ วา่
- แผนจัดการศกึ ษาของกระทรวงธรรมการนน้ั เป็นการเอาตำราของฝรงั่ มาแปลเปน็ ภาษาไทย วิธีการเลา่ เรยี นท่เี ขา
สอนคนในประเทศของเขา จะเอามาใชก้ ับคนทอี่ ยใู่ นประเทศอน่ื ได้อย่างไร ทรงเหน็ ว่าไมด่ ีและทำไมไ่ ด้
- แผนการจัดการศึกษาของพระยาวสิ ุทธสิ รุ ยิ ศกั ด์ินนั้ ทรงเห็นวา่ ดแี ตย่ งั ทำไมไ่ ด้
- ส่วนแผนการศึกษาของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ และของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพน้ัน ทรงเห็นว่า
เป็นไปในแนวเดียวกัน คือเอาวัดเป็นโรงเรียน เอาพระสงฆ์เป็นครูสอน และให้กระทรวงมหาดไทยอุดหนุนด้านการจัดพิมพ์
ตำราเรียน
ตามความในแบบจัดการศึกษาหัวเมืองน้ี จะเห็นได้ว่า การจัดการศึกษาหัวเมืองครั้งน้ี แยกออกเป็นอกี แผนกหนึ่ง
ต่างหากจากกรมศึกษาธิการ ไม่ข้นึ กับกรมศกึ ษาธกิ าร การส่ังการทั้งปวงเด็ดขาดอยู่ทส่ี มเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ แต่พระองค์
เดยี ว กระทรวงมหาดไทยมีหนา้ ท่ีเพียงรับสนองงานในด้านการเงินและจดั หาตำราเรยี นเท่านั้น มงุ่ ใชพ้ ระภิกษุสามเณรเป็นครู
สอนและใช้วดั เป็นโรงเรียน กำหนดให้มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัยเป็นสำนักงานกลางของการบริหาร เป็นโรงเรยี นฝกึ หัดครูสำหรับ
ส่งออกไปสอนในโรงเรียนหวั เมอื ง โรงเรยี นสาขาของมหามกฏุ ราชวิทยาลัยเป็นโรงเรยี นแมข่ องโรงเรยี นในหัวเมอื งทั้งปวง และ
ใชห้ ลักสูตรและวิธีการสอบของมหามกุฏฯ เปา้ หมายของการศกึ ษาก็เพือ่ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเขียนได้และมศี ลี ธรรมตามสมควร
แกฐ่ านะ และทรงแต่งตัง้ พระราชาคณะผู้มคี วามสามารถใหเ้ ป็นผู้อำนวยการออกไปสำรวจและจัดการศกึ ษาในมณฑลนั้น ๆ จึง
เห็นได้ชัดว่า ในการจัดการศึกษาหัวเมืองคร้ังน้ี มหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นศูนย์ของการบัญชาการ หรือเป็นหัวใจของการ
ดำเนินงาน โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส สภานายกมหามกฏุ ราชวิทยาลัย เปน็ ผู้สั่งการทง้ั ปวง
เมอ่ื ทรงมีพระราชวินิจฉัยแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงเลอื กแบบการจัดการศึกษาหัวเมืองท่ี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงจัดทำถวาย เหตุผลที่ทรงต้องตัดสินพระราชหฤทัยดังนี้ ก็ด้วย
พระราชดำริวา่ “ในเวลานตี้ ้องการโรงเรียนชน้ั กลางคล้ายกับโรงเรียนกฎหมายซ่ึงได้ต้งั อยู่แล้ว พอหัดคนขน้ึ ใชใ้ ห้ทนั เวลา
แต่โรงเรียนเช่นน้ตี ้องอาศัยใช้คนท่ีมีความรู้ในหนงั สือแลเลขแล้วจงึ จะเข้ามาเรยี นได้คนซง่ึ เรียนช้ันต้นจากพระนั้น จะมี
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มอื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๒๑
โอกาสท่ีจะได้มาเรียนในโรงเรียนช้ันกลางนี้ตอ่ ไป... กระทรวงได้รับคำส่ังอันเราได้ส่ังตั้งแต่แรกคิดต้องการขึ้น ๓ ปีล่ วง
มาแล้ว ยังไมไ่ ดค้ ดิ อันใดขึน้ เลยสกั แตอ่ ยา่ งเดยี ว”
โรงเรียนตามพระราชดำริดังกล่าวน้ีก็คือโรงเรียนหรือการศึกษาขั้นประถมท่ีจะทำให้ราษฎร ได้ศึกษาเล่าเรียนกัน
อยา่ งทั่วถึง ซึ่งทรงเรยี กว่า “โรงเรยี นซีวลิ เซอรวสิ ...เป็นโรงเรยี น อย่างท่ีเปรียบดว้ ยปลูกเรอื นไม้ แล้วจึงค่อยแกไ้ ขไปโดย
ลำดบั ”
เหตุผลท่ีทรงตดั สินพระราชหฤทัยให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นนั้ เป็นผู้จดั การศึกษาหัวเมืองน้ัน ปรากฏใน
พระราชหัตถเลขาถงึ พระยาวิสทุ ธิสุรยิ ศกั ดต์ิ อนหน่ึงวา่ “เจา้ กระทรวง (ธรรมการ) ทุกวันนี้บกพร่องอยดู่ ้วยความสามารถ
เปน็ อันมาก สว่ นการที่จะปลูกทับกระทอ่ มนั้น... ถึงว่าเปน็ แต่โรงเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ก็เป็นการกอ่ สร้างใหญ่ให้เป็นภาคพื้นไว้
คอื ไดจ้ ัดการกับพระเอากรมหมน่ื วชิรญาณเปน็ ประธาน จดั วัดเป็นโรงเรยี นทัว่ พระราชอาณาเขตยกแต่เมืองมะลายู หวัง
ใจวา่ จะเป็นการสำเรจ็ ได้ โดยอาศยั ประเพณีโบราณและความนิยมของไทย โรงเรียนคงจะเกดิ ข้ึนไดป้ ลี ะหลาย ๆ รอ้ ย โดย
ไม่สตู้ ้องเสยี อะไรมาก”
ครั้นวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๔๑ (ร.ศ.๑๑๗) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงประกาศ
พระราชดำรใิ นการจัดการศึกษา
ประกาศ
พระราชดำรใิ นการจดั การศึกษา
มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศใหท้ ราบทว่ั กันว่า
ทรงพระราชดำริว่า การเลา่ เรียนของชนชาวสยาม ซึ่งเล่าเรียนอย่บู ัดนี้ยังไม่เปน็ การแพร่หลายท่ัวไปในหัวเมอื ง
ตลอดพระราชอาณาจักร วิชาความรู้จึงยงั ไม่เป็นการรุง่ เรือง ได้มีพระราชประสงค์ทจ่ี ะให้การเล่าเรยี นเจริญรุง่ เรืองและ
แพร่หลายท่วั ไปในพระราชอาณาจกั รสยามเพือ่ ให้กุลบุตรไดม้ โี อกาสทีจ่ ะศกึ ษาวิชาใสต่ น ให้เปน็ ทางเล้ียงชีพแลเปน็ ทางท่ี
จะประพฤตคิ วามดคี วามชอบให้ย่งิ ข้นึ สมกบั สมยั ที่บ้านเมอื งมคี วามเจรญิ ข้นึ แตก่ ่อนมา ผู้ท่ีมบี ตุ รหลานย่อมนำไปฝากไว้
กบั พระสงฆ์ตามพระอารามให้พระสงฆ์เป็นอาจารย์ส่ังสอนวิชาแลทางประพฤตดิ ี แลยังมีสืบมาจนกาลบัดน้ี แต่การเล่า
เรียนที่เป็นอยู่นน้ั ยังไม่เป็นการเจริญดีสมกับสมัย เพราะเหตุวา่ ยังไม่มีแบบแผน แลตำรับตำราท่ีจะส่ังสอนตามความ
ต้องการอย่างไร เป็นแตส่ อนกนั ไปตามความรขู้ องพระสงฆ์ผูเ้ ป็นอาจารย์ กุลบตุ รท่ีศกึ ษาก็ย่อมจะไดร้ ับวชิ าไม่เสมอกัน
ทรงพระราชดำรเิ ห็นว่าพระอารามทั้งปวง ย่อมเป็นสถานที่เลา่ เรียนศึกษาอยู่แต่เดิมแล้ว สมควรที่จะจัดการทำนุบำรุงให้
เป็นการเจริญ แลมั่นคงยิ่งข้ึน จึงได้ทรงอาราธนาพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ให้ทรงเป็นพระธุระท่ีจะ
จดั การเล่าเรยี นในวดั ตามหัวเมือง ตลอดพระราชอาณาเขต ท่ัวไปทุกพระอาราม ให้พระสงฆ์เจ้าอาวาสในวัดนนั้ ๆ ฟัง
บงั คับบัญชา พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ในการท่ีจะทรงบังคับให้จัดการอย่างหน่ึงอย่างใด ทุกสง่ิ ทุก
ประการ แลทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมน่ื ดำรงราชานุภาพ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย เป็น
ผู้ทำนุบำรุงอุดหนุนให้การดำเนินไปโดยสะดวก เพ่ือให้การเล่าเรยี นในหัวเมืองเจริญรงุ่ เรือง แผ่ไพศาลไปตลอดท่วั พระ
ราชอาณาเขต
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
ค่มู อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หนา้ ๒๒
ประกาศมา ณ วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน รัตนโกสินทรศก ๑๑๗ เป็นวนั ที่ ๑๐๙๕๘ ในรชั กาลปัตยุบนั น.ี้
ประกาศจดั การเลา่ เรยี นในหวั เมอื ง
มพี ระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาจุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ผู้ทรงพระ
คุณธรรมอันมหาประเสริฐ ให้ประกาศเผดียงแก่พระภิกษุสงฆ์ทราบทั่วกนั ว่า ทรงรำพึงโดยพระราชจริยานุวตั ิ จะทำนุ
บำรุงความเจรญิ รุ่งเรืองให้เกิดทว่ั ไป ตลอดพระราชอาณาจักร เพื่อให้สมณะ พราหมณาจารย์ แลอาณาประชาราษฎร
ท้ังหลายมีความสุขสำราญยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน ทรงพระราชดำริเห็นว่า ความเจริญของคนท้ังหลายย่อมเกิดแต่ความ
ประพฤติชอบแลการเลี้ยงชีวิตชอบเป็นที่ต้ัง คนท้ังหลายจะประพฤติชอบแลจะหาเลี้ยงชีวิตโดยชอบน้ันเล่า กย็ ่อมเอา
ไศรยการไดส้ ดับฟังโอวาทคำส่ังสอนที่ชอบ แลการที่ไดศ้ ึกษาวชิ าความรใู้ นทางทจ่ี ะให้บังเกดิ ประโยชนม์ าแตย่ อ่ มเยาว์ แล
ฝกึ ซ้อมสนั ดานใหน้ ้อมในทางสัมมาปฏิบัติ แลเจรญิ ปญั ญาสามารถในกจิ การตา่ ง ๆ อนั เปน็ เคร่อื งประกอบการหาเลย้ี งชีพ
เมอ่ื เตบิ ใหญ่ จึงชอ่ื ว่าได้เข้าสทู่ างความเจรญิ เป็นความจรงิ ดงั นี้
ก็แล ประชาชนในสยามราชอาณาจักรน้ี ย่อมเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนาโดยมาก พุทธศาสนิกชนในพระ
ราชอาณาจักร ย่อมได้สดับตรับฟังพระสัทธรรม ซ่ึงสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า บัญญัติสอนไว้เป็นวิธีทาง
สัมมาปฏิบัติ จากพระภกิ ษุสงฆ์ซง่ึ มอี ย่ใู นสงั ฆารามทั่วพระราชอาณาจักร แลได้ฝากบุตรหลานเปน็ ศิษยเ์ พ่อื ใหร้ ่ำเรียนพระ
บรมพทุ โธวาท แลวิชาซึ่งจะให้บังเกิดประโยชน์ กล่าวคือวิชาหนังสือเป็นตน้ ในสำนักพระภิกษุสงฆ์เปน็ ประเพณีมสี ืบมา
แตโ่ บราณกาลจนบัดนี้ นับว่าพระภิกษสุ งฆ์ทง้ั หลายได้กระทำประโยชน์แกพ่ ระพุทธจักร แลพระราชอาณาจักรท้ังสองฝา่ ย
เป็นอันมาก
เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ทรงพระราชปรารภ ถึงการท่ีจะทำนุบำรงุ ประชาชนท้ังหลายใหต้ ง้ั อย่ใู นสมั มา
ปฏิบัติ แลให้เอ้อื เฟื้อในการทีจ่ ะศึกษาวิชาอันเปน็ ประโยชน์ เพ่ือจะให้ถึงความเจริญย่ิงขึน้ โดยลำดับ จึงทรงพระราชดำริ
เห็นว่า ไม่มีทางอย่างอ่ืนจะประเสริฐย่ิงกว่าจะเกื้อกูลพระภิกษุสงฆ์ท้ังหลาย โดยพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ ให้มี
กำลังสัง่ สอนธรรมปฏบิ ัติ แลวิชาความรู้แกพ่ ุทธศาสนิกชนบรบิ ูรณ์ย่งิ ข้ึนกว่าแต่กอ่ น บัดนกี้ ารฝึกสอนในกรงุ เทพฯ เจริญ
แพร่หลายมากขึน้ แล้ว สมควรจะจัดการฝึกสอนในหวั เมืองให้เจริญขึ้นตามกัน เพราะฉะนั้น จึงไดม้ ีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา้ ฯ ให้จัดการตีพิมพ์หนังสือเรียนแบบหลวงทั้งในส่วนท่ีจะสอนธรรมปฏิบัติ แลวิชาความรู้อย่างอ่ืนขึ้นเป็นอัน
มาก เพ่ือจะพระราชทานแก่พระภกิ ษุสงฆ์ท้ังหลายไวส้ ำหรับฝึกสอนกุลบุตรให้ทัว่ ไป แลทรงอาราธนาพระเจ้าน้องยาเธอ
กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ที่สมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญใ่ ห้ทรงรับภาระอำนวยการ ให้พระภิกษุสงฆส์ งั่ สอนกลุ บุตร
ให้ต้ังอยู่ในธรรมปฏบิ ัติแลมวี ิชาความรู้ โปรดให้บังคับการพระอารามในหัวเมืองซ่ึงเป็นส่วนการพระศาสนาแลการศึกษา
ได้ท้ังในหัวเมอื งมณฑลกรุงเทพฯ ทั้งในมณฑลหัวเมืองตลอดพระราชอาณาจักร โปรดเกลา้ ฯ ให้พระเจา้ น้องยาเธอ กรม
หม่ืนดำรงราชานุภาพ เป็นเจ้าหน้าที่จัดการอนุกูลในกิจที่ฝ่ายฆราวาสจะพึงทำ จัดการพิมพ์แบบเรียนต่าง ๆ ท่ีจะ
พระราชทานแก่พระภิกษุสงฆ์ไปฝกึ สอนเป็นต้น ตลอดจนการท่ีจะเบิกพระราชทรัพย์ จากพระคลังไปจ่ายในการท่ีจะจัด
ตามพระบรมราชประสงค์นี้ แลโปรดเกลา้ ฯ ให้ยกโรงเรียนพุทธศาสนิกชนในหัวเมอื งทัง้ ปวงมารวมขน้ึ อยู่ในพระเจา้ นอ้ ง
ยาเธอ กรมหมืน่ วชริ ญาณวโรรส เพ่อื จะไดเ้ ปน็ หมวดเดียวกัน
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หนา้ ๒๓
ขอพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลาย จงเห็นแก่พระพุทธศาสนาแลประชาชนทั้งปวง ช่วยเอาภารธุระส่ังสอนกุลบุตร
ทั้งหลาย ให้ได้ศรทั ธาเลอื่ มใสในพระรตั นตรัย แลมีวิชาความรู้อนั เป็นสารประโยชน์ย่ิงขึ้น ให้สมดงั พระบรมราชประสงค์
ซง่ึ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศอาราธนามานี้ จงทุกประการเทอญ
ประกาศมา ณ วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน รตั นโกสนิ ทรศก ๑๑๗ เป็นวนั ที่ ๑๐๙๕๘ ในรัชกาลปัตยุบนั นี้
แบบจัดการศึกษาหัวเมอื งท่ีทรงพระดำริขนึ้ ในครงั้ น้นั มสี าระสำคญั คือ
๑. เลอื กพระสงฆ์ผู้สามารถ เปน็ ผู้อำนวยการศึกษามณฑลละ ๑ รูป
๒. กระทรวงมหาดไทย ขา้ หลวงเทศาภิบาล และผชู้ ว่ ยราชการเมือง มีหนา้ ทีอ่ ดุ หนุนในการฝา่ ยฆราวาส
๓. จัดวดั ทง้ั ปวงเปน็ สถานศึกษาหรือโรงเรียน
๔. หลักสตู รทีจ่ ะสอน ซง่ึ ในเบ้ืองต้นมีแต่ชัน้ สามัญ ประกอบด้วยอกั ขรสมยั เลข วิชาเครือ่ งเลยี้ งชพี และธรรมปฏิบตั ิ
๕. จัดพระสงฆ์สามเณรเป็นครสู อน
๖. แบบเรยี น พมิ พ์พระราชทานให้เปลา่ เปน็ ระยะแรก ตอ่ ไปจงึ จำหนา่ ย
๗. ใหโ้ รงเรียนของมหามกฏุ ราชวิทยาลยั เป็นสถานฝกึ หัดครูท่จี ะออกไปสอนในหัวเมือง
๘. มกี ารสอบความรูใ้ ห้หัวเมอื งน้นั ๆ ปลี ะ ๒ ครงั้
๙. มกี ารประชุมนักเรียนไหวพ้ ระสวดมนต์และฟังคำสอนพระพุทธศาสนาทกุ วันพระ
๑๐. ใหม้ หามกุฏราชวิทยาลัยเปน็ ทีว่ ่าการการจดั การศกึ ษาหัวเมอื ง
๑๑. คา่ ใช้จา่ ย สุดแต่จะทรงบรจิ าคพระราชทาน
ในช่วงแรกสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าฯ ได้ทรงเลือกพระเถรานุเถระ ซ่ึงส่วนใหญ่เปน็ กรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย
รวม ๙ รูป เป็นผ้อู ำนวยการศกึ ษามณฑลตา่ ง ๆ ๑๐ มณฑล ดังน้ี
๑. พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ขณะเป็นที่ พระธรรมไตรโลกาจารย์ เป็น
ผอู้ ำนวยการศกึ ษามณฑลกรุงเทพฯ
๒. พระธรรมราชานุวตั ร (แสง พุทฺธทตฺโต) วัดนิเวศธรรมประวัติ ขณะเป็นที่ พระเทพกวี เป็นผู้อำนวยการศึกษา
มณฑลกรุงเกา่
๓. พระราชเมธี (ท้วม กณฺณวโร) วัดพิชัยญาติการาม ขณะเป็นที่ พระเมธาธรรมรส เป็นผู้อำนวยการศกึ ษามณฑล
นครสวรรค์
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๒๔
๔. พระธรรมปาโมกข์ (ถม วราสโย) วัดมกุฏกษัตริยาราม ขณะเป็นท่ี พระราชกวี เป็นผอู้ ำนวยการศึกษามณฑล
พษิ ณโุ ลก
๕. สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (เจรญิ ญาณวโร) วัดเทพศิรนิ ทราวาส ขณะเป็นที่ พระอมราภิรกั ขิต เป็นผอู้ ำนวยการ
ศึกษามณฑลปราจีนบุรี
๖. สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ช่นื สุจติ ฺโต) วัดบวรนิเวศวหิ าร ขณะเป็นท่ี พระสคุ ุณคณา
ภรณ์ เป็นผ้อู ำนวยการศึกษามณฑลจันทบรุ ี
๗. พระราชมุนี (ชม สสุ มาจาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร ขณะเปน็ ที่ พระอมรโมลี เป็นผูอ้ ำนวยการศึกษามณฑลนครไชย
ศรีและมณฑลราชบรุ ี
๘. พระศาสนดิลก (คำ พรหมกสกิ ร) วดั บวรนิเวศวิหาร เป็นผูอ้ ำนวยการศกึ ษามณฑลชมุ พร
๙. พระมหานุนายก (ดี) วัดบวรนิเวศวหิ าร เปน็ ผู้อำนวยการศกึ ษามณฑลภูเก็ต
และในปีตอ่ มา (พ.ศ.๒๔๔๒) ทรงเลือกพระเถระเพมิ่ อีก ๔ รปู เปน็ ผอู้ ำนวยการศึกษาในอีก ๔ มณฑล คอื
๑๐. พระธรรมเจดีย์ (แก้ว) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ขณะเป็นท่ี พระราชกวี เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑล
นครราชสีมา มีสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขม้ ธมฺมสโร) ขณะเปน็ ที่ พระอมรเมธาจารย์ เปน็ ผชู้ ่วย
๑๑. พระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช) วัดท่าโพธ์ิ นครศรีธรรมราช ขณะเป็นที่ พระศิริธรรมมุนี เป็นผู้อำนวยการ
ศึกษามณฑลนครศรีธรรมราช
๑๒. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) วัดบรมนิวาส ขณะเปน็ ที่ พระญาณรักขิต เป็นผู้อำนวยการศึกษา
มณฑลอีสาน
๑๓. พระอุดรคณารักษ์ (ชมุ่ ) วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม เป็นผอู้ ำนวยการศกึ ษามณฑลบรู พา
รวมเป็นผอู้ ำนวยการศึกษา ๑๓ รูป ใน ๑๔ มณฑล สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าพระองค์น้ันไดท้ รงนำพระเถรานุเถระผู้
ไดร้ ับแต่งตัง้ เป็นผู้อำนวยการมณฑลต่าง ๆ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อถวายพระพรลาออกไปจัด
การศกึ ษาในหวั เมอื งต่าง ๆ ทัว่ พระราชอาณาจักรเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๔๑ (ร.ศ.๑๑๗)
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมอื่ ทรงอำนวยการจัดการศกึ ษาหัวเมืองทวั่ พระราชอาณาจักร
เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๑ ทรงดำรงพระอิสรยิ ยศเป็นกรมหมื่น และทรงดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่คณะ
ธรรมยุต พระชนมายุ ๓๘ พรรษา ผู้อำนวยการศึกษาชุดแรก ๙ รูป ได้เร่ิมออกไปสำรวจสภาพท้องถิ่นและจัดต้ังโรงเรียนใน
มณฑลตา่ ง ๆ เมอื่ เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๔๑
การจดั การศึกษาหวั เมอื งครงั้ นี้ นับว่าเป็นภารกิจท่ีใหญห่ ลวง เพราะเปน็ สิ่งที่ไมเ่ คยมใี ครทำมาก่อน ท้งั ไม่มแี บบแผน
วา่ จะทำอยา่ งไร สมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองคน์ ั้น จะตอ้ งทรงพระดำริการทงั้ ปวงข้ึนมาดว้ ยพระองค์เอง แม้พระองค์เองก็
หนักพระทัยไม่นอ้ ย ดังทท่ี รงทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ในลายพระหตั ถ์ฉบับหน่ึงวา่ “อาตมภาพกบั พระผู้
เป็นศิษยแ์ ละสหายยังมีความเตม็ ใจจะรบั ฉลองพระเดชพระคณุ ในการนโ้ี ดยเต็มกำลงั แตก่ ารนใี้ หญ่มาก ยังไม่เคยทำถึงเพียงนี้
เลย ขอพระบารมีอุดหนนุ โดยทางตรงบ้างโดยทางออ้ มบ้าง เพื่อใหก้ ารน้ีสำเร็จตลอดไปให้สมพระบรมราชประสงค์”
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๒๕
แต่จะเห็นได้ว่า สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นได้ทรงนำเอาประสบการณ์ในการดำเนินกิจการของมหามกุฏ
ราชวิทยาลัยที่พระองค์ทรงพระดำริจัดตั้งขึ้นเม่ือ ๕ ปีก่อนหน้าน้ี มาช่วยในการจัดการศึกษาหัวเมืองได้เป็นอย่างมาก ดังจะ
เห็นได้ในแบบจัดการศึกษาหัวเมืองของพระองค์ว่า ทรงใช้มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นที่การการจัดการศึกษาหัวเมือง ทรงใช้
โรงเรยี นของมหามกฏุ ราชวิทยาลัยเปน็ ทฝ่ี ึกหัดครูทจี่ ะออกไปสอนในหัวเมือง ทรงนำหลักสูตรสำหรับโรงเรียนหนงั สอื ไทยใน
มหามกุฏราชวทิ ยาลยั นน่ั เองไปใช้กบั โรงเรียนในหวั เมือง แม้แบบใบประกาศนยี บตั รสำหรบั นักเรยี นในโรงเรียนในหัวเมอื งกใ็ ช้
ตามแบบประกาศนียบัตรของมหามกุฏราชวิทยาลัย และท่ีสุดผู้อำนวยการศึกษามณฑลต่าง ๆ กว่าครึง่ ก็คือกรรมการของ
มหามกุฏราชวิทยาลยั จึงกล่าวได้ว่า มหามกุฏราชวิทยาลัยไดม้ ีสว่ นช่วยให้การจัดการศึกษาหัวเมอื งประสบความสำเร็จตาม
เปา้ หมายเปน็ อย่างมาก
แม้ว่าจะทรงมีความหนักพระทัยกับภารกิจจัดการศึกษาหัวเมืองดังพระปรารภดังกล่าวข้างต้น แต่ด้วยพ ระ
อจั ฉริยภาพและพระวิริยะอตุ สาหะที่จะสนองความต้องการรบี ดว่ นของบา้ นเมือง สมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นพรอ้ ม
ดว้ ยพระเถระผูอ้ ำนวยการศกึ ษาทั้งปวง กส็ ามารถดำเนินการจดั การศกึ ษาหัวเมืองให้ลุล่วงไปดว้ ยดี
ในปีแรกของการออกไปจดั การศกึ ษาในหวั เมอื งต่าง ๆ ของผู้อำนวยการศกึ ษา ปรากฏวา่ ผู้อำนวยการศกึ ษาสามารถ
จดั ตง้ั โรงเรียนข้ึนตามวัดต่าง ๆ ได้ถึง ๒๑๔ แหง่ ในปีที่ ๒ ของการจัดการศกึ ษา ผู้อำนวยการศึกษาสามารถจัดตั้งโรงเรียนขึ้น
ไดอ้ ีก ๑๓๕ แห่ง นับวา่ การดำเนินงานของผอู้ ำนวยการศึกษาประสบความสำเรจ็ สมพระราชประสงค์ ตามที่ทรงคาดหวงั ไว้ว่า
“หวงั ใจว่าจะเป็นการสำเร็จได้...โรงเรียนคงจะเกดิ ข้นึ ได้ปลี ะหลาย ๆ ร้อยโดยไม่ส้ตู อ้ งเสยี อะไรมาก”
ในการจัดการศึกษาหัวเมืองทั่วพระราชอาณาจักรครั้งน้ัน รัฐบาลเสียค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อย เพราะเป็นการ
ดำเนินงานในลักษณะใชข้ องท่ีมอี ย่ใู ห้เป็นประโยชน์สูงสุดนั้นคือ ใช้วดั เป็นโรงเรยี น ใช้พระเป็นครู ชกั ชวนให้ชาวบ้านช่วยกัน
สรา้ งโรงเรียนและบรจิ าคอุดหนุนครผู สู้ อนในโรงเรยี นน้นั ๆ
ปรากฏว่า ในปแี รกของการจัดการศึกษาหัวเมืองทัว่ พระราชอาณาจักรรัฐบาลเสียคา่ ใช้จา่ ยรวม ๓,๕๖๐ บาท ๑๖
อฐั ในปที ี่ ๒ รัฐบาลเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย ๓๓,๓๓๓ บาท ๔๘ อฐั ผู้อำนวยการศกึ ษาได้รับคา่ ใช้จ่ายแบบเหมาจา่ ยทัง้ ปี รูปละ ๑,๒๐๐
บาท
โรงเรียนทจ่ี ดั ตัง้ ขึ้นตามแบบการจัดการศกึ ษาหวั เมืองในครง้ั น้ัน แบง่ เปน็ ๓ ประเภท คือ
- โรงเรียนเมือง ไดแ้ ก่ โรงเรียนประจำเมือง มเี มืองละแห่ง
- โรงเรยี นแขวง ได้แก่ โรงเรียนประจำแขวง (คือตำบล) มีแขวงละแห่ง
- โรงเรยี นเชลยศกั ดิ์ คอื โรงเรียนเอกชนตัง้ ขนึ้ เองตามความต้องการ
วิชาความรู้ที่กำหนดให้สอนในโรงเรียนท่ีจดั ตงั้ ขึน้ ในหัวเมืองครง้ั นั้นไมไ่ ดส้ อนเฉพาะวิชาหนงั สือ แต่สอนวิชาเครือ่ ง
เลี้ยงชีพ หรือวิชาชพี และธรรมปฏิบัติดว้ ย เพราะสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นไดท้ รงให้ความหมายของคำวา่ “ศกึ ษา”
ไวว้ ่า “การเรียนหนังสือน้ันไม่ใชต่ ัวศึกษา เปน็ แต่เอกเทศของศกึ ษา การฝกึ หัดใหม้ คี วามคดิ สามารถประกอบกจิ นน้ั ๆ ได้ นั่น
แลเป็นตัวศึกษาโดยตรง แยกออกไปเป็น ๒ ประเภท คือ พาหุสัจจะ ได้แก่ วิชาความรู้ และศิลปะ ไ ด้แก่ การงานท่ี
ประกอบด้วยมือ สงเคราะห์หัตถโกษล คือ การช่าง กสิกรรมคือการเพาะปลูก พานิชกรรมคือการค้าขาย ถึงลูกชาวบ้านที่
สำเหนยี กในการทำกนิ ตามตระกูล ก็ไดช้ ่อื ว่าศกึ ษาเหมือนกนั ”
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
ค่มู ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๒๖
ส่วนธรรมปฏบิ ัตินน้ั เป็นพระราชประสงค์สำคญั ประการหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ในการ
จัดการศึกษาของชาติ ดังที่ทรงมีพระราชปรารภกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น ในพระราชหัตถเลขาฉบับหน่ึงว่า
“เรื่องการศกึ ษานี้ ขอให้ทรงชว่ ยคิดให้มาก ๆ จนถึงรากเหง้าของการศกึ ษาในเมืองไทย อยา่ ตดั ชอ่ งนอ้ ยไปแตก่ ารข้างวัด อีก
ประการหน่งึ การสอนศาสนาในโรงเรียน ท้งั ในกรงุ และหัวเมอื งจะตอ้ งใหม้ ีข้ึน ใหว้ ติ กไปวา่ เดก็ ชั้นหลังจะห่างเหินศาสนา...คนที่
ไม่มธี รรมเปน็ เครอ่ื งดำเนนิ ตาม คงจะหันไปหาทางทุจริตโดยมาก ถ้ารู้นอ้ ยก็โกงไมค่ ่อยคล่องหรือโกงไม่สนิท ถ้ารมู้ ากกโ็ กงมาก
ขนึ้ และโกงพิสดารมากขนึ้ การท่ีหัดใหร้ ู้อ่านอักขรวธิ ี ไม่เป็นเครื่องหัดให้คนดีและคนช่วั เป็นแตไ่ ด้วิธีทสี่ ำหรบั จะเรียนความดี
ความชวั่ ได้คลอ่ งข้นึ ”
ตามแนวพระดำรแิ ละพระราชปรารภดังกล่าวขา้ งต้น ย่อมเห็นได้ว่าการจดั การศึกษาหัวเมืองในคร้งั นนั้ ไม่เพียงแต่
ตอ้ งการขยายการศกึ ษาของราษฎรให้แพร่หลายไปสู่ราษฎรให้ท่ัวทุกท้องถิ่นเท่าน้นั แต่ยังม่งุ ทำให้ราษฎรเข้าถึง “รากเหง้า
ของการศึกษาของไทย” นน่ั คือการศกึ ษาทอี่ ิงอยกู่ ับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเปน็ ประเพณีและความนยิ มของไทยทมี่ มี าแตโ่ บราณ
ฉะนนั้ โครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาหัวเมืองทจ่ี ัดขึ้นในครั้งนั้นจึงประกอบด้วยเนื้อหา ๓ ส่วน คือ วิชาความรู้ วิชาเครื่อง
เล้ยี งชพี และวชิ าธรรมปฏิบัติ
ดว้ ยเหตนุ ี้ จงึ เปน็ ท่ีคุ้นตาของคนไทยมาแต่โบราณวา่ วดั เป็นทีร่ วมไว้ซงึ่ สรรพวิชาการ เชน่ วิชาหนังสอื วิชาเลข วชิ า
ช่าง วิชาชีพ รวมไปถึงวิชาหมอ วชิ ายา โดยมีพระเป็นท้ังครฝู กึ และครสู อน
ผลอีกประการหนึ่งจากการจัดการศกึ ษาหัวเมืองกค็ อื สมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองคน์ ้ันได้ทรงพบวา่ การคณะสงฆ์
ยงั มีข้อบกพรอ่ งอย่เู ป็นอันมาก และเป็นอุปสรรคอยา่ งหนงึ่ ตอ่ การจัดการศกึ ษาให้เจริญ เพราะการศกึ ษาเก่ียวเน่อื งอยู่กบั การ
คณะสงฆ์ แต่ผู้อำนวยการศกึ ษาไม่มอี ำนาจจดั การคณะสงฆจ์ งึ ทำให้การจัดการศึกษาดำเนนิ ไปไมส่ ะดวก เพราะ “การศกึ ษาจะ
เจริญไปไม่ได้ก่อน กว่าจะจัดการปกครองให้เรยี บรอ้ ยเสยี ก่อน” เพราะฉะน้นั สมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นจึงได้ถวาย
คำแนะนำแด่พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ว่าควรจะได้จัดการคณะสงฆใ์ ห้เรยี บร้อยไปพรอ้ ม ๆ กบั จัดการศึกษา
แก่ราษฎร
ด้วยเหตุน้ี จึงได้เกดิ มพี ระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑ ขึ้นเปน็ พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ฉบับ
แรกของไทย เมอ่ื มพี ระราชบญั ญตั ลิ ักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้นแล้ว พระเถระผูอ้ ำนวยการศึกษามณฑลตา่ ง ๆ กไ็ ดร้ บั การ
แตง่ ต้ังเป็นเจ้าคณะมณฑล มหี นา้ ทว่ี า่ การทั้งด้านการปกครองคณะสงฆแ์ ละจัดการศกึ ษา หนา้ ทใี่ นการอำนวยการจดั การศึกษา
หวั เมอื งของสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส จึงเป็นอันสิ้นสุดลงตามพระราชบญั ญตั ินี้
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงอำนวยการจัดการศึกษาหัวเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๑๗ ถึง
พ.ศ.๒๔๒๑ รวมเวลา ๕ ปี ทรงดำเนินการใหเ้ กิดโรงเรยี นข้นึ ตามวัดต่าง ๆ ทัว่ พระราชอาณาจักร ยังผลให้กลุ บตุ รไทยไดศ้ ึกษา
เลา่ เรียนในระดับประถมศกึ ษา ซึ่งคร้งั นัน้ จดั เป็น ๓ ชน้ั คอื ชั้นตำ่ ชั้นกลาง และชนั้ สงู ตามหลกั สูตรของมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
แพรห่ ลายไปทั่วประเทศเป็นคร้งั แรก เปน็ การเตรียมคนในชั้นต้น เพื่อท่ีจะไดเ้ ขา้ ศึกษาในโรงเรียนชัน้ กลางตอ่ ไป แมส้ มเด็จพระ
มหาสมณเจ้าพระองค์น้ัน จะทรงเห็นว่าการศึกษาหัวเมอื งท่ีพระองค์ทรงอำนวยการจัดขึ้นนั้น “กเ็ ป็นแต่ผู้อำนวยการจัดข้ึน
อย่างวัด ๆ” แต่การศึกษาท่ีพระองค์ทรงจัดขึ้นน้ัน คือ การวางรากฐานการศึกษาระดับประถมศึกษาของชาติเป็นครั้งแรก
กล่าวได้ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส คอื ผทู้ รงวางรากฐานการประถมศึกษาของไทย
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๒๗
ดร.สุกจิ นิมมานเหมินทร์ อดตี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวไว้ว่า การศึกษาในหัวเมืองต่าง ๆ นั้น
หากสมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ ไม่ได้เขา้ มาช่วยคนอื่นคงทำไมส่ ำเร็จ เหตทุ ี่พระองค์ทำไดง้ า่ ยก็เพราะมีวัดวาอารามอยทู่ ั่วพระ
ราชอาณาจักร เรื่องวัดช่วยการศึกษาของชาตินี้ คนส่วนมากมักจะมองข้ามไปเสีย เพราะเห็นว่าเรือ่ งของพระก็ของพระ เรื่อง
ของวัดก็ของวัดไม่ได้คิดว่าวัดกับการศกึ ษาของไทยน้ัน เป็นของค่กู ันมาแต่โบราณ
สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงส่งมอบการศึกษาหัวเมืองแกก่ ระทรวงธรรมการ ด้วยลาย
พระหัตถ์ ลงวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ร.ศ.๑๒๑ (พ.ศ.๒๔๔๕) ถึงพระยาวุฒิการบดีว่า “บัดนี้สิ้นหน้าที่ ของฉันในการคณะและ
การศึกษาหวั เมืองแล้ว ฉันขอส่งหนา้ ทกี่ ารศึกษาในหัวเมืองแก่เจา้ คุณ”
คณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั
บณั ฑติ วทิ ยาลัย
ข้อมูลพ้นื ฐาน
ปรชั ญา (Philosophy)
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มอื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หน้า ๒๘
“สง่ เสริม ศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั เพ่ือองค์ความรู้ คู่คุณธรรม” Encouragement of education,
leaning and research for gaining knowledge and characters Commitment of Graduate School
ปณธิ าน (Aspiration)
ใหโ้ อกาสศึกษา ค้นคว้า วิจยั ใช้คุณธรรมนำวชิ าการ
Giving educational opportunity, leaning and research with integrated academic
knowledge and characters.
วสิ ัยทศั น์ (Vision Statements)
๑. เป็นสถาบนั การศกึ ษาทมี่ ีความเป็นเลศิ ทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาในระดับนานาชาติ
๒. เปน็ สถาบันการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของมวลชนที่ผลิตบัณฑิตตามแนวพระพทุ ธศาสนาและบุคลากร
ดา้ นตา่ ง ๆ ทมี่ ีความร้คู วามสามารถ มีศลี ธรรมในการดำรงชีวติ แบบพทุ ธ
๓. เป็นศูนย์กลางแหง่ ภูมปิ ญั ญาตามแนวพระพุทธศาสนาของโลกท่สี ามารถชนี้ ำและยุติความขัดแย้ง
ในสังคมโดยใช้หลักพุทธธรรม
๔. เปน็ สถาบันที่เนน้ ทำวจิ ัยพฒั นาตามกรอบแหง่ ศลี ธรรม สง่ เสริมงานวจิ ยั เชงิ ลึกด้านพระพทุ ธศาสนา
และนำผลการวิจัยไปพฒั นาสงั คมและคณะสงฆ์ ทง้ั ในระดับชาติและนานาชาติ
พนั ธกจิ (Mission Statements)
๑. ผลิตบัณฑิตทางด้านพระพุทธศาสนา ให้มีคุณสมบัติตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย และกระจาย
โอกาสใหพ้ ระภิกษสุ ามเณร คฤหสั ถ์ และผ้สู นใจมีโอกาสศกึ ษามากขึ้น
๒. ให้บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่สังคม ชุมชน และท้องถิ่น โดยเฉพาะวิชาการทาง
พระพุทธศาสนา เพือ่ ม่งุ เนน้ การเผยแผพ่ ุทธธรรม การแก้ปญั หาสังคม การนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันให้
เกดิ สนั ติสุข การช้นี ำสงั คมในทางสร้างสรรค์ และการยุติขอ้ ขัดแย้งด้วยหลักวิชาการพระพทุ ธศาสนา
๓. วิจัยและพัฒนางานวิชาการเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนา เพ่ือสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิชาการ
พระพุทธศาสนาใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกบั สภาพเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ และเผยแผอ่ งคค์ วามร้ใู นระบบ
เครือขา่ ยการเรียนรู้ทที่ ันสมยั
๔. รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งค้นคว้า
ทำนุบำรุงรักษาภูมิปัญญาไทยและท้องถ่ิน รวมท้ังสร้างชุมชนท่ีเข้มแข็งเพ่ือให้มีภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมท่ีไม่
เหมาะสม
วตั ถปุ ระสงค์ (Objectives)
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
ค่มู ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั หน้า ๒๙
๑. เพื่อผลติ นักวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนาและปรัชญาใหม้ คี ุณวฒุ แิ ละคุณสมบตั ิ
๒. เพอ่ื ผลติ พระภิกษนุ ักบรหิ าร นกั พัฒนา นกั วิจยั และนกั เผยแผต่ ามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา
๓. เพื่อสง่ เสริมการศกึ ษา ภาษา ศลิ ปวัฒนธรรมที่เกยี่ วข้องกบั พระพทุ ธศาสนาและปรชั ญา
๔. เพื่อสง่ เสริมการศกึ ษา ค้นคว้า และวิจัย ทางพระพทุ ธศาสนาและปรชั ญา
ประวตั คิ วามเปน็ มา
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรมราชานญุ าต
ใหต้ ้งั วิทยาลัยข้นึ ในบริเวณวัดบวรนิเวศวหิ าร พระราชทานนามวา่ “มหามกุฏราชวทิ ยาลัย” เพ่ือเป็นท่ีศึกษา
เลา่ เรยี นของภกิ ษสุ ามเณร ทรงอุทิศ พระราชทรัพย์บำรงุ ประจำปี สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิร
ญาณวโรรสเป็นประธานเปิดมหามกุฏราชวิทยาลัย เม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ และทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ รับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์สบื มาจนถึงปจั จบุ นั โดยมวี ตั ถุประสงค์ ๓ ประการ คอื
๑) เพอื่ เปน็ สถานศึกษาพระปริยัติธรรมของพระสงฆธ์ รรมยตุ กิ นิกาย
๒) เพอื่ เป็นสถานศึกษาวิทยาอนั เปน็ ของชาตภิ ูมิและของตา่ งประเทศแหง่ กลุ บุตร
๓) เพอ่ื เปน็ สถานศึกษาคำสัง่ สอนทางพระพทุ ธศาสนา
เม่ือวันท่ี ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ สมเด็จสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ในฐานะนายก
กรรมการมหาวิทยาลัย ได้ประกาศต้ังสถาบันการศึกษาช้ันสูงในรูปของมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาขึ้น
เรยี กวา่ “สภาการศกึ ษาของมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ” โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ คอื
๑) เพอ่ื เป็นสถานศึกษาพระปริยัติธรรม
๒) เพอื่ เปน็ สถานศกึ ษาวชิ าของชาติและของต่างชาติ
๓) เพอื่ เป็นสถานเผยแผ่พระพุทธศาสนาทงั้ ในและนอกประเทศ
๔) เพอื่ ใหภ้ ิกษสุ ามเณรมีความรแู้ ละความสามารถในการบำเพญ็ ประโยชน์แกป่ ระชาชนไดด้ ียิ่งขึน้
๕) เพื่อให้ภิกษุสามเณรมีความรู้และความสามารถในการค้นคว้า โต้ตอบหรืออภิปรายธรรมได้อย่าง
กวา้ งขวางแกช่ าวไทยและชาวต่างประเทศ
๖) เพื่อให้ภิกษุสามเณรได้เป็นกำลังสำคัญในการจรรโลงพระพุทธศาสนา และเป็นศาสนทายาทท่ี
เหมาะสมแกก่ าลสมยั
๗) เพอ่ื ความกา้ วหนา้ และคงอยตู่ ลอดเวลาของพระพทุ ธศาสนา
อาศัยแนวปฏิบัติตามความในคำสั่งของมหาเถรสมาคมว่าด้วยเรื่อง การศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๑๒ ความว่า “ถ้าเป็นการสมควรมหาวิทยาลัยสงฆ์ท้ังสองแห่งจะร่วมจัดการศึกษาช้ันบัณฑิต
วิทยาลัยอีกส่วนหนึ่ง โดยอนุมัติของสภามหาวิทยาลัยสงฆ์ก็ได้” ด้วยเหตุน้ี สภาการศึกษามหามกุฏราช
วทิ ยาลัย จงึ ไดจ้ ดั ตั้ง “บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั ” ขึน้ เมื่อวนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ.
๒๕๓๐ เพอ่ื ทำการสอนในระดับปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก โดยมีวัตถุประสงค์ คอื
๑) เพอ่ื ผลิตนกั วิชาการทางพระพทุ ธศาสนาและปรชั ญาให้มีคุณวฒุ แิ ละคุณสมบตั ิ
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๓๐
๒) เพอ่ื ผลติ พระภิกษนุ ักบริหาร นกั พฒั นา นกั วิจยั และนักเผยแผต่ ามหลกั ธรรมทาง พระพุทธศาสนา
๓) เพอ่ื ส่งเสรมิ การศกึ ษา ภาษา ศิลปวัฒนธรรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนาและปรัชญา
๔) เพอ่ื สง่ เสรมิ การศกึ ษา คน้ ควา้ และวิจัยทางพระพทุ ธศาสนาและปรชั ญา
ในเบ้ืองต้น บัณฑติ วิทยาลัยได้เปดิ การเรียนการสอนเป็นปฐมฤกษ์เม่ือวนั ที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๑
อยู่เพียง ๒ สาขาวิชา คือ สาขาวิชาพุทธศาสนนิเทศ ปัจจุบันเปล่ียนเป็นสาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา และ
สาขาวิชาพทุ ธศาสนาและปรชั ญา โดยพระเทพปรยิ ัติวิมล (แสวง ธมเฺ มสโก) เป็นผู้มบี ทบาทในการดำเนินการ
กอ่ ตั้งบัณฑิตวิทยาลัย และมีพระธรรมไตรโลกาจารย์ (พูนศักด์ิ วรภทฺทโก) ป.ธ.๘, ศน.บ., M.A., Ph.D.) เป็น
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยรูปแรก ต่อมา พระมหาบุญศรี ญาณวุฑฺโฒ, ผศ.ดร. เป็นรักษาการคณบดีบัณฑิต
วิทยาลัย และปัจจุบันมีพระศรีวินยาภรณ์, ดร. (สายรุ้ง อินทาวุโธ) ป.ธ.๗, ศน.บ., อ.ม., Ph.D.) เป็นคณบดี
บณั ฑิตวิทยาลยั
ในปกี ารศึกษา ๒๕๔๕ สภามหาวทิ ยาลัยในการประชมุ ครั้งที่ ๑/๒๕๔๕ เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
๒๕๔๕ มีมตใิ ห้บัณฑิตวทิ ยาลัยเปิดการเรียนการสอนแก่นักศึกษาคฤหัสถ์รุ่นแรกในสาขาวิชาพุทธศาสนาและ
ปรัชญา และสภามหาวิทยาลัยไดอ้ นุมัติเปดิ หลักสูตรศาสนาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต ในการประชมุ ครงั้ ที่ ๔/๒๕๔๘
วันพุธท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน็ ร่นุ แรก ในสาขาวชิ าพุทธศาสน์ศกึ ษา
บัณฑิตวิทยาลยั มีวิวฒั นาการเจรญิ ก้าวหน้ามาเป็นลำดับ ได้ย้ายสำนักงานทท่ี ำการจาก ตกึ สว.ธรรม
นเิ วศ ชั้นท่ี ๕ วดั บวรนิเวศวหิ าร มา ณ อาคารสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส อาคาร
B7.1 มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม
ลำดับการเปิดสอนหลักสตู ร ของบัณฑติ วิทยาลยั
๒๕๓๕ เปดิ สอนปรญิ ญาโท สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา
๒๕๓๕ เปดิ สอนปริญญาโท สาขาวชิ าศาสนาและปรชั ญา
๒๕๔๕ เปิดรบั นกั ศกึ ษาคฤหัสถ์รุ่นแรก สาขาวิชาพทุ ธศาสนศ์ กึ ษา ปริญญาโท
๒๕๔๗ เปิดสอนปรญิ ญาโท สาขาวชิ ารัฐศาสตรก์ ารปกครอง รับบรรพชติ /คฤหสั ถ์
๒๕๔๗ เปดิ สอนปริญญาโท สาขาวิชาสงั คมวิทยา รบั บรรพชิต/คฤหสั ถ์
๒๕๔๘ เปดิ สอนปริญญาเอก สาขาวชิ าพทุ ธศาสน์ศึกษา รบั บรรพชิต/คฤหัสถ์
๒๕๕๐ เปดิ สอนปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าศาสนาและปรัชญา รบั บรรพชติ /คฤหสั ถ์
๒๕๕๑ เปิดสอนปริญญาโท สาขาการจัดการศึกษา รบั บรรพชติ /คฤหสั ถ์
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๓๑
website
www. gs.mbu.ac.th
สถานท่ีติดต่อ
สำนักงานคณบดี บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
ตึก B 7.1 อาคารสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ชนั้ ๒
เลขที่ ๒๔๘ หมู่ ๑ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทร ๐๒ - ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๕๘ - ๑๐๖๓ โทรสาร ๐ – ๒๔๔๔ – ๖๐๔๑
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
ค่มู อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๓๒
คณะศาสนาและปรชั ญา
ข้อมูลพ้นื ฐาน
ปรัชญา “ปญฺญฺา หเว หทยํ ปณฑฺ ิตานํ” ปญั ญาเปน็ หวั ใจของนักปราชญ์
ปณธิ าน “ผลิตบัณฑติ เพยี บพร้อมดว้ ยความรู้และคณุ ธรรม เพอื่ ประโยชน์แกช่ าตแิ ละพระพทุ ธศาสนา”
วสิ ยั ทศั น์ “ม่งุ เนน้ ผลิตบัณฑติ ให้มคี วามประพฤตดิ ี ความรู้ดี ความสามารถดี และความเป็นผู้มีใจสูง”
พนั ธกิจ
๑. ผลติ บัณฑิตทางพระพุทธศาสนา ให้มคี วามประพฤติดี ความรู้ดี ความสามารถดี และความเปน็ ผมู้ ี
ใจสงู
๒. วิจัยและพัฒนางานวิชาการ เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ ๆ ให้
สอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
๓. สร้างเสริมให้บริการวิชาการแก่สังคม ชุมชนและท้องถิ่น โดยเฉพาะวิชาการทางพระพุทธศาสนา
เพอ่ื นำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
๔. ปรบั ปรุงระบบบริหารจัดการในคณะศาสนาและปรัชญาใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อใหบ้ ัณฑติ มคี วามรู้ ความสนใจในวชิ าการทางศาสนาและปรัชญา
๒. เพื่อให้บัณฑิตมีความคิดริเร่ิม และมีอุปนิสัยในการค้นคว้าปรับปรุงความรู้ให้ก้าวหน้า ยึดม่ันใน
ระเบยี บวินยั และมีความสำนึกในหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบตามสมควรแก่ภาวะ รวมทงั้ สามารถแนะนำในการ
อนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและประเพณี
๓. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจหลักคำสอนของพุทธศาสนาอย่างถ่องแท้ มีความรู้เกี่ยวกับ
ศาสนาทส่ี ำคญั ของโลกและวิชาท่ีเกย่ี วขอ้ ง
๔. เพ่ือพัฒนาบัณฑิตให้มีความสามารถเหมาะสมกับกาลสมัยและเป็นทรัพยากรบุคคลท่ีดีมีคุณภาพ
ของชาติ
ประวตั ิความเป็นมา
คณะศาสนาและปรัชญา เป็นส่วนงานจัดการศึกษาและบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย ในอดีตงานทุกอย่างข้ึนอยู่กับสำนักงานเลขาธิการเป็นส่วนใหญ่ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็นต้นมา
คณะศาสนาและปรัชญาอยู่รวมกับสำนักงานกลางมาเป็นเวลา ๔๕ ปี คร้ันต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงได้แยก
ออกมาเป็นสัดส่วน มีสถานท่ีทำงานเป็นเอกเทศ การทำงานก็เร่มิ เขา้ ระบบและมคี วามคล่องตัวมากขึ้น ท่าน
บรู พาจารย์และผบู้ รหิ ารทกุ ท่านตั้งแต่อดตี จนถงึ ปจั จบุ ันนี้ มคี วามผูกพนั กบั คณะ และมหาวิทยาลัยแหง่ นเ้ี ปน็ ท่ี
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั หนา้ ๓๓
ดีย่ิง ได้อุทิศชีวิตพร้อมท้ังกำลังกาย กำลังทรัพย์ และกำลังสติปัญญา ให้กับมหาวิทยาลัยน้ีมาเป็นเวลาอัน
ยาวนาน ซึ่งเต็มไปด้วยความเสยี สละอนั ย่ิงใหญ่ เพอ่ื มุง่ สร้างศาสนบคุ คลอนั เป็นทรัพยากรสำคญั ของชาติและ
ผลติ ผลใหม้ พี ระนกั ศกึ ษาและนกั ศึกษาทั่วไปมคี ณุ ภาพเป็นกำลงั ของพระศาสนาและประเทศชาติตอ่ ไป
การบริหารงานในคณะศาสนาและปรัชญามีคณบดีเป็นประธานโดยตำแหน่ง โดยมีผู้ดำรงตำแหน่ง
บรหิ ารคณะศาสนาและปรัชญา ดงั น้ี
คณบดี
– ปี พ.ศ. ๒๕๒ ๑ – ๒๕ ๓๖ พระเมธาธรรมรส (พูนศักดิ์ วรภทฺ โท ) ป.ธ.๘ , ศน.บ., Ph.D.
(Philosophy) วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร (ปัจจุบันได้เลอ่ื นสมณศักด์เิ ปน็ พระราชา
คณะชนั้ ธรรม ที่ พระธรรมไตรโลกาจารย์)
– ปี พ .ศ . ๒ ๕ ๓ ๖ – ๒ ๕ ๔ ๑ พ ระครูศรีกิ ตติสุน ท ร (จำลอง อ ชิโต) ป .ธ.๖ , ศ น.บ ., M.A.
(Philosophy) วดั เบญจมบพิตรดสุ ติ วนาราม กรงุ เทพมหานคร (ปจั จบุ ัน เป็น พระโสภณสมาธิคุณ)
– ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๕ พระมหา ดร.ไพฑรู ย์ รจุ มิ ิตฺโต ป.ธ.๗, ศน.ม., M.Phil.,
Ph.D. (Buddhist Studies) วดั ราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร
– ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๖๐ พระศรีมงคลเมธี (วชิ าญ กลยฺ าณธมโฺ ม) ป.ธ.๙, ศน.บ., M.A.,
Ph.D. (Pali-Buddist Studies) วดั จันทนก์ ะพ้อ อำเภอสามโคก จงั หวัดปทมุ ธานี
– ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ พระกิตติสารสุธี (เชดิ ชัย สีลสมฺปนโฺ น) ป.ธ.๗, ศน.บ., M.A., (Linguistics)
วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร
– ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ปัจจุบัน พระสุทธิสารเมธี, ดร. (ชัยยันต์ จตฺตาลโย) ป.ธ.๕, ศน.บ., ศน.ม., ศน.ด.
(พุทธศาสนาและปรัชญา) วดั บรุ ณศิริมาตยาราม กรุงเทพมหานคร
หลกั สูตรทเ่ี ปดิ สอน
๑. หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรชั ญา ศาสนาและวัฒนธรรม
ศศ.บ. (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
Bachelor of Arts (Philosophy, Religions and cultures)
B.A. (Philosophy, Religions and cultures)
๒. หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธศาสนศ์ ึกษา
ศศ.บ. (พทุ ธศาสน์ศกึ ษา)
Bachelor of Arts (Buddhist Studies)
B.A. (Buddhist Studies)
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๓๔
๓. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (พุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา)
ศศ.บ. (พทุ ธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
Bachelor of Arts (Buddhist Studies for Development)
B.A. (Buddhist Studies for Development)
website
www.philo.mbu.ac.th
สถานทต่ี ดิ ตอ่
คณะศาสนาและปรชั ญา มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ตกึ B7.2 อาคารพระพรหมมนุ ี (ผนิ สุวจเถร)
เลขที่ ๒๔๘ หมู่ ๑ ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทร ๐๒ - ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๗๔ – ๑๐๗๗
คณะมนษุ ยศาสตร์
ข้อมลู พืน้ ฐาน
ปรัชญา "การเรียนรูภ้ าษา คือการเรียนรู้มนษุ ย์"
ปณิธาน "มุ่งม่นั ให้การศกึ ษาแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์อย่างเตม็ ศกั ยภาพ"
วิสัยทศั น์
"การศกึ ษาภาษาทำให้ผู้ศึกษามีความเจริญกา้ วหน้าในการส่ือสารและเข้าใจมนุษย์ได้ดียิ่งข้ึน (นิรุตติ
ปฏิสมั ภทิ า) ทำให้สามารถศึกษาและเข้าใจหลักธรรมคำสอนของศาสนาได้อย่างลกึ ซึ้ง และจะเป็นทางนำไปสู่
การพฒั นาตนเองและผู้อ่ืนใหด้ ียิง่ ขึน้ กล่าวคือ ให้มีพฤติกรรมทางกายและวาจาทดี่ ีข้ึน มีจติ ใจที่งดงาม และมี
ปัญญารเู้ ทา่ ทันโลกและชวี ิต (ไตรสิกขา) จนกระทงั่ บรรลจุ ุดหมายสงู สดุ ในอดุ มคต"ิ
พันธกิจ
“การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามพันธกิจหลกั กล่าวคอื พัฒนาเรือ่ งระบบการผลิตบัณฑติ การวจิ ัย
การบริการวิชาการแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ให้ได้มาตรฐานสากล โดยให้สอดคล้องกับ
นโยบายของมหาวิทยาลัย"
วตั ถุประสงค์
๑. เพือ่ ใหน้ กั ศึกษามีความรแู้ ละทักษะในการใช้ภาษาอยา่ งเพยี งพอ สามารถสอ่ื สาร เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
มนุษยสัมพันธ์ไดด้ ีทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มอื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หน้า ๓๕
๒. เพอื่ สง่ เสริมใหน้ กั ศกึ ษามีความรคู้ วามสามารถในการอา่ น เขยี น แปลและฟังข่าวสารทางภาษาได้
๓. เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรู้ทางภาษา วรรณคดแี ละวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา สามารถประยุกตใ์ ช้
ในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาได้
๔. เพอ่ื ใหน้ ักศึกษามคี วามรคู้ วามสารถในการใชภ้ าษา เพอ่ื เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาไดท้ ้งั ในและนอก
ประเทศ
๕. เพอ่ื เป็นพื้นฐานการศกึ ษาระดบั สูงขึ้นไป
นโยบายการบรหิ ารงาน ๙ ประการ
๑. นโยบายดา้ นการพฒั นาความเป็นเลศิ ในทางวชิ าการ
๒. นโยบายดา้ นการปฏิรปู ระบบการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
๓. นโยบายดา้ นการส่งเสริมพฒั นางานวิจยั
๔. นโยบายดา้ นการพัฒนาประสิทธิภาพและคณุ ภาพของการใหบ้ รกิ ารแกส่ งั คม
๕. นโยบายดา้ นการพฒั นาบุคลากรของมหาวิทยาลัย
๖. นโยบายดา้ นการพฒั นานักศึกษาและกจิ กรรมนกั ศกึ ษา
๗. นโยบายในเรอื่ งการบริหารศนู ยก์ ารศึกษาในสว่ นภมู ิภาค
๘. นโยบายดา้ นการเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในกำกบั ของรฐั
๙. นโยบายในการจดั การกับปัญหาเฉพาะหนา้ ในระยะส้นั ของมหาวิทยาลัย
ประวตั ิความเปน็ มา
ในระยะเร่ิมแรกของการกอ่ ตั้งมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย (เดมิ ชื่อสภาการศึกษามหามกุฏราช
วิทยาลยั ) ไมจ่ ัดเป็นคณะตา่ ง ๆ อยา่ งปจั จบุ ันนี้ มีเพียงแตว่ ่าผ้สู ำเร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู รจะไดร้ ับปริญญา
บตั รเทียบเทา่ ปริญญาทางศาสนาของต่างประเทศ โดยหลกั สูตรทีศ่ ึกษานนั้ เปน็ หลกั สูตรปรญิ ญาศาสนศาสตร
บัณฑิต ๔ ปี ต่อมาได้มกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของหลกั สูตรหลายคร้ัง เพือ่ ให้เหมาะสมกบั ยุคสมัย จนกระทง่ั
พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้เปลีย่ นแปลงหลักสูตรปรญิ ญาศาสนศาสตรบัณฑิต ๔ ปี เป็นระบบหน่วยกติ รวมทั้งสน้ิ
๒๔๐ หน่วยกติ
ครัน้ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๓ ได้จัดการศึกษาเปน็ คณะทส่ี มบูรณ์ ๔ คณะ คือ คณะศาสนาและปรชั ญา
คณะสงั คมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้เปลยี่ นชือ่ คณะศิลปศาสตร์
เป็นคณะมนษุ ยศาสตร์และได้ดำรงอยูจ่ นปัจจุบนั นี้
หลกั สูตรคณะมนษุ ยศาสตร์ ในปจั จุบนั เปน็ หลักสูตรปรับปรงุ ครั้งลา่ สดุ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยแบง่ การเรียน
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั หน้า ๓๖
การสอน ออกเป็น ๒ ภาควิชา คือ
๑. ภาควิชาภาษาตะวนั ตก สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
๒. ภาควชิ าภาษาตะวันออก สาขาวิชาภาษาบาลแี ละสนั สกฤต
หลักสตู รคณะมนุษยศาสตร์ มรี ะยะเวลาเรยี นภาคทฤษฎี ๔ ปี หรอื ๘ ภาคการศึกษาและ
ภาคปฏิบตั ิศาสนกจิ อกี ๑ ปี ภาคทฤษฎนี ้ัน จะตอ้ งศกึ ษาใหค้ รบตามจำนวนของหน่วยกิตทก่ี ำหนดไว้
หลกั สูตรท่ีเปิดสอน
๑. หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ (สาขาวชิ าภาษาไทย) ศศ.บ. (ภาษาไทย)
Bachelor of Arts (Thai) B.A. (Thai)
๒. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ) ศศ.บ. (องั กฤษ)
Bachelor of Arts (English) B.A. (English)
๓. หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต (สาขาวิชาภาษาบาลีสนั สกฤตและพทุ ธศาสตร์)
ศศ.บ. (ภาษาบาลสี นั สกฤตและพุทธศาสตร)์
Bachelor of Arts (Pali, Sanskrit and Buddhist Studies )
B.A. (Pali, Sanskrit and Buddhist Studies )
Website www.human.mbu.ac.th
สถานท่ีติดตอ่
คณะมนษุ ยศาสตร์ ตกึ B7.6 มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย
เลขที่ ๒๔๘ หมู่ ๑ ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทร ๐๒ - ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๗๙ – ๑๐๘๑
คณะสงั คมศาสตร์
ขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ปรชั ญา ความรคู้ คู่ ุณธรรม นำพัฒนาสังคม
ปณิธาน สรา้ งบัณฑิตใหร้ ูค้ ิด รู้ทำ สร้างสรรคส์ งั คม
วสิ ัยทศั น์ เป็นแหลง่ ศึกษา ค้นคว้า และใหค้ วามรู้ดา้ นการบริหารและพัฒนาสังคม
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หนา้ ๓๗
ภายใตห้ ลกั แห่งพุทธธรรม
พนั ธกจิ
• ผลติ บณั ฑติ ด้านสังคมศาสตร์ และพระพทุ ธศาสนา
• ศึกษาค้นคว้าวจิ ยั สรา้ งองคค์ วามรูด้ ้านสงั คมศาสตรแ์ ละพระพทุ ธศาสนา
• เผยแพร่ความรูด้ ้านสังคมศาสตรแ์ ละพุทธศาสนา
• สง่ เสริมการศึกษา เผยแพร่ และอนุรกั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมไทย
วัตถุประสงค์
• เพอ่ื ผลิตบณั ฑติ ทีม่ คี วามรทู้ างสงั คมศาสตรค์ วบคกู่ ับวิชาการทางพระพทุ ธ ศาสนา ทง้ั ทฤษฎแี ละการ
ป ร ะ ยุ ก ต์ เพ่ื อ ใช้ ใน ก า ร ท ำ ง า น ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เห ม า ะ ส ม แ ล ะ เท่ า ทั น ส ถ า น ก า ร ณ์
• เพ่ือผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ สามารถเป็นผู้นำสังคมได้
• เพอ่ื บรกิ ารวิชาการทางดา้ นสังคมศาสตร์ และพระพุทธศาสนา แก่สังคม
นโยบาย
• เร่งให้มีการพัฒนากลไกและระบบประกันคุณภาพการศึกษาข้ึนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการจัดหา
มาตรฐานการศึกษาของคณะสงั คมศาสตร์
ประวัตคิ วามเปน็ มา
พ.ศ. ๒๕๑๓
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้เปิดการเรียนการสอนแยกเป็นคณะต่างๆ ๔ คณะ ซ่ึงคณะ
สงั คมศาสตรร์ วมอย่ใู นนนั้ ดว้ ย ในสว่ นของคณะสังคมศาสตร์มกี ารเรียนการสอนเฉพาะสาขาวิชาสังคมวทิ ยา
พ.ศ. ๒๕๓๔
ได้ปรบั ปรงุ หลกั สูตรโดยนำเอาวชิ าการทางดา้ นมานุษยวทิ ยาเข้ามารวมกับสาขาวิชา สงั คมวทิ ยา ใช้
ชื่อสาขาใหมว่ ่า “สาขาวชิ าสงั คมวทิ ยาและมานุษยวทิ ยา”
พ.ศ. ๒๕๔๓
ได้เปดิ สาขาวชิ าขึ้นใหม่อกี หนง่ึ สาขา คือ “สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง” ซงึ่ อย่ใู นภาควิชา
รฐั ศาสตร์และเศรษศาสตร์
พ.ศ. ๒๕๔๘ ไดย้ กรา่ งหลักสตู รใหมอ่ กี
โครงสร้างการบริหาร
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หน้า ๓๘
คณะสงั คมศาสตร์ ทำการสอนระดับปริญญาตรี หลกั สูตร ๔ ปี หลกั สูตรภาษาไทย ภาคปกติ
ภาคปกติ
๑. หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าสังคมวทิ ยาและมานุษยวทิ ยา งดรบั นกั ศึกษา
Bachelor of Arts Programs in Sociology and Anthropology ภาคปกติ-ภาคพิเศษ
๒. หลกั สูตรสงั คมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์
Bachelor of Social WorkPrograms in Social Work
๓. หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารกิจการพระพทุ ธศาสนา
Bachelor of Arts Programs in Buddhist Affairs Administration
๔. หลกั สูตรรฐั ศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการปกครอง (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙)
Bachelor of Political Science Programs in Government
website
www.social.mbu.ac.th
สถานท่ีตดิ ตอ่
คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
ตกึ B7.4 อาคารสมเดจ็ พระวนั รตั (จุนท์ พรหฺมคุตฺตเถร)
เลขท่ี ๒๔๘ หมู่ ๑ ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คูม่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หนา้ ๓๙
โทร ๐๒ - ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๑๔๗ - ๑๑๔๘
คณะศกึ ษาศาสตร์
ข้อมูลพน้ื ฐาน
ปรชั ญา ความรคู้ ู่คุณธรรม
ปณธิ าน มุ่งผลติ บัณฑติ ท่ีมีความร้แู ละเพียบพรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรมเพื่อเปน็ บคุ ลากรท่มี ศี ักยภาพในสังคม
วิสัยทศั น์ มงั่ มั่นพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ มงุ่ ส่คู วามเป็นคนเก่งดีมีสุขใฝก่ า้ วหน้าและรู้หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
พนั ธกิจ
๑. ผลติ บัณฑติ ให้มคี ุณภาพ
๒. ทำการวจิ ยั และผลติ ผลงานวิจยั ท่ีมีคุณภาพ
๓. บริการทางวิชาการแกส่ งั คม
๔. ทำนบุ ำรุงศิลปวัฒนธรรม
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื พัฒนาและเพิม่ คา่ ทรพั ยากรมนษุ ยใ์ ห้เปน็ ผมู้ คี วามรูค้ ุณธรรม
๒. เพื่อให้บคุ ลากรและระบบงานของคณะ
๓. มีคุณภาพและสนองตอบความต้องการของชมุ ชนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิผล
๔. เพ่ือเผยแผ่วิชาการทางโลกควบคศู่ าสนธรรม
นโยบาย
๑. จดั การเรยี นการสอนวิชาการสมยั ใหม่ให้สอดคลอ้ งกับศาสนธรรมในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ
วชิ าการศึกษา
๒. พัฒนาบคุ ลากรและระบบงานในคณะศึกษาศาสตร์ใหม้ ีคุณภาพและทันสมยั
๓. ใหค้ ำปรึกษาและบรกิ ารความรูท้ งั้ ในคตโิ ลก คติธรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษาแก่ชุมชน
หลกั สตู รทเ่ี ปดิ สอน
๑. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (ศษ.บ.)
Bachelor of Education Program in Teaching Thai (Bฺ .Ed.)
๒. สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ (ศษ.บ)
Bachelor of Education Program in Teaching English (ฺB.Ed.)
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หนา้ ๔๐
๓. สาขาวิชาการสอนสังคมศกึ ษา (ศษ.บ.)
Bachelor of Education Program in Social Studies (Bฺ .Ed.)
Website www.edu.mbu.ac.th
สถานท่ีติดต่อ
คณะศกึ ษาศาสตร์ ตกึ B7.7 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
เลขที่ ๒๔๘ หมู่ ๑ ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทร ๐๒ - ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๑๕๑ - ๑๑๕๔
บทความเรื่อง การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพทุ ธศาสนาของพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น
ในบริบทฐานวิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal)
การเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันหลายมิติกำลังเปล่ียนไปโดยสิ้นเชิง (Disruption) เพราะมี
เทคโนโลยีนวัตกรรม (Innovation Technology) เขา้ มาแทนทีใ่ นภาคสว่ นตา่ ง ๆ ของสังคม เช่น ระบบสงั คม
ระบบเศรษฐกิจ แม้แต่ระบบการศึกษาก็กำลังเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) เพราะ
เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือท่ีมีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนำ
การศึกษาให้เขา้ ถึงประชาชน ส่งเสริมการเรียนร้ตู ่อเน่ือง นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรูต้ ามอัธยาศัย ชว่ ย
จัดทำข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูลและ
การวเิ คราะหข์ ้อมูล การเกบ็ รกั ษา และการเรียกใช้ในกจิ กรรมต่าง ๆ ในงานจัดการศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง
ในสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ ทำให้เกิดผล
กระทบมากแก่สังคมโลก ที่ต้องใช้ระบบเทคโนโลยีในการติดต่อสอ่ื สาร การทำธุรกรรม การจัดการเรียนการ
สอนรปู แบบออนไลน์
ตามที่กลา่ วมามหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้ตระหนักถงึ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวบนพันธ
กิจหลักของมหาวทิ ยาลัย คือการบริการวิชาการแก่สังคม โดยมีสำนักงานพระสอนศีลธรรมเป็นกำลังในการ
ดำเนนิ งาน และได้มีนโยบายในรปู แบบของการจดั ทำโครงการเพือ่ การเผยแผ่วชิ าการพระพุทธศาสนาแกส่ งั คม
การบรหิ ารจัดการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการ
บริหารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มีอัตราพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จำนวน 6 ,700 รูป มี
โรงเรียนที่พระสอนศีลธรรมเข้าไปดำเนินการสอนมากกว่า 6,500 โรงเรียน ผลผลิตนักเรียนที่ได้รับการสอน
ศีลธรรมในระดับต่าง ๆ มากกว่า 200,000 คน นอกจากนั้นแล้วยังมีศูนย์ประสานงานในส่วนวิทยาเขตและ
วิทยาลัยอีก 9 แหง่ ทวั่ ประเทศ
บริบทสังคมทำให้พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนต้องปรบั ตัวให้เข้ากับการการพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง ซ่ึง
การจดั การเรียนการสอนวชิ าพระพทุ ธศาสนา ไม่ค่อยประสบความสำเรจ็ เทา่ ท่ีควร เพราะสาเหตุหลักคือ ขาด
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หนา้ ๔๑
ทักษะการถา่ ยทอด ทักษะกระบวนการคิด การวิเคราะห์ ขาดการกระตอื รอื รนในการแสวงหาความรู้ เกีย่ วกับ
วิชาพระพุทธศาสนา เปน็ การเน้นการสอนโดยการบอกให้เด็กท่องจำเน้นวชิ าการมากกว่าการปลกู ฝังคุณธรรม
จรยิ ธรรม แกเ่ ด็กและยงั ไมส่ ร้างบรรยากาศการเรียนรจู้ ากสง่ิ ต่าง ๆ จงึ ทำใหผ้ เู้ รียนไม่เกิดการซาบซ้ึงพอที่จะนำ
หลักธรรมมาดำเนนิ ชีวิต ทำให้เกิดการเบ่ือหน่ายในวิชาพระพุทธศาสนา ส่ิงสำคัญคือผลกระทบกบั การเรียน
การสอนตอ่ ผสู้ อนและผูเ้ รียน โดยผสู้ อนตอ้ งผลิตส่อื การเรียนการสอนมาใช้ใหเ้ หมาะสมกับสถานทขี่ องโรงเรียน
ซึ่งมีความพร้อม ด้านกิจกรรมการสอน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ และสื่อท่ี
กระตุ้นความสนใจผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลนเ์ ป็นสง่ิ สำคัญ มีความแตกต่าง
จากในอดีต มีการเคลื่อนย้ายผู้คน สื่อเทคโนโลยี และทรัพยากรต่าง ๆ จากท่ัวทุกมุมโลกอย่างรวดเร็วและ
สะดวก การแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันมีความจำเป็นอย่างย่ิง ผู้คนในศตวรรษน้ีจึงไม่สามารถใช้ความรู้และ
ทักษะบางอยา่ งในอดีตมาแก้ปญั หาในปจั จุบนั ได้ดี การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ไมใ่ ช่กระบวนการถา่ ยทอด
ความ รู้ แต่ คือก ารส่งเสริม ทั กษ ะก ารเรียน รู้ต ลอด ชีวิต ให้กั บ ผู้คน นั่ น เอ ง ก ารเรียน ( Online
Learning/Entertainment) การอยู่ในบ้าน สิ่งสำคัญในการพัฒนาและการค้นหาตัวตน สงิ่ หน่ึงก็คือ การหา
ความรู้สงิ่ ใหม่ๆ เพ่อื พัฒนาศักยภาพของตวั เอง ด้วยการเรียนรู้ ซงึ่ สามารถเลือกเรยี นในช่วงเวลาท่ีสะดวกได้
ตามตอ้ งการ สามารถย้อนกลบั เพือ่ ทบทวนเนื้อหาและทำความเข้าใจใหมไ่ ด้ และประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ย
ในการเดินทาง รูปแบบออนไลน์ ในปัจจุบันนี้มีศัพทอ์ ยคู่ ำหนง่ึ ทีไ่ ด้รับความนยิ มมาก คือ New Normal ชวี ิต
วถิ ใี หม่ การปรับตัวในภาวะท่ีหลาย ๆ คนจะต้องปรบั เปลี่ยนชุดพฤติกรรม ในช่วงมีการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ออกมาระบาดแล้วเปลยี่ นชีวิตเราไปอกี นาน ทำให้เราต้องปรับเปลยี่ นรูปแบบ
วิถีชีวิตไปพร้อมกันทั่วโลก จากท่เี ราเคยออกจากบ้าน เพื่อไปทำงาน ไปโรงเรยี น เราตอ้ งหนั มาทำทุกอย่างท่ี
บา้ น รวมถึงการปรับเปลี่ยน จึงต้องปรับเปลี่ยนไปสู่การเปิดระบบลงทะเบียนออนไลน์ ในทสี่ ุดทั้งหมดน้ีก็ได้
กลายเปน็ New Normal ชีวติ วถิ ีใหม่ ในสังคมของเราท่านไปนนั่ เอง พร้อมทำงาน ทำกิจกรรมต่าง ๆ ให้มาก
ข้ึน การเรียนออนไลนต์ ามมาด้วยปัญหาและผลกระทบหลายด้านกับตัวผู้เรยี นและสถาบันครอบครัวโดยตรง
ท้ังในแง่ความพร้อมของการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในต่างจังหวัดท่ียากต่อการรับสัญญาณ ความพร้อมในด้าน
อุปกรณ์การใช้งานในการเรียนนั้นเป็นส่ิงที่สำคัญเป็นอยา่ งมาก แน่นอนว่าการปรบั ตัวของ หลาย ๆ โรงเรียน
หรือสถาบันการศึกษาน้ันเริ่มท่ีจะให้ความสนใจด้านน้ีเพิ่มมากข้ึน แต่อย่างไรก็ตามในโครงสร้างพ้ืนฐานของ
สังคมอยา่ งการศึกษาท่ีเปน็ สทิ ธิข้นั พื้นฐานของประชาชนไทย ท่ียังต้องอาศัยความสามารถในการรบั มอื ปัญหา
เหลา่ นีจ้ ากรัฐบาลดว้ ย
พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนต้องปรับตัวหรือเปล่ียนแปลง ตามระบบการศึกษาไทยท้ังในข้อดีและ
ข้อเสียของการเรียนออนไลน์ในสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ข้อดีของการเรียน
ออนไลน์ การเรียนออนไลน์จะสามารถย้อนกลบั ไปฟงั หรอื รบั ชมการฉายซำ้ ได้ เพือ่ การทบทวนบทเรยี นอกี ครั้ง
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คู่มอื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หนา้ ๔๒
การเรยี นออนไลน์ท่บี ้านทงั้ ผสู้ อนและผ้เู รียน เพิ่มประสทิ ธิภาพในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ค้นคว้าหาข้อมลู เพ่ิมเติม
และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้มากขึ้น มีช่องทางสื่อสารท่ีหลากหลายไม่ว่าจะเป็น Line, E-mail,
Facebook Message ช่วยเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อระหว่างผู้สอนและผู้เรียนได้มากขึ้น
ข้อสังเกตท่ีมีผลกระทบต่อการเรียนออนไลน์ การเข้าถึงอุปกรณ์เรียนออนไลน์ เช่น สัญญาณอินเทอร์เน็ต,
โทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟน สำหรับการเรียนออนไลน์ของนักเรยี นที่มีอย่างจำกดั นักเรียนหลายคนทไ่ี ม่มี
อุปกรณก์ ารเรียนเหลา่ นี้ ทำใหเ้ ดก็ หลายคนไมส่ ามารถเรียนได้ หรือทำให้กลายเป็นสงิ่ จำเป็นท่ตี ้องซื้อใหเ้ ด็กท่ี
ต้องเรียนออนไลน์ อาจทำใหเ้ พิ่มภาระค่าใช้จา่ ยของผปู้ กครองท่มี ากข้นึ ได้ อาจทำให้เกดิ ความผิดพลาดในการ
รับรู้ของผู้เรียน กรณีในครอบครัวมีพี่น้องนักเรียนท่ีกำลังศึกษาอยู่คนละระดับช้ัน และอุปกรณ์การใช้เรียน
ออนไลน์ ทำใหไ้ ม่สามารถจัดการเรียนไดอ้ ย่างสะดวก ทางสำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏ
ราชวิทยาลัย ได้ศกึ ษาการจัดการเรียนการสอนวชิ าพระพุทธศาสนาในบริบทฐานวถิ ีชีวิตใหม่ (New Normal)
เพื่อนำมาแก้ไขปัญหาในการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากยิ่งข้ึน อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาเดียวกันน้ี
บคุ ลากรทางการศกึ ษาจำนวนมากได้ปรับตวั เพื่อใชเ้ ทคโนโลยีในการทำงานทางไกล เช่น การประชุมออนไลน์
การจัดการเอกสารออนไลน์ผา่ นคลาวด์ เป็นตน้ ครูจัดการเรยี นการสอนไม่ได้เหมือนท่ีผา่ นมา ทำใหเ้ กิดความ
ตระหนักรู้ใหม่ถึงสิ่งทีม่ คี วามสำคัญและจำเปน็ แทจ้ ริงตอ่ การเรียนรู้ของนักเรียน
การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็ก ๆ และเยาวชน ทุก
ภาคสว่ นทีเ่ ก่ียวข้องกับกระบวนการจดั การเรยี นรู้พระพุทธศาสนาในทกุ ระดับการศกึ ษาจะต้องให้ความสำคัญ
และหันกลับมาปฏิรูปกระบวนการจัดการเรียนรู้ทีเ่ ป็นกระบวนการทางปญั ญาใหเ้ หน็ อยา่ งเป็นรูปธรรม การใช้
คำถามเพื่อฝึกคิดสร้างสรรค์ในวิชาพระพุทธศาสนา การเช่ือมโยงหลักธรรมกับสถานการณ์ตัวอย่าง ที่
สร้างสรรค์ เหมาะสำหรับเด็กและเยาวชน ซ่ึงอยู่ในกระแสนิยมของสังคมในปัจจุบัน ย่อมสามารถทำได้ การ
สอนวิธีคิด สอนกระบวนทัศน์เปรียบเทียบทางพระพุทธศาสนา วทิ ยาศาสตร์ และวิธีคิดแบบอ่ืน ๆ การสอน
โดยใช้เกมการศึกษา เป็นอกี วิธีการ ท่ีช่วยฝึกใหเ้ กดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ซึ่งมีอย่หู ลากหลายรูปแบบ เช่น เกม
การด์ หาความเช่ือมโยงระหว่าง สถานการณ์ท่ีกำหนดกับสถานการณ์ที่ตนเองได้รับ ว่ามีความเช่ือมโยงกัน
อย่างไร โดยยึดที่เหตุผลการอธิบายเป็นหลัก นอกจากนี้ ยังมีเทคนิควิธีการท่ีช่วยฝึกคิดสร้างสรรค์ ในวิชา
พระพุทธศาสนาอกี มาก ซงึ่ บางเทคนคิ สามารถใชไ้ ดด้ ีบางเทคนิคอาจไม่สามารถใช้ได้เลย ขึน้ อย่กู บั บริบทของ
ช้นั เรยี น แต่ทสี่ ำคัญหากพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียนเป็นผู้เริ่มการเปลย่ี นแปลง อยากให้พระสอนศีลธรรมใน
โรงเรียนตระหนักรู้เสมอวา่ การเปลย่ี นแปลงในข้ันต้นนัน้ อาจจะยากหน่อย เพราะนักเรียนถูกสอนวิธคี ิดแบบ
สรา้ งสรรค์มาน้อยมาก มักจะคิดแบบปรนัย คิดแบบถกู ผิดดีช่วั เทา่ นนั้ ดังน้นั แล้วการเปลย่ี นแปลงการสอนวิชา
พระพุทธศาสนาให้ฝึกคิดสร้างสรรค์ โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีนโยบายใหแ้ ต่ละโรงเรียน แตล่ ะสถาบันดำเนิน
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ถือเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและทางออกของการเรยี นการสอนท่ี
สำนักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ตอ่ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หน้า ๔๓
สามารถปฏิบัติได้ในขณะนั้น ขณะเดียวกันสังคมก็ตั้งคำถามเก่ียวกับระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์ ความพร้อมของครูและผเู้ รียน ว่ามปี ญั หาและอปุ สรรคหรือไม่ และจะส่งผลกระทบผู้ปกครองอย่างไร
ซึ่งผลทีไ่ ด้รบั ก็คือ ความไมพ่ ร้อมของระบบเกย่ี วกับการประเมนิ ผลเรียน ความไมพ่ รอ้ มของอนิ เตอร์เนต็ ความ
ไมพ่ รอ้ มของครแู ละนักเรียนบางพ้นื ท่ี นอกจากนี้ ยังเป็นการเพม่ิ ภาระทางการเงินแก่ผู้ปกครองบางครอบครัว
ด้วย เนอื่ งดว้ ยสถานภาพทางสังคมและอาชีพ ซ่ึงจะเป็นการแสดงออกถงึ ความเหล่อื มล้ำทางสังคมและนำไปสู่
การเปรียบเทียบของนักเรียนการนำเทคโนโลยีเข้ามาเพื่อช่วยจัดการเกี่ยวกับการเรยี นการสอนในยคุ สมัยนี้ ก็
ถือเป็นเรื่องสำคัญและสอดคล้องกับการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 แต่ผู้ใช้ต้องทำความเข้าใจและมองเห็นถึง
ประโยชน์และโทษท่ีแฝงอย่ใู นเทคโนโลยีด้วย ไมอ่ ย่างนั้นผู้ใช้จะตกเปน็ ทาสของสิง่ เหล่านี้ และท่ีสำคัญคือจะ
กลายเป็นการปลูกฝังค่านิยมแบบผิด ๆ ให้กับนักเรียน เพราะการศึกษาท่ีแท้จริงน้ัน ไม่ ใช่การศึกษาจาก
เอกสารตำราหรือออนไลน์เพียงอย่างเดียว แต่การศกึ ษาที่แทจ้ ริงคือ เป็นการศึกษาทเ่ี กิดจากประสบการณจ์ ริง
ของชีวติ ดงั ทปี่ รากฏในพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ้ ขเพ่มิ เติม ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.
2545 ที่ว่า การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจสติปัญญา
ความรคู้ ู่คุณธรรม มจี ริยธรรม และวฒั นธรรมในการดำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผอู้ ่นื ได้อยา่ งมีความสงบสันติ
สขุ ส่งิ หนึ่งท่เี ราไมอ่ าจเปล่ียนแปลงได้ คือ เราก็ตอ้ งศกึ ษาเรียนรู้และทำความเข้าใจในสถานการณ์น้ัน ๆ และ
พรอ้ มทจ่ี ะปรบั ตัวในการใชช้ วี ิตให้เขา้ กับปรากฏการณน์ นั้ ได้อยา่ งรู้เท่าทันและมีความสุขสืบตอ่ ไป
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๑. ความเป็นมา
เป็นท่ีทราบกันตลอดมาว่าระบบการศึกษาของประเทศไทยนั้น มีความผูกพันธ์กับสถาบัน
พระพุทธศาสนามาอย่างยาวนาน เพราะการศกึ ษาไทยในอดตี นับตงั้ แต่สมยั สโุ ขทยั อยุธยา จนกระทง้ั สมยั กรุง
รตั นโกสินทร์ตอนต้น การศึกษายังคงดำเนินไป เช่นเดียวกับสมัยกรุงศรีอยธุ ยากล่าวคอื มีวดั ได้ให้ความรแู้ ก่
พลเมืองให้เหมาะ แกค่ วามต้องการของประชาคม วัดและบ้านรับภาระในการอบรมสั่งสอนเด็ก ส่วนรัฐหรือ
ราชสำนกั ควบคุมตลอดจนให้ความอุปถัมภ์ตามสมควร ถ้าเป็นผู้หญิงก็ต้องเรียนรู้การบ้านการเรือนจากจาก
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ อื พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั หนา้ ๔๔
คณุ แม่คุณยาย ถ้าเป็นผู้ชายต้องศึกษาในวัด เพราะวัดเป็นท่รี วมสรรพวิชา การเรียนการสอนในสมยั กอ่ นเป็น
การฝึก การอ่านออก เขียนได้ จับประเด็นได้ เรียนรู้พ้ืนฐานคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร การคัดลายมือ
ศลิ ปะเฉพาะดา้ นเช่นช่างฝีมือ ชา่ งแกะสลัก ใครผา่ นการบวชเรยี นก็จะเป็นท่ยี อมรับของคนในสงั คม วา่ เปน็ ผู้ที่
มวี ิชาความรู้มีความสามารถ และตอ่ มาในสมัยอยุธยาไดใ้ หค้ วามสำคัญกบั การบวชเรียนมาก โดยมีหลักเกณฑ์
ว่าใครท่ีผ่านการบวชเรียนจะสามารถเข้ารับราชการได้ ระบบการศึกษาของไทย ได้มีการปฏิรูปครั้งใหญ่ใน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว เรม่ิ ต้นด้วยการจัดต้ังโรงเรียนหลวงข้นึ ซึ่งทำใหก้ ารศกึ ษาวัด
และโรงเรยี นแยกกนั ออกอยา่ งชดั เจน (คณะอาจารย์ภาควชิ าพื้นฐานการศึกษา. ๒๕๓๒, น. ๗)
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศให้การนับถือมาช้านาน
หลายศตวรรษและเป็นรากฐานสำคัญจารีต ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของคนไทย ชีวิตของประชาชนชาวไทย
แตเ่ ดมิ ผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนาและสถาบนั พระพุทธศาสนาอย่างแนน่ แฟ้น วัดไดก้ ลายเปน็ สว่ นประกอบ
สำคญั ของชมุ ชนท้องถนิ่ เปน็ ศูนย์กลางแห่งกิจกรรมต่าง ๆ ของชมุ ชน เปน็ แหล่งการศึกษาของประชาชนทุก
ระดับ ทำหน้าที่เป็นสถาบันหลักในการฝึกอบรมพระสงฆ์ที่จะสืบต่อพระพุทธศาสนาและพลเมืองท่ีจะ
รับผิดชอบสังคม จนถึงมีประเพณีบวชเรียนสำหรับเตรียมผู้นำทางสังคม ตั้งแต่ผู้นำครอบครัวเป็นต้นไป
พระภกิ ษุสงฆท์ ั่วไปมีฐานะเปน็ ครูอาจารย์ของประชาชน และพระสงฆ์มหี นา้ ที่เปน็ หวั หน้า วัดก็มีฐานะเป็นผนู้ ำ
ชุมชนหลักธรรมคำสอน และวัฒนธรรมท่ีสืบเน่ืองมาจากพระพุทธศาสนาได้หล่อหลอมกล่อมเกลาจิตใจ
ประชาชนชาวไทย ให้มีศีลธรรม จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยม ตามแบบอย่างของพุทธศาสนิกชนอันเป็น
ปัจจยั ท่ที ำใหส้ ังคมไทย มีความรม่ เยน็ เปน็ สขุ มเี อกลกั ษณข์ องตนเอง ประชาชนเอ้อื เฟือ้ เผือ่ แผ่อยูร่ ่วมกันฉนั ท์
พี่น้องมีความปรองดองสามัคคี เปน็ ปึกแผ่นมั่นคงตามสมควรแก่ปัจจัยตลอดมา โดยมีพระมหากษัตริย์ก็ทรง
เปน็ พทุ ธมามกะและทรงดำรงทศพิธราชธรรมในฐานะทท่ี รงเปน็ พระประมุขของชาติ เป็นผนู้ ำในการปกครอง
เม่ือทรงเห็นคุณค่าและความจำเป็นของพระพุทธศาสนาดังกล่าวมา ก็ได้รับเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก ทรง
อปุ ถัมภ์ปกปอ้ งสถาบันพระพุทธศาสนาด้วยการทำนุบำรุง ส่งเสริม และจดั วางระบบต่าง ๆ ให้เรียบร้อยและ
เป็นไป ด้วยดี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานญุ าติให้ตั้งวิทยาลยั ขึ้นในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร พระราชทานนามวา่ "มหามกุฏ
ราชวิทยาลัย" โดยมพี ระราชประสงคเ์ พื่อเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษสุ ามเณร ทรงอทุ ิศพระราชทรพั ย์
บำรงุ ประจำปีและก่อสร้างสถานศึกษาวิทยาลัยแห่งนี้ข้ึน จงึ ทรงต้ังวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการของมหามกุฏ
ราชวิทยาลัยขึ้น ๓ ประการ คือ (๑) เพื่อเป็นสถานศึกษาของพระภิกษุสามเณร (๒) เพื่อเป็นสถานศึกษา
วิทยาการอันเป็นของชาติภูมิและของต่างประเทศ (๓) เพื่อเป็นสถานที่เผยแผ่พระพุทธศาสนา จนกระท่ัง
พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี ๙ ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยข้ึน ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เม่ือวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ กำหนดให้เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นนิติบุคคล กำหนด
สถานภาพและวัตถุประสงค์ ไว้วา่ “ให้เป็นสถานศึกษาและวจิ ัย มีวัตถปุ ระสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม
สำนกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕
คมู่ ือพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั หน้า ๔๕
และให้บริการทางวิชาการพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมท้ังการทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม”
การสอนศลี ธรรมตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๘ ได้ม่งุ เน้นการพัฒนาจิตใจเป็น
สำคัญ และมีสาระของนโยบายตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ กำหนดแนวทางดำเนินงานด้านศาสนาไว้อย่าง
ละเอียด กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำแผนพัฒนาฯ ระยะที่ ๘ ทีก่ ำหนดนโยบายด้านการศาสนาไวเ้ ฉพาะแยก
จากด้านการศึกษาและวัฒนธรรม มีรายละเอียดเนื้อหา ระบุวัตถุประสงค์ นโยบาย และเป้าหมาย ตลอดจน
มาตรการครอบคลุมภารกิจของงานด้านศาสนาท่ีมุ่งเน้นให้ศาสนาเป็นรากฐานการพัฒนาจิตใจ คุณธรรม
จรยิ ธรรมของประชาชน ทำให้เกิดมาตรการตา่ ง ๆ ทีท่ ำให้เปา้ หมายท่วี างไว้สำเรจ็ ไดซ้ ง่ึ หน่ึงในวิธีการหลาย ๆ
วธิ ี คือ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนซ่ึงเป็นโครงการต่อเนอื่ งท่ีมุ่งเน้นในการพัฒนาท้ังผู้เรยี น ผู้สอน
และส่ือการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดการเรียนการสอน ด้ วยเหตุผลดังกล่าว
มาแล้วโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นจงึ เกิดขึน้
การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในแต่ละหน่วยงานหรือองค์การมีความ
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติฯ ตามความในมาตรานั้น ๆ โดยอาจจำแนกองค์กรหรือหน่วยงานหลักๆ คือ
สภามหาวทิ ยาลัย สภาวชิ าการ สำนกั งานอธกิ ารบดี สำนักงานวิทยาเขต บณั ฑิตวทิ ยาลยั คณะ สถาบัน สำนัก
ศนู ย์ และวทิ ยาลัย โดยเฉพาะส่วนการบริหารงานวิชาการของมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมีอิสระใน
การบริหารงานวิชาการตามกรอบของมหาวทิ ยาลัยในกำกบั ของรัฐ ภารกิจหน่ึงท่ีสำคัญของการจัดการศึกษา
คือ การบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้ให้การส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัด
กจิ กรรม โดยเปดิ โอกาสใหอ้ าจารย์และบคุ ลากรในทกุ ภาคสว่ นของมหาวทิ ยาลยั ไดจ้ ัดโครงการบรกิ ารวิชาการ
แก่สังคม ชุมชน ทอ้ งถ่ิน ในรูปแบบต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จุบัน กำหนดเฉพาะการสอนหรืออบรมศลี ธรรม
ให้กับเยาวชนในสถานศึกษา อาทิ โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน โครงการค่ายพัฒน าคุณธรรม
โครงการพัฒนาครูสอนวิชาพระพุทธศาสนาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา โครงการพระนักเผยแผ่ภาค
ภาษาอังกฤษ โครงการธรรมะประสานใจห่างภัยยาเสพติด โครงการจัดการศึกษาวิชาพระพุทธศาสนาวัน
อาทิตย์ โครงการจริยธรรมสัญจร โครงการพระธรรมวิทยากร โครงการสอนพระพุทธศาสนาเยาวชน และ
โครงการแกน่ ธรรมนำชีวติ เป็นต้น ซึ่งโครงการทงั้ หมดเกิดข้ึนภายใต้หน่วยงานของมหาวิทยาลัยท้ังสิ้น ดังน้ัน
การบริหารจดั การจึงเปน็ ไปตามกำหนดระเบียบของหนว่ ยงานน้ัน ๆ และเป็นทส่ี ังเกตว่าโครงการส่วนมากเป็น
การจัดกจิ กรรมครัง้ เดียว ทถี่ ูกกำหนดด้วยระยะเวลา และงบประมาณของมหาวิทยาลัย
๒. การเกิดขนึ้ ของโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน
การเกดิ ขึ้นของโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียนน้ัน เกิดจากปัญหาการขาดศลี ธรรมของเยาวชน
ประชาชนในสังคมไทย ดงั ที่ปรากฏในหลักการของโครงการ ที่ว่า ประเทศไทยเป็นประเทศทปี่ ระชาชนยอมรับ
นับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติมาต้ังแต่อดีต พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงเป็น
พุทธมามกะ และทรงนำหลักทศพธิ ราชธรรมเป็นแนวทางการปกครอง ดังเชน่ พระปฐมบรมราชโองการของ
สำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
๒๔๘ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทร ๐๒ – ๔๔๔ - ๖๐๐๐ ต่อ ๑๐๙๒-๑๐๙๕