The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานกรณีศึกษา วิจัย CASE STUDY ธิติ เผ่ามณี 64741622

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ormsin_tp, 2021-10-14 02:35:13

รายงานกรณีศึกษา วิจัย CASE STUDY ธิติ เผ่ามณี 64741622

รายงานกรณีศึกษา วิจัย CASE STUDY ธิติ เผ่ามณี 64741622

รายงานกรณศี กึ ษา
“การพฒั นาทกั ษะการอ่านโนต้ ดนตรีสากล”

เสนอ
อาจารย์ทัศนยี ์ บุญแรง

จัดทำโดย
นายธิติ เผา่ มณี
รหสั 64741622 Section. 06
หมเู่ รยี น ป 64. ป.บณั ฑิต 2.6

รายงานนเ้ี ปน็ ส่วนหนึ่งของวิชา จติ วทิ ยาสำหรับครู (ED 5301)
หลักสตู รประกาศนียบตั รบัณฑติ วชิ าชีพครู ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

คำนำ

จติ วทิ ยาสําหรับครู เปนศาสตรที่ศึกษาเพ่อื ใหผูสอนมีความรูความเขาใจความแตกตาง
และความตองการของผูเรียน ในอันที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนไปสูแนวทาง
อันพึงประสงคได โดยผูสอนควรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความพรอมของผูเรียน ทั้งทางดาน
รางกาย จิตใจ อารมณ และดานสติปญญา เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการนักเรียนในแต่ละช่วงวัย เข้าใจ
ความแตกต่างในนกั เรียนแต่ละคน อกี ทั้งมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับทฤษฎีของนกั จิตวิทยาที่อธิบาย
พฒั นาการแต่ละดา้ นของมนษุ ย์ ในทุก ๆ ดา้ น มเี ทคนิคในการจูงใจ การให้คำปรกึ ษา การช่วยเหลอื ดู
และ พัฒนา และส่งเสริม ทั้งน้ีเพื่อให้ครูนำไปปรับใช้กับนักเรียน และสามารถรับมือกับปัญหาด้าน
จิตวิทยาต่างๆ อันเป็นส่วนช่วยให้การเรียนรู้ของนักเรียน และการสอนของครู เป็นไปได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลมากทส่ี ุด

รายงานฉบับนี้ ไดจ้ ัดทำข้ึนจากกรณศี ึกษา โดยมกี ารเก็บข้อมลู อยา่ งรอบด้าน การสังเกต
การสัมภาษณ์ และมีการนำความรู้ทางด้านจิตวิทยาสำหรับครู รวมไปถึงทฤษฎีทางด้านจิตวิทยา
นำไปใช้ในการเรียนรู้พฤติกรรมของนักเรียนในความดูแล เพื่อพัฒนาและส่งเสริมนักเรียนตาม
ศักยภาพความสามารถของนักเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการและความสามารถที่ดีขึ้นในทกุ
ดา้ น หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด ขออภัยมา ณ ทนี่ ้ดี ว้ ย

(นายธติ ิ เผ่ามณี)
นักศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนยี บตั รบัณฑติ วิชาชพี ครู 1/2564

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นตัวของกรณีศึกษา

ข้อมูลสว่ นบคุ คลของ CASE STUDY

ประวัติสว่ นตวั
ชือ่ - นามสกลุ เด็กชายสิทธินัน ไชยวงค์
ช่อื เล่น บอล
เกิดวันท่ี 12 ตุลาคม 2550
ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ 92 หม่ทู ี่ 16 ตำบล ช่างเคงิ่ อำเภอ แมแ่ จ่ม จังหวดั เชยี งใหม่
เบอร์โทรศพั ท์ 063-7321912
ระดับการศึกษา มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
สถานศึกษา โรงเรยี นแมแ่ จ่ม
ครทู ีป่ รึกษา ครูนชิ ากร อนิ ตะ๊ คำ

ชอ่ื บิดา นายสันติ ไชยวงค์
ชื่อมารดา นางนนั ทา ไชยวงค์
สถานภาพครอบครวั พ่อแมอ่ ยดู่ ว้ ยกัน
นอ้ งอาศัยอยู่กบั พ่อแม่
พ่นี อ้ ง 2 คน

เพือ่ นสนิท เด็กชายธนภทั ร ไชยมงคล
วิชาทีช่ อบ คณติ
วชิ าท่ไี ม่ชอบ ไมม่ ี
ปญั หาในทางด้านดนตรี สับสนในการอา่ นโนต้
เปา้ หมายในอนาคต ยงั ไม่มี

สว่ นท่ี 2 ข้อมลู พฒั นาการ

2.1 ลกั ษณะพฒั นาการในแต่ละดา้ น (ร่างกาย อารมณ์ สงั คม สติปัญญา บุคลิกภาพ หรืออนุ สิ ยั )
- ดา้ นรา่ งกาย
นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ลักษณะรูปร่าง สรีระ เป็นไปตามวัยและตาม
เกณฑ์มาตรฐาน ปราศจากความบกพร่องทางกาย มีภูมิต้านทานโรคและปราศจากภาวะเสี่ยงต่อ
ปัญหาทางกายต่างๆ ไมค่ อ่ ยพบปญั หาเรอ่ื งของการเจบ็ ปว่ ย

- ดา้ นอารมณ์
นอ้ งมลี กั ษณะเป็นคนใจเย็น ไมฉ่ ุนเฉยี ว ขน้ี อ้ ยใจ เป็นคนน่ารกั มคี วามอดทนได้ในระดับหนึ่ง เขา้

กับเพื่อน ๆ ได้ หงุดหงดิ งอน และน้อยใจหากไม่ไดร้ ับการชว่ ยเหลอื จากคนรอบข้างในเวลาท่ตี ้องการ

- ดา้ นสงั คม
น้องมีความเปน็ กลั ยาณมิตร มที กั ษะทางสังคมที่ดี ชอบช่วยเหลือผ้อู ่นื อยูร่ ่วมและทำงานร่วมกับ

ผอู้ นื่ ได้ มีมนุษยสมั พันธ์ทีด่ ี แตบ่ างคร้ังกจ็ ะจรงิ จังกบั การทำงานหรือส่งิ ท่ตี นเองชอบ ทำให้ชอบปลีก
ตัวบ้างบางเวลา มีความรับผิดชอบมาก ทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อื่น มีความพยายามที่จะบริหารจัดการ
ตนเอง โดยพยายามไมพ่ งึ่ พาผอู้ ื่น

- ดา้ นสติปัญญา
น้องมที ักษะในด้านการเรยี นร้เู นื้อหาหรือความรู้ใหม่ ๆ ในระดับปานกลาง ในการทำความเข้าใจ

เนอ้ื หา หรือความรใู้ หม่ จะคอ่ นขา้ งใช้เวลา และต้องมเี ทคนิคชว่ ยในเรื่องการจดจำ เพราะน้องจดจำ
เน้ือหาไดช้ า้

- ดา้ นบุคลกิ ภาพ / อุปนสิ ยั
น้องมีคนน่ารัก อารมณด์ ี ขเี้ ลน่ สนกุ สนาน รา่ เรงิ ตามวยั น้อยใจบ้างในบางคราว เริ่มแสดงออก

ถึงสิ่งตนเองชอบ สิ่งที่ตนเองถนัด และจะมีความตั้งใจมาก ถ้าได้ทำในสิ่งที่ชอบ มีความมั่นใจใน
ตัวเองพอสมควร เชื่อมั่นในตนเอง น้องจะรู้สึกดีใจที่สามารถทำอะไรได้ และเพื่อนรอบข้างให้การ
ยอมรับหรอื ช่ืนชม

2.2 ขอ้ มลู การวิเคราะหพ์ ัฒนาการ
1) กรณีศกึ ษาอยใู่ นวยั ใด เพราะอะไร
จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งประวัติส่วนตัว และลักษณะพัฒนาการในแต่ละด้าน

(ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญา บุคลกิ ภาพ หรืออุนสิ ยั ) พบว่า น้องอยใู่ นช่วงวยั รุน่ ตอนตน้

2) พฤติกรรมตามพฒั นาการของวยั ดงั กล่าวในข้อ 1 เปน็ อย่างไร
เพราะน้องมีพฤตกิ รรมที่เด่น ๆ และสอดคลอ้ งกับพฤติกรรมของวัยรุ่นตอนตน้ ดงั นี้
- การรู้สกึ ภาคภมู ิใจ เมอื่ ไดร้ ับการยอมรบั จากเพ่ือนหรอื คนรอบข้าง
- การมอี ารมณห์ งุดหงิด เม่ือไม่ได้ตามทต่ี นเองตอ้ งการ
- มคี วามเชื่อม่นั ในตนเอง
- มีการบริหารจดั การตนเองโดยพยายามไม่ขอความชว่ ยเหลือจากเพื่อน

- มีความสนใจในดนตรี
- การร้จู กั ว่าตนเองชอบอะไร หรือไม่ชอบอะไร และถนดั อะไร
- ลักษณะรูปรา่ งที่เป็นไปตามเกณฑ์
- มคี วามรบั ผดิ ชอบมาก ทงั้ ตอ่ ตนเอง ตอ่ ผอู้ ืน่
- เพื่อนและคนรอบข้างมีอทิ ธิพลตอ่ จิตใจ

3) พฤตกิ รรมตามพัฒนาการของกรณศี ึกษามีความสอดคล้องหรอื แตกตา่ งจากพัฒนาการตามวัย
หรือไม่ อยา่ งไร

- ไม่แตกต่าง ค่อนข้างที่จะเป็นไปตามพัฒนาการตามวัย เห็นได้ชัดจากการเก็บข้อมูล
ของนกั เรียน ซ่ึงเราจะพบพฤตกิ รรมและลกั ษณะพฒั นาการของนักเรยี นท่ีบง่ ชี้ไดช้ ัดว่า เป็นกลมุ่ ของวัยรุ่น
ตอนตน้

4) พฤติกรรมของกรณีศกึ ษาสอดคลอ้ งกบั ทฤษฎพี ฒั นาการใด? ของใครท?ี่ กลา่ ววา่ อย่างไร?
- กลุ่มมนุษยนิยม (The Humanistic Model) มีความเชื่อว่าโดยพื ้นฐานแล้วมนุษย์มี

แต่ความดี มีความตอ้ งการท่ีจะพัฒนาไปข้างหนา้ และมนษุ ย์เปน็ ผู้กําหนดพฤติกรรมของตนเอง มอี สิ ระใน
การเลอื กกระทําพฤติกรรมตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง

- อีริคสัน (Erik H. Erikson) เชื่อว่าพัฒนาการของบุคคลเป็นผลจากการทาํ งานของอีโก้
(Ego) เป็นการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอนไปตลอดชีวิตของบุคคลและเป็นการพัฒนาลักษณะทางสรีระและ
สังคมไปพร้อมๆ กัน ระหว่างการพัฒนาจะเกิดภาวะวิกฤติ (Crisis) ซึ่งเกิดได้ท้ังทางบวกและทางลบ ถ้า
ประสบความสําเร็จ (Ego Achievement) ก็จะได้ผลทางบวก เช่น ความไว้วางใจ(Trust) ความเป็นตัว
ของตัวเอง (Autonomy) ในทางกลับกัน ถ้าล้มเหลว (Ego Damage) ก็จะเกิดผลทางลบ เช่น ความไม่
ไว้วางใจ (Mistrust) ความละอาย (Shame) ความสงสัย (Doubt)

5) หากตอ้ งการส่งเสรมิ พัฒนาการของกรณีศึกษาควรสง่ เสริมพฒั นาการด้านใดบ้าง? และจะต้อง
ทำอยา่ งไร?

เน่อื งด้วยน้องมีความต้ังใจเป็นทนุ เดิมสำหรับการเรียนรู้ แต่ปญั หาท่ีพบ คือเองของการ
จดจำ โดยเฉพาะในเร่ืองของการอ่านโนต้ ดนตรี ส่งผลใหน้ ้องไมส่ ามารถอ่านโนต้ ดนตรไี ด้ทันเพอ่ื น ช้ากว่า
เพ่อื นเล็กนอ้ ย เม่อื มีการซอ้ มดนตรีร่วมกันท้งั วงดนตรี ทำใหพ้ บปญั หาคือการสะดุดในจังหวะของการเล่น
เพราะ อ่านโน้ตสากลไม่ออก มีความสับสนในบรรทัด 5 เส้น และจังหวะของการใช้ลมเป่าเครื่องดนตรี
ประเภทเปา่

ส่วนท่ี 3 ข้อมูลเก่ยี วกับการเรยี นรูแ้ ละพฤติกรรมการเรยี นรู้

1) พฤติกรรม ความสามารถ และความสนใจในการเรยี น
นอ้ งมคี วามสนใจทางด้านดนตรี มคี วามสามารถในการเล่นดนตรี แตย่ ังไมค่ ล่องเพราะติดปัญหา

ในเรอ่ื งของการอา่ นโน้ตดนตรี แต่มคี วามกระตือรอื รน้ สนใจทจี่ ะเรียนรู้

2) ปญั หา หรือลักษณะพฤตกิ รรมท่โี ดดเดน่ การเรียนรู้
การจดจำโนต้ ดนตรีไมไ่ ด้ การจดจำเสียงการเปา่ ลมไมไ่ ด้

3) วธิ กี ารสง่ เสรมิ / ชว่ ยเหลือ / พัฒนาใหเ้ กดิ การเรยี นร้ทู ่ดี ีขึ้น
การสรา้ งเทคนคิ ในการจดจำตัวโน้ตและเสียงการเป่าลม การหายใจ ที่เฉพาะเจาะจงสำหรับตัว

ของน้อง

ส่วนที่ 4 แนวทางการช่วยเหลอื ส่งเสรมิ และพัฒนา
1) พฤติกรรมของกรณีศกึ ษาท่คี วรปรบั เปลี่ยนให้ดยี ง่ิ ขนึ้
- การจดจำตวั โน้ตดนตรสี ากล การใช้ลมหายใจเปา่ ลม และเสียงทเี่ ป่าออกมา

2) วิธกี ารในการใหก้ ารแนะแนว ชว่ ยเหลือ และใหค้ ำปรกึ ษา
- สร้างความสมั พันธ์ ความคนุ้ เคยกบั นักเรียน เพ่อื ให้เกดิ ความไว้วางใจ เชือ่ ใจ และเช่ือมน่ั
- สังเกตปัญหาที่เกิดขนึ้ กบั ตวั นอ้ ง
- พดู คุย ซักถามปญั หากบั ตัวนอ้ ง เพือ่ ตรวจสอบวา่ นอ้ งรปู้ ัญหาของตนเองหรอื ไม่
- ร่วมกนั หาแนวทางหรือเทคนคิ ในการพัฒนาทักษะการจดจำของน้อง

3) กจิ กรรมท่ีจะชว่ ยในการพฒั นาศักยภาพของกรณีศกึ ษา
- กิจกรรมภาคปฏบิ ัติ การซ้อมและฝึกแบบตัวตอ่ ตวั ใกลช้ ดิ และมีเพ่ือนรว่ มฝึกไม่เกิน 1 คน
- กิจกรรมการทบทวนและฝึกปฏิบัติเป็นระยะ และต่อเนื่องโดยมีการกำหนดระยะเวลา อย่าง

นอ้ ย 3 วัน ตอ่ สปั ดาห์ วันละ 1 ชม.

4) บคุ คลทตี่ อ้ งประสานขอความร่วมมือมใี ครบา้ ง? และจะขอความรว่ มมือให้ทำอะไร? อย่างไร?
- ผปู้ กครอง ช่วยในส่วนของการใหก้ ำลงั ใจ และถามไถ่พัฒนาการของนอ้ ง เพือ่ ให้นอ้ งไดท้ บทวน

และเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง
- เพ่ือนในวยั เดยี วกนั และรุ่นพ่ี ทค่ี อยใหก้ ำลงั และช่วยเหลือยามท่ีน้องตอ้ งการ

5) ผลการชว่ ยเหลอื ส่งเสริม และพัฒนากรณศี กึ ษา (ถ้ามี : หากได้ลงมือชว่ ยเหลอื จริง)
- นอ้ งมีทกั ษะในการจดจำตวั โน้ตที่ดีข้ึน เมือ่ เขา้ ใจและจดจำตัวโน้ตได้ ทำใหเ้ ข้าใจในจังหวะการ

ปลอ่ ยลมหายใจเพื่อเป่าลมในเคร่ืองดนตรีให้เกิดเสียงที่ถูงตอ้ ง ทำใหเ้ กดิ ความผิดพลาดในการเล่นรวมวง
น้อยลง ไดร้ ับการช่ืนชมและยอมรบั จากเพื่อน ๆ และพ่ี ๆ

- นอ้ งมคี วามมน่ั ใจมากข้ึน และอยากจะพฒั นาตนเองใหม้ ีความชำนาญมากขน้ึ

สว่ นท่ี 5 ภาคผนวก

1) ข้อมลู จากการใชเ้ ครือ่ งมือทางจิตวิทยาตา่ งๆ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
จากการศึกษาค้นคว้ากรณีศึกษา เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า

2019 ทำใหโ้ รงเรยี นมีการเปิด – ปดิ การเรียนการสอน ท้ังรปู แบบ Onsite และ Online ทำใหไ้ ด้เจอหน้า
นักเรียน เพียง 2 สปั ดาห์ สว่ นที่เหลอื เปน็ การพบนกั เรยี นผ่านโปรแกรมการสอนในระบบ Online ผ้ศู กึ ษา

ได้ใช้โปรแกรม meet เนอื่ งจากใช้งานง่าย สะดวกเหมาะกรณีศกึ ษา โดยในการทำวิจยั มีการฝึกปฏิบัติยู่
ท้ังหมด 10 สปั ดาห์ ดังนี้

สปั ดาหท์ ่ี เนือ้ หา กจิ กรรม เครอ่ื งมือ ผลลพั ธ์

1 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขยี นโน้ตสากล - แบบฝึกหดั เขียน ครั้งที่ 1 นักเรียนยังคง

กลม โนต้ ตวั ขาว - อ่านโนต้ สากล โน้ตสากล ไม่เข้าใจและเขียน

และโน้ตตัวดำ - ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝกึ หดั ส ล ั บ ก ั น เ ร ี ย ก ชื่ อ

บน บร ร ทัด 5 ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต สลับกนั

เสน้ ใหม่ตงั้ แต่ต้น สากล ครั้งที่ 3 นักเรียน

บนตำแหน่งของ และการปฏิบัติ สามารถจดจำได้ดีขึน้

เสียงโดและ เคร่อื งดนตรี

เสียงเร - ยโู ฟเนยี ม

2 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขียนโนต้ สากล - แบบฝกึ หดั เขียน ครั้งที่ 1 นักเรียนยังคง

กลม โนต้ ตัวขาว - อ่านโนต้ สากล โน้ตสากล ไม่เข้าใจและเขียน

และโน้ตตัวดำ - ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝึกหดั ส ล ั บ ก ั น เ ร ี ย ก ชื่ อ

บ น บ ร ร ท ั ด 5 ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต สลับกันกับ บรรทัด5

เส้นบนตำแหน่ง ใหม่ตง้ั แตต่ ้น สากล เส้นบนตำแหน่งของ

ข อ ง เ ส ี ย ง มี - เปรียบเทียบโนต้ โนต้ และการปฏิบัติ เสียง โด เร มี ฟา

และฟา ตัวกลม โน้ตตัวขาว เคร่อื งดนตรี ครั้งที่ 3 นักเรียน

และโน้ตตัว ดำ บน - ยโู ฟเนยี ม สามารถจดจำไดด้ ีขึ้น

บรรทัด5 เส้นบน

ตำแหน่งของเสียง โด

เร มี และฟา

3 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขยี นโน้ตสากล - แบบฝึกหดั เขยี น ครั้งที่ 1 นักเรียนยังคง

กลม โน้ตตัวขาว - อ่านโนต้ สากล โนต้ สากล ไม่เข้าใจและเขียน

และโน้ตตัวดำ - ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝกึ หดั ส ล ั บ ก ั น เ ร ี ย ก ช่ื อ

บ น บ ร ร ท ั ด 5 ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เร่ิม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต สลับกันกับ บรรทัด5

เส้นบนตำแหน่ง ใหมต่ งั้ แตต่ ้น สากล เส้นบนตำแหน่งของ

ของเสียง ซอล - เปรียบเทยี บโน้ต โนต้ และการปฏิบัติ เสยี ง โด เร มี ฟา ซอล

ลา และที ตัวกลม โน้ตตัวขาว เคร่อื งดนตรี ลา ที

และโน้ตตัว ดำ บน - ยโู ฟเนยี ม ครั้งที่ 3 นักเรียน

บรรทัด5 เส้นบน ส า ม า ร ถ จ ด จ ำ ไ ด้

ตำแหน่งของเสยี ง ซอล พอใช้ได้

ลา และ ที

สปั ดาหท์ ี่ เน้ือหา กจิ กรรม เคร่อื งมอื ผลลพั ธ์

4 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขียนโนต้ สากล - แบบฝกึ หัดเขียน ครั้งที่ 1 นักเรียนจดจำ

กลม โน้ตตัวขาว - อ่านโนต้ สากล โน้ตสากล ได้ดีขึ้นแต่ยังเรียกช่ือ

และโน้ตตัวดำ -ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝกึ หัด สลับกันในบางตัวใน

บ น บ ร ร ท ั ด 5 ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต บ ร ร ท ั ด 5 เ ส ้ น บ น

เส้นบนตำแหน่ง ใหม่ตง้ั แตต่ น้ สากล ตำแหน่งของเสียง มี

ของเสียง ทั้ง 7 - เปรียบเทยี บโน้ต โนต้ และการปฏิบัติ ฟา ซอล ลา ที

เสยี ง ตัวกลม โน้ตตัวขาว เครื่องดนตรี ครั้งที่ 3 นักเรียน

และโน้ตตัว ดำ บน - ยโู ฟเนียม ส า ม า ร ถ จ ด จ ำ ไ ด้

บรรทัด5 เส้นบน พอใช้ได้

ตำแหน่งของเสียง โด

เร มี ฟา ซอล ลา และ

ที

5 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขยี นโนต้ สากล - แบบฝกึ หัดเขยี น ครั้งที่ 1 นักเรียนจดจำ

กลม โนต้ ตัวขาว - อ่านโน้ตสากล โน้ตสากล โ น ้ตไ ด้ดีขึ้นแต่ยัง

และโน้ตตัวดำ -ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝึกหดั เรียกชื่อสลับกันใน

บ น บ ร ร ท ั ด 5 ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต บ ร ร ท ั ด 5 เ ส ้ น บ น

เส้นบนตำแหน่ง ใหม่ต้ังแตต่ น้ สากล ตำแหน่งของเสียง มี

ข อ ง เ ส ี ย ง ท่ี - เปรียบเทยี บโนต้ โนต้ และการปฏิบัติ ฟา ซอล ลา และ ที

สลับกนั ตัวกลม โน้ตตัวขาว เครื่องดนตรี ครั้งที่ 3 นักเรียน

และโน้ตตัว ดำ บน - ยโู ฟเนียม ส า ม า ร ถ จ ด จ ำ ไ ด้

บรรทัด5 เส้นบน พอใชไ้ ด้

ตำแหน่งของเสียง โด

เร มี ฟา ซอล ลา ที

สลับกนั

6 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขียนโน้ตสากล - แบบฝึกหดั เขยี น ครั้งที่ 1 นักเรียนยัง

กลม โนต้ ตัวขาว - อ่านโน้ตสากล โน้ตสากล จดจำโน้ต เรียกชื่อ

และโน้ตตัวดำ - ร้องโนต้ สากล - แบบฝกึ หัด สลับกันในบางตัวโน้ต

บ น บ ร ร ท ั ด 5 -ปฏิบัติเครื่องดนตรี ก า ร อ ่ า น โ น้ ต และออกเสียงร้องกับ

เส้น และออก ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม สากล โน้ตบนบรรทัด5 เส้น

เสียงร้องตามตวั ใหม่ตั้งแตต่ น้ และการปฏิบัติ ตำแหน่งของเสียง โด

โน้ต - เปรียบเทยี บโนต้ โน้ต เคร่ืองดนตรี เร มี ฟา ซอล ลา ที

ตัวกลม โน้ตตัวขาว - ยูโฟเนยี ม ยงั ไม่ถูกตอ้ ง

และโน้ตตัวดำ บน ครั้งที่ 3 นักเรียน

บรรทัด5 เส้นบน สามารถจดจำและออก

ตำแหน่งของเสียง โด เสียงรอ้ งได้พอใช้ได้

เร มี ฟา ซอล ลา ที

สปั ดาหท์ ี่ เน้อื หา กิจกรรม เครอ่ื งมือ ผลลพั ธ์

7 ฝึกเขียนโน้ตตัว - เขยี นโนต้ สากล - แบบฝกึ หดั เขยี น ครั้งที่ 1 นักเรยี นจดจำ

กลม โน้ตตัวขาว - อา่ นโนต้ สากล โน้ตสากล เรียกชื่อสลับกัน และ

และโน้ตตัวดำ - ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝึกหดั ร้องสลับเสียงกันกับ

บ น บ ร ร ท ั ด 5 ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต โน้ตบนบรรทัด5 เส้น

เส้นบนตำแหน่ง ใหม่ต้ังแต่ตน้ สากล ตำแหน่งของเสียง โด

ของเสียงต่าง ๆ - เปรยี บเทียบโนต้ โนต้ และการปฏิบัติ เร มี ฟา ซอล ลา และ

และออกเสียง ตัวกลม โน้ตตัวขาว เคร่ืองดนตรี ที

รอ้ งตามตัวโน้ต และโน้ตตัว ดำ บน - ยูโฟเนียม ครั้งที่ 3 นักเรียน

บรรทัด5 เส้นบน ส า ม า ร ถ จ ด จ ำ ไ ด้

ตำแหน่งของเสียง โด พอใช้ได้

เร มี ฟา ซอล ลา และ

ที

8 ฝึกเขียนตัวหยุด - เขยี นโน้ตสากล - แบบฝกึ หัดเขยี น ครั้งที่ 1 นักเรียนเร่ิม

4 จงั หวะ - อ่านโน้ตสากล โนต้ สากล เข้าใจและเหน็ ภาพของ
ตัวโน้ตในท่อนจังหวัด
- ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝกึ หัด

ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต ต่าง ๆ

ใหมต่ ัง้ แต่ตน้ สากลและ ครั้งที่ 3 นักเรียน

- ฝึกนับจังหวะ จาก การปฏิบัติเครื่อง สามารถจดจำได้ดีข้ึน

เนื้อเพลงท่ีมีโนต้ ง่าย ๆ ดนตรี เข้าใจจังหวะของช่อง

และปรบมอื ตามจังหวะ - ยูโฟเนียม ตัวโน้ตและตัวหยุด 4

จงั หวะ

9 ฝึกเขียนตัวหยุด - เขยี นโน้ตสากล - แบบฝกึ หดั เขยี น ครั้งที่ 1 นักเรียนเริ่ม

2 จงั หวะ - อ่านโน้ตสากล โน้ตสากล เข้าใจและเหน็ ภาพของ
ตัวโน้ตในท่อนจังหวัด
- ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝกึ หดั

ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต ต่าง ๆ

ใหมต่ ั้งแต่ตน้ สากลและ ครั้งที่ 3 นักเรียน

- ฝึกนับจังหวะ จาก การปฏิบัติเครื่อง สามารถจดจำได้ดีขึ้น

เนื้อเพลงท่ีมีโน้ตง่าย ๆ ดนตรี เข้าใจจังหวะของช่อง

และปรบมอื ตามจังหวะ - ยูโฟเนียม ตัวโน้ตและตัวหยุด 2

จงั หวะ

10 ฝึกเขียนตัวหยุด - เขียนโนต้ สากล - แบบฝกึ หดั เขียน ครั้งที่ 1 นักเรียนเร่ิม

1 จงั หวะ - อ่านโน้ตสากล โน้ตสากล เขา้ ใจและเหน็ ภาพของ
ตัวโน้ตในท่อนจังหวัด
- ปฏิบัติเครื่องดนตรี - แบบฝกึ หัด

ทำซ้ำ ๆ หากผิด ก็เริ่ม ก า ร อ ่ า น โ น้ ต ตา่ ง ๆ

ใหม่ตง้ั แต่ต้น สากลและ คร้งั ที่ 3 นกั เรยี นจดจำ

- ฝึกนับจังหวะ จาก การปฏิบัติเครื่อง ไดด้ ีขึน้ เข้าใจจงั หวะ

เนื้อเพลงที่มีโนต้ ง่าย ๆ ดนตรี ของชอ่ งตัวโน้ตและตัว

และปรบมอื ตามจังหวะ - ยูโฟเนยี ม หยุด 1 จงั หวะได้ดีขนึ้

2) ภาพประกอบ


Click to View FlipBook Version