The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maisuree1780, 2021-10-30 14:44:37

วารสารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย

วารสารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย

ปี ที่ 2 ฉ บั บ ที่ 1 ม ก ร า ค ม - เ ม ษ า ย น

วารสารวัฒนธรรม
เเต่ละภาคของ
ประเทศไทย

(THE CULTURE OF THAILAND)







ISSN 4568659 (PRINT)
ISSN 3446881 (ONLINE)

วารสารวัฒนธรรม
เเต่ละภาคของ
ประเทศไทย

THE CULTURE OF THAILAND

วารสารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย
( The Culture Of Thailand )

ISSN 4568659 (Print)
ISSN 3446881 (Online)

วัตถุประสงค์

1.เพ่ือเสนอบทความวิชาการเกี่ยวกบั วฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทยของบุคลากรสมาคม
วฒั นธรรมและหน่วยงานตา่ งๆ

2. เพอ่ื เผยแพร่และส่งเสริมความรู้เก่ียวกบั การศึกษาวฒั นธรรมตา่ งๆ ของประเทศไทย
ไปสู่บคุ ลากร ผปู้ ฏิบตั ิงาน นิสิต และนกั ศึกษารวมถึงประชาชนผสู้ นใจทว่ั ไปท้งั ระดบั ประเทศแลระดบั
นานาชาติ

บรรณาธิการที่ปรึกษา นายฟุรกรณ์ รามนั บากา ประธานสมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย

บรรณาธกิ ารอานวยการ นายธนชั ญา หมดั โส๊ะ รองประธานสมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย

บรรณาธิการทีบ่ ริหาร

นางสาวเพญ็ พชิ ชา อินทร์พรหม หัวหนา้ ฝ่ายบริหารสมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย

ผู้ช่วยบรรณาธกิ าร นางสาวปาภาวดี กายรัตน์ เลขานุการสมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย

กองบรรณาธิการ สมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย
นางสาวคทั ลิยา ศรีมณี สมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย
นางสาวอญั ชิสา ปุณขนั ธ์ สมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย
นางสาวปรีชา ดวงดี สมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย
นางสาวกนกพร ราตรี สมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย
นายประยทุ ธ์ิ คงกะพนั

ผู้ทรงคุณวฒุ พิ จิ ารณาบทความ (Peer Review)

นายกฤษ เกษมสรรค์ กระทรวงวฒั นธรรม
นางสาวฟ้าใส จินดารัตน์ กระทรวงวฒั นธรรม
นางสาวพรสวรรค์ รัศมี กรมส่งเสริมวฒั นธรรม
นางสาวจนั ทรา จินนาอา้ ย เจา้ หนา้ ท่ีอวุโสสมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย
นางสาวพรประภา คงรักสงบ เจา้ หนา้ ที่อวโุ สสมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย

กาหนดตพี มิ พ์

ปี ละ 2 ฉบบั ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สิงหาคม ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน-ธนั วาคม

ฝ่ ายประสานงาน นายอินทร ลแู ปง, นายประทีป เรืองรัตน์ และนายวิรุตน์ อาทิตย์

ผ้จู ัดทา สมาคมส่งเสริมวฒั นธรรมประเทศไทย ถนนรามคาแหง แขวงนาบิง้ เขตหลกั เกา้ กรุงเทพมหานคร
10210 โทรศพั ท์ 0996678990 โทรสาร 098674367

Email : [email protected]

พมิ พ์ท่ี อาร์ทเวิร์ค 5 ถนนรามคาแหง แขวงนาบิง้ เขตหลกั เกา้ กรุงเทพมหานคร 10210
โทรศพั ท์ 0996678990 Email : [email protected]

บทความที่ตีพมิ พท์ ุกเรื่องไดร้ ับการตรวจความถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการโดยผทู้ รงคณุ วุฒิ
อนี่ง ทศั นะ และขอ้ คิดเห็นใดๆ เป็นความคิดเห็นของผเู้ ขียน และไม่ถือเป็นทศั นะ
หรือความรับผิดชอบของคณะบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ

วารสารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย เขา้ สู่ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – เมษายน 2564 อยา่ ง
สวยงามและถือวา่ เป็นปี ที่วารสารกาลงั เติบโตและเบ่งบานเขา้ หามวลชนมากข้นึ สาหรับวารสารวฒั นธรรม
วฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ฉบบั น้ียงั คงเน้ือหาสาระที่เกี่ยวขอ้ งกบั ประวตั ิความเป็นมาของ
วฒั นธรรมเเละการนาเสนอวฒั นธรรมต่างๆ แต่ละภมู ิภาคที่สาคญั ในประเทศไทย ซ่ึงประกอบดว้ ยบทความ
วชิ าการจานวน 5 เรื่อง ไดแ้ ก่ วฒั นธรรมภาคเหนือ วฒั นธรรมภาคอีสาน วฒั นธรรมภาคกลาง วฒั นธรรมภาคใต้
และความแตกต่างระหวา่ งวฒั นธรรมสากลกบั วฒั นธรรมไทย ในปัจจุบนั การเรียนรู้วฒั นธรรมต่างๆ ของ
ประเทศตนเองน้นั เป็นเรื่องที่สาคญั อยา่ งยงิ่ เเละเป็นเร่ืองท่ีจาเป็นตอ่ ทุกๆคนที่จะตอ้ งศึกษาเเละทาความเขา้ ใจ
ถึงวฒั นธรรมของแตล่ ะภมู ิภาค เเละยอมรับถึงความเเตกต่างใหไ้ ด้ การท่ีเราเรียนรู้เเละเขา้ ใจน้นั ทาใหเ้ ราได้
สัมผสั ถึงคุณคา่ ของวฒั นธรรมแต่ละภาคน้นั นบั ไดว้ า่ เป็นสิ่งท่ีดีและควรปฏิบตั ิเป็นอยา่ งยง่ิ

กระผมขอขอบคณุ ทกุ ท่านท่ีติดตามอา่ นวารสารวฒั นธรรมแตล่ ะภาคของประเทศไทย มาอยา่ ง
ต่อเนื่องขอขอบคณุ ผเู้ ขียนบทความท่ีเห็นความสาคญั ในการพฒั นาองคค์ วามรู้ดา้ นวฒั นธรรมของประเทศไทย
ซ่ึงไดก้ ลน่ั กรองมาจนเป็นบทความท่ีมีคุณภาพเผยแพร่ความรู้ใหก้ บั ผอู้ า่ นทกุ ทา่ นขอขอบพระคณุ กอง
บรรณาธิการและผทู้ รงคณุ วุฒิ ทกุ ท่านท่ีไดก้ รุณาตรวจสอบคุณภาพบทความอย่างเขม้ ขน้ เพ่ือใหว้ ารสาร
วฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย คงมาตรฐานเน้ือหาถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการน้ีทางวารสารกาลงั วางแผน
เพือ่ ขบั เคลื่อนวารสารใหก้ า้ วไปสู่สากลมากยง่ิ ข้นึ จึงหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ จะไดร้ ับการสนบั สนุนดว้ ยดีจากทุกฝ่าย
เฉกเช่นที่เป็ นมา

นายธนชั ญา หมดั โส๊ะ
บรรณาธิการอานวยการ

สารบัญ หน้า

บทความวชิ าการ 1-9
1.วฒั นธรรมภาคเหนือ 10-18
19-25
ฟุรกรณ์ รามนั บากา 26-35
2.วฒั นธรรมภาคอีสาน 36-44

ธนชั ญา หมดั โส๊ะ
3. วฒั นธรรมภาคกลาง

เพญ็ พิชชา อินทร์พรหม
4. วฒั นธรรมภาคใต้

ปาภาวดี กายรัตน์
5. ความแตกต่างระหวา่ งวฒั นธรรมสากลกบั วฒั นธรรมไทย

คทั ลิยา ศรีมณี

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

วัฒนธรรมของภาคเหนือ
( culture of the north )

ฟุรกรณ์ รามนั บากา1 / Furakon Ramanbaka

บทนา

ภาคเหนือ หรือลา้ นนา ดินแดนแห่งความหลากหลายทางประเพณีและวฒั นธรรมท่ีมีความน่าสนใจไม่
นอ้ ยไปกวา่ ภาคอื่นของไทย เพราะเป็นเมืองที่เตม็ ไปดว้ ยเสน่ห์มนตข์ ลงั ชวนให้น่าข้นึ ไปสมั ผสั ความงดงาม
เหล่าน้ียง่ิ นกั ส่วนบรรดานกั ท่องเที่ยวท่ีไปเยยี่ มชม ตา่ งก็ประทบั ใจกบั สถานท่ีท่องเท่ียวมากมายและน้าใจอนั
ลน้ เหลือของชาวเหนือ ซ่ึงสาหรับภาคเหนือของไทย มีลกั ษณะภมู ิประเทศเป็นเขตภูเขาสลบั พ้นื ท่ีราบระหวา่ ง
ภเู ขา ซ่ึงผคู้ นอาศยั อยา่ งกระจายตวั แบง่ กนั เป็นกลมุ่ อาจเรียกวา่ กล่มุ วฒั นธรรมลา้ นนา

โดยจะมีวถิ ีชีวติ และขนบธรรมเนียมเก่าแก่เป็นของตนเองมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั แต่องคป์ ระกอบที่สาคญั
ก็ยงั มีความคลา้ ยคลึงกนั อยมู่ าก อาทิ สาเนียงการพูด การขบั ร้อง ฟ้อนรา การดารงชีวิตแบบเกษตรกร การนบั ถือ
ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิและวญิ ญาณของบรรพบุรุษ ความเล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนาแบบเถรวาทการแสดงออกของ
ความรู้สึกนึกคิดและอารมณ์โดยผา่ นภาษาวรรณกรรม ดนตรี และงานฝีมือแมก้ ระทง่ั การจดั งานฉลองสถานท่ี
สาคญั ท่ีมีมาแต่โบราณ

ดงั น้นั เราจึงนาเสนอเน้ือหาน้ีโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เสริมความรู้และความเขา้ ใจแก่ผอู้ ่าน ไม่วา่ จะเป็น
เรื่องของวฒั นธรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั อาหาร การแตง่ กาย ที่อยอู่ าศยั และภาษา เป็นตน้

___________________________
1นกั ศึกษาปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย

1

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

1. วัฒนธรรมด้านประเพณีและความเชื่อ

1.1 ศาสนาและความเชื่อ
ความเช่ือน้นั มีความสาคญั มากตอ่ คนภาคเหนือ โดย วนั ดี ไมยวงค(์ 2558) ไดส้ รุปเน้ือหาไวว้ า่ ความ

เช่ือท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การนบั ถือภตู ผี ชาวเหนือหรือท่ีเรียกคนกลุม่ น้ีวา่ "ชาวลา้ นนา" ซ่ึงมีความเชื่อในเรื่องการนบั
ถือผีมาต้งั แต่เดิม โดย เชื่อวา่ สถานที่แทบทุกแห่ง มีผีใหค้ วามคุม้ ครองรักษาอยู่ ความเช่ือน้ีจึงมีอิทธิพลตอ่ การ
ดาเนินชีวิตประจาวนั เห็นได้ จากขนบธรรมเนียม ประเพณี และพธิ ีกรรมต่างๆ ของชาวเหนือเช่น ผเู้ ฒ่าผแู้ ก่ชาว
เหนือ (พอ่ อุย๊ แมอ่ ยุ๊ ) เม่ือไปวดั ฟัง ธรรมก็จะประกอบพธิ ีเล้ียงผี คือ จดั หาอาหารคาว-หวานเซ่น สังเวยผปี ่ ยู า่ ดว้ ย

ผที ี่มีความสาคญั ต่อวถิ ีชีวิตของชาวลา้ นนา เช่น
- ผีบรรพบุรุษ มีหนา้ ท่ีคุม้ ครองเครือญาติและครอบครัว
- ผอี ารักษ์ หรือผีเจา้ ที่เจา้ ทาง มีหนา้ ที่คุม้ ครองบา้ นเมืองและชุมชน
- ผขี นุ น้า มีหนา้ ที่ใหน้ ้าแก่ไร่นา
- ผฝี าย มีหนา้ ที่คุม้ ครองเมืองฝาย
- ผีสบน้า หรือผีปากน้า มีหนา้ ท่ีคมุ้ ครองบริเวณท่ีแม่น้าสองสายมาบรรจบกนั
- ผวี ญิ ญาณประจาขา้ ว เรียกวา่ เจา้ แมโ่ พสพ
- ผีวิญญาณประจาแผน่ ดิน เรียกวา่ เจา้ แม่ธรณี

ในทุกวนั น้ีเร่ืองในการนบั ถือผีและประเพณีท่ีเกี่ยวขอ้ ง มีการเปล่ียนแปลงและเหลือนอ้ ยลง โดยเฉพาะ
ใน เขตเมือง แตใ่ นชนบทยงั คงมีการปฏิบตั ิกนั อยู่ คนลา้ นนามีความผกู พนั เก่ียวเนื่องอยกู่ บั การนบั ถือผี สามารถ
พบเห็น ไดจ้ ากการดาเนินชีวิตประจาวนั ของคนเมืองเอง เช่น เม่ือเวลาท่ีตอ้ งเขา้ ป่ าไปหาอาหาร หรือตอ้ งคา้ ง
พกั แรมอยใู่ นป่ า มกั จะตอ้ งบอกกล่าวเจา้ ที่ เจา้ ทางเสมอ และเมื่อเวลาท่ีกินขา้ วในป่ า
ก็มกั จะแบ่งอาหารให้เจา้ ที่ดว้ ย เช่นกนั นอกจากน้นั เมื่อเวลาจะอยู่ ท่ีไหนก็ตามไมว่ า่ จะอยใู่ นเมืองหรือในป่ า เม่ือ
เวลาที่ตอ้ งถ่ายหรือปัสสาวะ ก็มกั จะตอ้ งขออนุญาตจากเจา้ ที่ก่อน อยเู่ สมอ เหลา่ น้ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ วถิ ีชีวิตของคน
เมืองผกู ผนั อยกู่ บั การนบั ถือผี

การเล้ียงผขี องคนลา้ นนาจะอยใู่ นช่วงระหวา่ งเดือน 4 เหนือ จน ถึงเดือน 8 เหนือ ช่วงเวลาน้ีเราจะ
พบวา่ ตามหมู่บา้ นต่างๆ ในภาค เหนือจะมีการเล้ียงผีบรรพบรุ ุษกนั อยา่ งมากมาย เช่น ท่ีอาเภอเชียง คา จงั หวดั
พะเยา ก็จะมีการเล้ียงผเี ส้ือบา้ นเส้ือเมือง ซ่ึงเป็นผบี รรพ บุรุษของชาวไทล้ือ พอหลงั จากน้ีอีกไมน่ านกจ็ ะมีการ
เล้ียงผีลวั ะ หรือ ประเพณีบูชาเสาอินทขลิ ซ่ึงเป็นประเพณีเก่าแก่ของคนเมือง และยงั ไม่นบั รวมถึงการ เล้ียงผีมด
ผเี มง็ และการเล้ียงผีป่ แู สะยา่ แสะของ ชาวลวั ะ ซ่ึงจะทยอยทากนั ต่อจากน้ี

2

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

1.2 ประเพณีภาคเหนือ
วนั ดี ไมยวงค.์ (2558). ไดส้ รุปเน้ือหาเร่ืองประเพณีของภาคเหนือไวว้ า่ ประเพณีเกิดจากการ

ผสมผสานการดาเนินชีวิต และศาสนาพทุ ธความเช่ือเร่ืองการนบั ถือผี ส่งผลทาใหม้ ีประเพณีที่เป็นเอกลกั ษณ์
ของประเพณีท่ีจะแตกตา่ งกนั ไปตามฤดูกาล ท้งั น้ี ภาคเหนือจะมีงานประเพณีในรอบปี แทบทกุ เดือน จึงขอ
ยกตวั อยา่ งประเพณีภาคเหนือบางส่วนมานาเสนอ ดงั น้ี

1. สงกรานต์งานประเพณี ถือเป็นช่วงแรกของการเริ่มตน้ ปี๋ ใหมเ่ มือง หรือสงกรานตง์ านประเพณี
โดยแบ่งออกเป็นวนั ที่ 13 เมษายน หรือวนั สงั ขารลอ่ ง ถือเป็นวนั สิ้นสุดของปี โดยจะมีการยงิ ปื น ยงิ สโพก
และจุดประทดั ต้งั แต่ก่อนสวา่ งเพอ่ื ขบั ไลส่ ิ่งไม่ดี วนั น้ีตอ้ งเก็บกวาดบา้ นเรือน และ ทาความสะอาดวดั

1.1 วนั ท่ี 14 เมษายน หรือวนั เนา ตอนเชา้ จะมีการจดั เตรียมอาหาร และเครื่องไทยทาน
สาหรับงานบญุ ในวนั รุ่งข้ึน ตอนบ่ายจะไปขนทรายจากแมน่ ้าเพอ่ื นาไปก่อเจดียท์ รายในวดั เป็นการทดแทน
ทรายที่เหยยี บติดเทา้ ออกจากวดั ตลอดท้งั ปี

1.2 วนั ที่ 15 เมษายน หรือวนั พญาวนั เป็นวนั เริ่มศกั ราชใหม่ มีการทาบุญถวายขนั ขา้ ว
ถวายตุง ไมค้ ้าโพธ์ิที่วดั สรงน้าพระพุทธรูป พระธาตแุ ละรดน้าดาหวั ขอพรจากผใู้ หญ่ที่เคารพนบั ถือ

1.3 วนั ที่ 16-17 เมษายน หรือวนั ปากปี และวนั ปากเดือน เป็นวนั ทาพธิ ีทางไสยศาสตร์
สะเดาะเคราะห์ และบชู าส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิต่าง ๆ ท้งั น้ี ชาวลา้ นมีความเช่ือวา่ การทาพธิ ีสืบชะตาจะช่วยต่ออายใุ หต้ น
เอง ญาติพน่ี อ้ ง และบา้ นเมืองใหย้ นื ยาว ทาใหเ้ กิดความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นสิริมงคล โดยแบง่ การสืบ
ชะตาแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ การสืบชะตาคน, การสืบชะตาบา้ น และการสืบชะตาเมือง

2. แห่นางแมว
แห่นางแมว ระหวา่ งเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม เป็นช่วงของการเพาะปลูก หากปี ใดฝนแลง้

ไม่มีน้า จะทาใหน้ าขา้ วเสียหาย ชาวบา้ นจึงพ่ึงพาสิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น ทาพธิ ีขอฝนโดยการแห่นางแมว โดยมี
ความเช่ือกนั วา่ หากกระทาเช่นน้นั แลว้ จะช่วยใหฝ้ นตก

3. ประเพณปี อยน้อย/บวชลกู แก้ว/แหล่ส่างลองเป็ นประเพณีบวช
ประเพณีปอยนอ้ ยนิยมจดั ภายในเดือนกุมภาพนั ธ์ มีนาคม หรือเมษายน ตอนช่วงเชา้ ซ่ึงเกบ็

เก่ียวพชื ผลเสร็จแลว้ ในพธิ ีบวชจะมีการจดั งานเฉลิมฉลองอยา่ งยง่ิ ใหญ่ มีการแห่งลูกแกว้ หรือผบู้ วชที่จะแตง่
ตวั อยา่ งสวยงามเลียนแบบเจา้ ชายสิทธตั ถะ เพราะถือคตินิยมวา่ เจา้ ชายสิทธตั ถะไดเ้ สดจ็ ออกบวชจนตรัสรู้ และ
นิยมใหล้ กู แกว้ ขม่ี า้ ขชี่ า้ ง หรือขีค่ อคน เปรียบเหมือนมา้ กณั ฐกะมา้ ทรงของเจา้ ชายสิทธตั ถะ ปัจจุบนั ประเพณี
บวชลูกแกว้ ที่มีช่ือเสียง คอื ประเพณีบวชลกู แกว้ ที่จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

3

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

4. ประเพณปี อยหลวง หรืองานบุญปอยหลวง

ประเพณีปอยหลวง เป็นเอกลกั ษณ์ของชาวลา้ นนาซ่ึงเป็นผลดีต่อสภาพทางสงั คม ถือวา่
เป็นการใหช้ าวบา้ นไดม้ าทาบญุ ร่วมกนั ร่วมกนั จดั งานทาใหเ้ กิดความสามคั คีในการทางาน งานทาบญุ ปอย
หลวงยงั เป็นการรวมญาติพี่นอ้ งที่อยตู่ า่ งถ่ินไดม้ ีโอกาสทาบุญร่วมกนั และมีการสืบทอดประเพณีท่ีเคยปฏิบตั ิกนั
มาคร้ังแต่บรรพชนไม่ใหส้ ูญหายไปจากสังคม ช่วงเวลาจดั งานเร่ิมจากเดือน 5 จนถึงเดือน 7 เหนือ (ตรงกบั
เดือนกุมภาพนั ธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทกุ ปี ) ระยะเวลา 3-7 วนั

5. ประเพณีลอยโคม
ชาวลา้ นนาจงั หวดั เชียงใหม่ ที่มีความเช่ือในการปล่อย โคมลอยซ่ึงทาดว้ ยกระดาษสาติด

บนโครงไมไ้ ผแ่ ลว้ จุดตะเกียงไฟตรงกลางเพอื่ ใหไ้ อความร้อนพาโคมลอยข้ึนไปในอากาศเป็นการปล่อยเคราะห์
ปล่อยโศกและเรื่องร้าย ๆ ต่าง ๆ ใหไ้ ปพน้ จากตวั

6. ประเพณตี านตงุ
ในภาษาถ่ินลา้ นนา ตงุ หมายถึง “ธง” จุดประสงคข์ องการทาตุงในลา้ นนากค็ อื การทา

ถวายเป็นพทุ ธบชู า ชาวลา้ นนาถือวา่ เป็นการทาบญุ อทุ ิศใหแ้ ก่ผทู้ ่ีล่วงลบั ไปแลว้ หรือถวายเพ่ือเป็นปัจจยั ส่งกุศล
ใหแ้ ก่ตนไปในชาติหนา้ ดว้ ยความเช่ือท่ีวา่ เมื่อตายไปแลว้ ก็จะไดเ้ กาะยดึ ชายตงุ ข้ึนสวรรคพ์ น้ จากขมุ นรก วนั ท่ี
ถวายตงุ น้นั นิยมกระทาในวนั พญาวนั ซ่ึงเป็นวนั สุดทา้ ยของเทศกาลสงกรานต์

7. ประเพณีกรวยสลาก หรือตานก๋วยสลาก
เป็นประเพณีของชาวพุทธที่มีการทาบญุ ใหท้ านรับพรจากพระ จะทาใหเ้ กิดสิริมงคลแก่

ตนและอุทิศส่วนกศุ ลใหแ้ ก่ผลู้ ่วงลบั ไปแลว้ เป็นการระลึกถึงบุญคณุ ของผมู้ ีพระคณุ และเป็นการแสดงออกถึง
ความสามคั คีของคนในชุมชน

4

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

2. วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย

การแต่งกายพ้นื เมืองของภาคเหนือมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ไปตามเช้ือชาติของกลุ่มชนคนเมือง เน่ืองจาก
ผคู้ นหลากหลายชาติพนั ธุ์อาศยั อยใู่ นพ้นื ท่ีซ่ึงบง่ บอกเอกลกั ษณ์ของแต่ละพ้ืนท่ี
โดย ปัทมา แตงพรม ไดส้ รุปเน้ือหาไวด้ งั น้ี

2.1 หญิงชาวเหนือจะนุ่งผา้ ซ่ิน หรือผา้ ถงุ มีความยาวเกือบถึงตาตุ่ม ซ่ึงนิยมนุ่งท้งั สาวและคนแก่
ผา้ ถุงจะมีความประณีต งดงาม ตีนซ่ินจะมีลวดลายงดงาม ส่วนเส้ือจะเป็นเส้ือคอกลม มีสีสนั ลวดลายสวยงาม
อาจห่มสไบทบั และเกลา้ ผม

2.2 ผชู้ ายนิยมนุ่งนุ่งกางเกงขายาว ลกั ษณะแบบกางเกงขายาวแบบ 3 ส่วน เรียกติดปากวา่ "เตี่ยว"
"เต่ียวสะดอ" หรือ "เตี่ยวกี" ทาจากผา้ ฝ้าย ยอ้ มสีน้าเงินหรือสีดา และสวมเส้ือผา้ ฝ้ายคอกลมแขนส้ัน แบบผา่ อก
กระดุม 5 เมด็ สีน้าเงินหรือสีดา ที่เรียกวา่ เส้ือม่อฮ่อม ชุดน้ีใส่เวลาทางาน หรือคอจีนแขนยาว อาจมีผา้ คาดเอว
ผา้ พาดบา่ และมีผา้ โพกศีรษะ

2.3 ชาวบา้ นบางแห่งสวมเส้ือม่อฮ่อม นุ่งกางเกง สามส่วน และมีผา้ คาดเอว เคร่ืองประดบั มกั จะเป็น
เครื่องเงินและเคร่ืองทอง

2.4 ผา้ พ้นื เมืองของภาคเหนือในแตล่ ะจงั หวดั
-ผา้ ฝ้ายลายปลาเสือตอ จงั หวดั นครสวรรค์
-ผา้ ไหมลายเพชร จงั หวดั กาแพงเพชร
-ผา้ พ้ืนเมืองเชียงแสน ลายดอกขอเครือ (เกี่ยวขอ) จงั หวดั เชียงราย
-ผา้ ตีนจก ลายเชียงแสน หงส์บ้ี จงั หวดั เชียงใหม่
-ผา้ ฝ้ายลายดอกปี กคา้ งคาว จงั หวดั ตาก
-ผา้ ไหมลายน้าไหล จงั หวดั น่าน
-ผา้ ฝ้ายลายนกกระจิบ จงั หวดั พิจิตร
-ผา้ ฝ้ายมดั หมี่ลายดอกบีบ จงั หวดั พิษณุโลก
-ผา้ หมอ้ หอ้ ม จงั หวดั แพร่

5

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

3. วฒั นธรรมทางด้านอาหาร

วฒั นธรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั อาหารของคนภาคเหนือน้นั มีอยหู่ ลายหลาย โดย วนั ดี ไมยวงค์ (2558)
ไดส้ รุปวฒั นธรรมดา้ นอาหารไวว้ า่

อาหารของภาคเหนือ ประกอบดว้ ยขา้ วเหนียวเป็นอาหารหลกั มีน้าพริกชนิดตา่ ง ๆ เช่น น้าพริกหนุ่ม
น้าพริกอ่อง มีแกงหลายชนิด เช่น แกงโฮะ แกงแค นอกจากน้นั ยงั มีแหนม ไส้อว่ั แคบหมู และผกั ตา่ ง ๆ สภาพ
อากาศก็มีส่วนสาคญั ท่ีทาใหอ้ าหารพ้ืนบา้ นภาคเหนือแตกตา่ งจากภาคอื่น นนั่ คือ การที่อากาศหนาวเยน็ เป็น
เหตผุ ลให้อาหารส่วนใหญม่ ีไขมนั มาก เช่น น้าพริกอ่อง แกงฮงั เล ไสอ้ วั่ เพ่ือช่วยใหร้ ่างกายอบอนุ่ อีกท้งั การท่ี
อาศยั อยใู่ นหุบเขาและบนที่สูงอยใู่ กลก้ บั ป่ า จึงนิยมนาพชื พนั ธุ์ในป่ ามาปรุงเป็นอาหาร เช่น ผกั แค บอน หยวก
กลว้ ย ผกั หวาน ทาใหเ้ กิดอาหารพ้นื บา้ นช่ือตา่ ง ๆ เช่น แกงแค แกงหยวกกลว้ ย แกงบอน

อาหารพ้ืนบา้ นภาคเหนือมีความพเิ ศษตรงท่ีมีการผสมผสานวฒั นธรรมการกินจากหลายกล่มุ ชนเช่น ไท
ใหญ่ จีนฮ่อ ไทล้ือ และคนพ้นื มีสารับอาหารของกลุ่มชาติพนั ธุต์ ่าง ๆ เช่น

3.1 แกงอ่อม
เป็นอาหารยอดนิยมอยา่ งหน่ึงในบรรดาอาหารเหนือท้งั หลาย โดยเฉพาะในเทศกาลงานเล้ียง

โอกาสพเิ ศษต่าง ๆ แกงอ่อมเป็นแกงที่ใชเ้ น้ือไดท้ ุกประเภท เช่น เน้ือววั เน้ือควาย เน้ือไก่

3.2 ข้าวซอย
เป็นอาหารของไทล้ือ ท่ีนามาเผยแพร่ในลา้ นนาหรือภาคเหนือ ตามตารับเดิมจะใชพ้ ริกป่ นผดั

โรยหนา้ ดว้ ยน้ามนั เม่ือมาสู่ครัวไทยภาคเหนือก็ประยกุ ตใ์ ชพ้ ริกแกงคว่ั ใส่กะทิลงไปกลายเป็นเคย่ี วใหข้ น้ ราด
บนเสน้ บะหมี่ ใส่เน้ือหรือไก่ กินกบั ผกั กาดดอง หอมแดงเป็นเคร่ืองเคยี ง

3.3 แกงโฮะ
คาวา่ โฮะ แปลวา่ รวม แกงโฮะก็คือแกงที่นาเอาอาหารหลายอยา่ งมารวมกนั สมยั ก่อนแกงโฮะ

มกั จะทาจากอาหารหลายอยา่ งท่ีเหลือจากงานบุญมาผดั รวมกนั แตป่ ัจจุบนั ใชเ้ คร่ืองปรุงใหมท่ ากไ็ ดห้ รือจะเป็น
ของท่ีคา้ งคนื และนามาปรุงใหม่อีกคร้ังหน่ึง แกงโฮะเป็นอาหารท่ีนิยมแพร่หลายมีขายกนั แทบทุกร้านอาหาร
พ้นื เมืองในภาคเหนือ

3.4 ขนมจีนน้าเงีย้ ว
หรือขนมเสน้ หมากเขอื สม้ เป็นอาหารพ้ืนเมืองของชาวไทใหญ่ เดิมใชเ้ สน้ ก๋วยเต๋ียวเป็นหลกั

ต่อมาคนพ้ืนเมืองดดั แปลงมาใชเ้ สน้ ขนมจีนแทน กินกบั ถวั่ งอก ผกั กาดดอง เพ่มิ รสชาติความอร่อยยง่ิ ข้ึน

6

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

3.5 แกงฮังเล
เป็นอาหารพ้นื บา้ นของชาวไทใหญ่อีกชนิดหน่ึง ซ่ึงอาจไดร้ ับอิทธิพลมาจากอาหารพม่าใน

อดีต เป็นแกงท่ีทาไดง้ ่าย ใส่พริกแหง้ ผงแกงฮงั เล มะเขือเทศ และเน้ือ แลว้ นามาผดั รวมกนั

3.6 น้าพริกอ่อง
เป็นน้าพริกข้ึนชื่อของภาคเหนือ ลกั ษณะเด่นของน้าพริกอ่องคือ มีสีส้มของมะเขือเทศและ

พริกแหง้ การกินน้าพริกอ่องตอ้ งมีผกั จ้ิม เช่น มะเขือเปราะ ถวั่ ฝักยาว ผกั กาดขาว แตงกวา
ซ่ึงอาหารทุกชนิดจะรับประทานร่วมกบั ขา้ วเหนียวหรือขา้ วน่ึงใส่ในกระติ๊บขา้ ว อาหารอ่ืนๆ ใส่

ในถว้ ยอาหารท้งั หมดจะนาไปวางบนขนั โตก ซ่ึงเป็นภาชนะใส่อาหารท่ีทาจากไมส้ ักกลึงใหไ้ ดร้ ูปขนาดพอดีกบั
การนง่ั รับประทานบนพ้ืนบา้ น

4. วัฒนธรรมด้านทอี่ ย่อู าศัย

วนั ดี ไมยวงค์ (2558) ไดส้ รุปเน้ือหาไวว้ า่ ท่ีอยอู่ าศยั เละวฒั นธรรมประเพณีของคนภาคเหนือน้นั สภาพ
ดินฟ้าอากาศ มีส่วนกาหนดลกั ษณะท่ีอยอู่ าศยั ของผคู้ น บา้ นเรือน ในภาคเหนือ นิยมสร้างดว้ ยวสั ดุธรรมชาติที่มี
อยใู่ นทอ้ งถ่ินสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิต ตวั เรือนมีขนาดเลก็ ใตถ้ ุน สูง หลงั คาทรงจวั่ ประดบั ยอดหลงั คาดว้ ยไม้
แกะสลกั ไขวก้ นั เรียกวา่ "กาแล" ชาวเหนือที่มีฐานะดีจะอยู่ เรือนที่ค่อนขา้ งมีขนาดใหญ่และประณีตมากข้ึน

กาแล คือ ไมป้ ระดบั ยอดจว่ั หลงั คาของบา้ นลา้ นนาภาคเหนือของเรา มีประวตั ิและความเป็นมาหลาก หลาย
อยา่ ง แต่หากพจิ าร ณาในเชิงช่างแลว้ กาแลน้ีเป็นตวั กนั ไม่ ให้ “อีกา” หรือนกทว่ั ไปมาเกาะท่ีกลางจวั่ หนา้ บา้ น
(กลางป้ันลม) ทาใหน้ กเหลา่ น้นั ไม่มา ถา่ ยมูลรดหลงั คาบา้ นใหเ้ ป็นคราบน่าเกลียดจะทาความสะอาดก็ยากเยน็
ซ่ึงชาวบา้ นถือวา่ เป็นสิ่งอปั มงคล

7

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

สรุป

วฒั นธรรมของภาคเหนือ ถือวา่ มีความสาคญั เป็นอยา่ งมากต่อคนภาคเหนือ เช่น ประเพณี วฒั นธรรม ความ
เช่ือในเร่ืองตา่ งๆ ถือเป็นวฒั นธรรมท่ีสืบทอดต่อๆ กนั จากมารุ่นสู่รุ่น ต้งั เเต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ไมว่ า่ จะเป็น
วฒั นธรรมดา้ นอาหารก การแต่งกาย รวมไปถึงวฒั นธรรมดา้ นภาษา เป็นตน้

ดงั น้นั เราจาเป็นท่ีจะตอ้ งศึกษาเเละทาความเขา้ ใจอยา่ งละเอียด ท่ีสาคญั เราทกุ คนตอ้ งช่วยกนั อนุรักษเ์ เละ
สืบทอดวฒั นธรรมภาคเหนือใหค้ งอยไู่ วต้ ราบนานเท่านาน

8

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

บรรณานุกรม

ทิภากร อ่อนอิ่มสิน. (2555). “วัฒนธรรมด้านภาษาของคนภาคเหนือ” สืบคน้ เม่ือ 30 ตลุ าคม 2564
จาก https://sites.google.com/site/monokna/phakh-henux

ปัทมา แตงพรม. (ม.ป.ป.). “วัฒนธรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั การแต่งกายของคนภาคเหนือ”. สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม
2564. จาก https://sites.google.com/site/pattama1539/wathnthrrm-ni-thxng-thin-khxng-phakh-

henux/wathnthrrm-kar-taeng-kay

วนั ดี ไมยวงค.์ (2558). “วฒั นธรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกบั อาการพื้นบ้านของคนภาคเหนือ”. สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม
2564 จาก https://sites.google.com/site/wathnthrrm4/wathnthrrm-thi-keiywkhxng-kab-xahar-2

__________. (2558). “วฒั นธรรมทเี่ กยี่ วข้องกบั ประเพณีและความเชื่อของคนภาคเหนือ”. สืบคน้ เม่ือ 30
ตุลาคม 2564. จาก https://sites.google.com/site/wathnthrrm4/wathnthrrm-thi-keiywkhxng-kab-

prapheni-laea-phithikrrm
__________. (2558). “วัฒนธรรมทเ่ี กย่ี วข้องกบั ทีอ่ ย่อู าศัยของคนภาคเหนือ”. สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม 2564.

จาก https://sites.google.com/site/wathnthrrm4/wathnthrrm-thi-keiywkhxng-kab-thi-xyu-xasay

9

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

วฒั นธรรมของภาคอสี าน
( Culture of the northeastern )

ธนชั ญา หมดั โส๊ะ 1 / Thannatchaya Madsoh

บทนา

ภาคอีสานเป็นภูมิภาคท่ีมีความหลากหลายทางศิลปวฒั นธรรมและประเพณีแตกต่างกนั ไปในแต่ละ
ทอ้ งถ่ินแต่ละจงั หวดั ซ่ึงศิลปวฒั นธรรมเหล่าน้ีเป็นตวั บง่ บอกถึงความเชื่อ คา่ นิยม ศาสนาและรูปแบบการ
ดาเนินชีวติ ตลอดจนอาชีพของคนในทอ้ งถ่ินน้นั ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดีสาเหตุท่ีภาคอีสานมีความหลากหลายทาง
ศิลปวฒั นธรรมประเพณีส่วนหน่ึงอาจจะเป็นผลมาจากการเป็นศูนยร์ วมของประชากรหลากหลายเช้ือชาติจน
ก่อใหเ้ กิดการแลกเปลี่ยนทางวฒั นธรรมข้นึ เช่นประชาชนชาวอีสานแถบจงั หวดั เลยหนองคายนครพนม
มกุ ดาหารอบุ ลราชธานีอานาจเจริญท่ีมีพรมแดนติดตอ่ กบั ประเทศลาวประชาชนของท้งั สองประเทศมีการ
เดินทางไปมาหากนั ทาให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนศิลปวฒั นธรรมและประเพณีระหวา่ งกนั ซ่ึงเราจะ
พบวา่ ชาวไทยอีสานและชาวลาวแถบลมุ่ แม่น้าโขงมีศิลปวฒั นธรรมประเพณีที่คลา้ ย ๆ กนั และรูปแบบการ
ดาเนินชีวติ ท่ีมีความคลา้ ยคลึงกนั ดว้ ยรวมท้งั ชาวเวียดนามที่อพยพเขา้ มาในช่วงสงครามเวยี ดนามก็ไดน้ าเอา
ศิลปวฒั นธรรมของเวยี ดนามเขา้ มาดว้ ย

ถึงแมป้ ัจจุบนั ชาวเวียดนามเหลา่ น้ีจะไดป้ รับตวั เขา้ กบั วฒั นธรรมของทอ้ งถ่ินอีสานเพอ่ื ใหก้ ารดารงชีวติ
เป็นไปอยา่ งราบร่ืน โดยเฉพาะชาวเวียดนามท่ีเป็นวยั รุ่นในปัจจุบนั ไดร้ ับการศึกษาท่ีดีเหมือนกบั ชาวไทยทุก
ประการจนแทบแยกไม่ออกวา่ เป็นคนไทยอีสานหรือคนเวยี ดนามกนั แน่ส่วนใหญก่ ็จะเห่อวฒั นธรรมตะวนั ตก
เหมือนเด็กวยั รุ่นของไทย จนลืมวฒั นธรรมอนั ดีงามของตวั เอง แต่ก็ยงั มีชาวเวยี ดนามบางกลุ่มส่วนใหญเ่ ป็นคน
สูงอายยุ งั คงยดึ มนั่ กบั วฒั นธรรมของตนเองอย่อู ยา่ งมนั่ คง

ดงั น้นั ผเู้ ขียนจึงนาเสนอเน้ือหาน้ีโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ เสริมความรู้และความเขา้ ใจแก่ผอู้ า่ น ไมว่ า่
จะเป็นเรื่องของวฒั นธรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั อาหาร การแต่งกาย ท่ีอยอู่ าศยั และภาษา เป็นตน้

___________________________
1นกั ศึกษาปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

10

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

1. ประเพณีของภาคอสี าน

1.1 ความเป็ นมาและความสาคญั ของประเพณีในภาคอสี าน

ประเพณีลว้ นไดร้ ับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดลอ้ มภายนอกท่ีเขา้ สู่สังคมรับเอาแบบปฏิบตั ิที่หลากหลาย
เขา้ มาผสมผสานในการดาเนินชีวติ ประเพณีจึงเรียกไดว้ า่ เป็นวิถีแห่งการดาเนินชีวติ ของสังคมโดยเฉพาะศาสนา
ซ่ึงมีอิทธิพลตอ่ ประเพณีไทยมากที่สุดวดั วาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงอิทธิพลของพทุ ธ
ศาสนาที่มีตอ่ สงั คมไทย และช้ีใหเ้ ห็นวา่ ชาวไทยใหค้ วามสาคญั ในการบารุงพทุ ธศาสนาดว้ ยศิลปกรรมที่งดงาม
เพ่ือใชใ้ นพธิ ีกรรมทางศาสนาต้งั แต่โบราณกาลเป็นตน้

ประเพณีในภาคอีสานน้นั มีมากมาย โดย ศศิวิมล วิเชียรพงษ์ ไดร้ วบรวมประเพณีท่ีสาคญั ๆ ไวด้ งั น้ี

1. ประเพณไี หลเรือไฟ เพ่ือบชู ารอยพระพุทธบาทท่ีประทบั ไวร้ ิมฝ่ัง แมน่ ้านมั มทานที
ในแควน้ ทกั ษณิ าบท ประเทศอินเดีย เพ่ือบูชาทา้ วผกาพรหมเพือ่ ขอขมาลาโทษแม่น้าที่เราทาใหส้ กปรก เพื่อเอา
ไฟเผาความทุกขใ์ หห้ มดไปแลว้ ลอยไปกบั แม่น้า ซ่ึงประเพณีน้ีจะเปรียบเทียบใหเ้ ห็นชีวิตมนุษยม์ ีเกิดมี
เจริญกา้ วหนา้ และดบั ไปในที่สุดหรือชีวติ มนุษยเ์ ป็นอนิจจงั

2. ประเพณีบญุ ข้าวสาก (บุญเดือนสิบ) เป็นประเพณีท่ีจดั ข้ึนเพื่ออุทิศส่วนกุศลใหก้ บั ผทู้ ี่
ล่วงลบั ไปแลว้ และเพื่ออุทิศส่วนกศุ ลใหก้ บั สัตวน์ รกหรือ

3. ประเพณีขนึ้ เขาพนมรุ้ง เป็นวนั ท่ีประชาชนทวั่ ไปร่วมทาบุญปิ ดทองนมสั การรอยพระ
พุทธบาทจาลองท่ีประดิษฐานอยใู่ นปรางคอ์ งคน์ อ้ ย และทาใหช้ าวบา้ นไดม้ ีโอกาสพบปะสงั สรรคแ์ ลกเปล่ียน
ความรู้ประสบการณ์ โดยเฉพาะการทอผา้ ไหม ท้งั น้ีเพราะในช่วงงานประเพณีข้ึนเขาชาวบา้ นหญิงชายจะแต่ง
กายดว้ ยผา้ ไหมทอลวดลายสวยงามประณีตท่ีสุดของตนเอง เป็นการอวดฝีมือและความสามารถสร้างช่ือเสียง
ของหมู่บา้ นและของตนเองอีกดว้ ย และยงั เป็นโอกาสใหช้ าวบา้ นไดเ้ ที่ยวชมความงามของปราสาทพนมรุ้งและ
ชกั ชวนใหค้ นเดินทางมาเที่ยวชมในงานประเพณีข้นึ เขาพนมรุ้งมากข้ึนทกุ ปี ซ่ึงประเพณีน้ีจะเป็นการแสดงถึง
ความพร้อมเพรียงสามคั คขี องประชาชนในทอ้ งท่ีอาเภอประโคนชยั และบริเวณใกลเ้ คียง อีกท้งั ยงั เป็นการ
อนุรักษป์ ระเพณีวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น

11

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

4. ประเพณบี ญุ บ้งั ไฟ (บุญเดือนหก) โดยชาวจงั หวดั ยโสธรร้อยละ ๘๕ ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมชาวยโสธรจึงจดั ประเพณีบุญบ้งั ไฟเป็นการทาบญุ ประจาปี ทกุ ปี ในช่วงเดือนพฤษภาคมและเป็น
ช่วงก่อนฤดูการทานาเป็นพิธีขอฝนจากพญาแถนใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดูกาล ซ่ึงประเพณีบุญบ้งั ไฟที่สาคญั ต่อคน
อีสานในหลาย ๆ เร่ืองเช่น

1. เป็นการตกั เตือนใหร้ ู้วา่ ธรรมชาติเป็นส่ิงไมแ่ น่นอนเกษตรกรไมค่ วรประมาท
2. เป็นงานประเพณีท่ีสร้างความสนุกสนานและความสมคั รสมานสามคั คขี องประชาชน
3. กิจกรรมการเซ็งสอนใหค้ นในสังคมรู้จกั การบริจาคทานและการเสียสละ
4. เป็นงานประเพณีท่ีสร้างความภาคภมู ิใจใหก้ บั ชาวจงั หวดั ยโสธร

5. ประเพณีการเล่นผตี าโขน การละเล่นผีตาโขนมีมานานแลว้ แต่ไม่มีหลกั ฐานปรากฏแน่ชดั
วา่ มีมาต้งั แต่เม่ือใด แต่ชาวบา้ นไดป้ ฏิบตั ิ และสืบทอดต่อกนั มาจากบรรพบุรุษเป็นประเพณีท่ีเป็นเอกลกั ษณ์
ประจาจงั หวดั เลยแสดงในงาน "บุญหลวง" ซ่ึงเป็นการรวมเอาบุญผะเหวดและบุญบ้งั ไฟเป็นบญุ เดียวกนั เพ่ือ
เป็นการบูชาอารักษห์ ลกั เมืองและพธิ ีการบวงสรวงดวงวิญญาณอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิของเจา้ ในอดีต

2. วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย

การแต่งกายพ้ืนเมืองของภาคอีสาน มีลกั ษณะแตกต่างกนั ไปตามเช้ือชาติของกลุม่ ชนคนเมือง
โดย สานกั ศิลปะและวฒั นธรรม ไดส้ รุปเน้ือหาไวด้ งั น้ี

การแต่งกายส่วนใหญใ่ ชผ้ า้ ทอมือ ซ่ึงทาจากเส้นใยธรรมชาติเช่นผา้ ฝ้ายและผา้ ไหมชาวอีสาน ถือวา่
การทอผา้ เป็นกิจกรรมยามวา่ งหลงั จากฤดูการทานาหรือวา่ งจากงานประจาอ่ืน ๆ ใตถ้ ุนบา้ นแต่ละบา้ นจะกางหูก
ทอผา้ กนั แทบทุกครัวเรือนโดยผหู้ ญิงในวยั ต่างๆ จะสืบทอดกนั มาผา่ นการจดจาและปฏิบตั ิจากวยั เด็กท้งั
ลวดลายสีสนั การยอ้ ม และการทอผา้ ท่ีทอดว้ ยมือจะนาไปใชต้ ดั เยบ็ ทาเป็นเคร่ืองนุ่งห่มหมอนท่ีนอนผา้ ห่มและ
การทอผา้ ยงั เป็นการเตรียมผา้ สาหรับการออกเรือนสาหรับหญิงวยั สาว ท้งั การเตรียมสาหรับตนเองและเจา้ บ่าว
ท้งั ยงั เป็นการวดั ถึงความเป็นกุลสตรีเป็นแม่เหยา้ แม่เรือนของหญิงชาวอีสานอีกดว้ ย

ผา้ ที่ทอข้ึนจาแนกออกเป็น 2 ชนิดคือ

1. ผา้ ทอสาหรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั จะเป็นผา้ พ้ืนไม่มีลวดลายเพราะตอ้ งการความทนทานจึง
ทอดว้ ยฝ้ายยอ้ มสีตามตอ้ งการ

2. ผา้ ทอสาหรับโอกาสพิเศษ เช่น ใชใ้ นงานบญุ ประเพณีตา่ งๆ งานแต่งงานงานฟ้อนรา

12

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

ส่วนลกั ษณะการแตง่ กายของผชู้ าย ส่วนใหญ่จะนิยมสวมเส้ือแขนส้ัน สีเขม้ ๆ ที่เราเรียกวา่ “มอ่ ฮ่อม”
สวมกางเกงสีเดียวกบั เส้ือจรดเข่า นิยมใชผ้ า้ คาดเอวดว้ ยผา้ ขาวมา้ และการแต่งกายผหู้ ญิงนิยมสวมใส่ผา้ ซ่ินแบบ
ทอท้งั ตวั สวมเส้ือคอปิ ดเล่นสีสันสวยงาม ห่มสไบเฉียงตามขอ้ มือ ขอ้ เทา้ และคอเพื่อความสวยงาม

3. วัฒนธรรมทางด้านอาหาร

วฒั นธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อาหารของคนภาคอีสานน้นั มีอยหู่ ลายหลาย โดย ทิภากร อ่อนอิ่มสิน (2555)
ไดส้ รุปไวว้ า่

ชาวอีสานมีวถีการดาเนินชีวิตที่เรียบงา่ ยเช่นเดียวกบั การท่ีรับประทานอาหารอยา่ งงา่ ยๆ มกั จะ
รับประทานไดท้ กุ อยา่ ง เพื่อการดารงชีวิตอยใู่ หส้ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของภาคอีสาน ชาวอีสานจึงรู้จกั แสวงหา
ส่ิงต่างๆท่ีสามารถรับประทานไดใ้ นทอ้ งถ่ิน มาดดั แปลงเป็นอาหารรับประทาน อาหารอีสานเป็นอาหารที่มี
ความแตกตา่ งจากอาหารของภาคอื่นๆ และเขา้ กบั วิถีการดาเนินชีวติ ท่ีเรียบง่ายของชาวอีสาน อาหารของชาว
อีสานในแตล่ ะม้ือจะเป็นอาหารงา่ ยๆเพยี ง 2-3 จาน ซ่ึงทกุ ม้ือจะตอ้ งมีผกั เป็นส่วนประกอบหลกั พวกเน้ือส่วน
ใหญจ่ ะเป็นเน้ือปลาหรือเน้ือววั เน้ือควาย.
ความพึงพอใจในรสชาติอาหารของชาวอีสานน้นั ไมม่ ีตายตวั แลว้ แตค่ วามชอบของบุคคล แตอ่ าหารพ้ืนบา้ น
อีสานส่วนใหญ่แลว้ จะออกรสชาติไปทางเผด็ เคม็ และเปร้ียว

เคร่ืองปรุงอาหารอีสานที่สาคญั และแทบขาดไม่ไดเ้ ลย คอื ปลาร้า ซ่ึงท่ีเกิดจากภูมิปัญญาดา้ นการ
ถนอมอาหารของบรรพบรุ ุษของชาวอีสาน ถา้ จะกลา่ ววา่ ชาวอีสานทกุ ครัวเรือนตอ้ งมีปลาร้าไวป้ ระจาครัวกค็ ง
ไม่ผิดนกั ปลาร้าใชเ้ ป็นส่วนประกอบหลกั ของอาหารไดท้ ุกประเภท เหมือนกบั ท่ีชาวไทยภาคกลางใชน้ ้าปลา

ลกั ษณะการปรุงอาหารพื้นเมืองอสี าน

ลาบ เป็นอาหารประเภทยาที่มีเน้ือมาสบั ละเอียดหรือหน่ั เป็นชิ้นเลก็ ๆบางๆปรุงรสดว้ ยน้าปลาร้า
พริก ขา้ วควั่ ตน้ หอม ผกั ชี รับประทานกบั ผกั พ้ืนเมือง นิยมใชก้ บั เน้ือปลาหมูววั ควายและไก่

ตวั อย่างอาหารของชาวอสี าน เช่น

ก้อย เป็นอาหารประเภทยาท่ีจะนาเน้ือยา่ งมาหนั่ เป็นชิ้นๆผสมกบั ผกั พ้ืนเมืองนิยมใชก้ บั เน้ือปลา
หมูววั ควายและไก่ ทานกบั ผกั สดนานาชนิด

ส่า เป็นอาหารประเภทยา ท่ีนาหนงั หมู เน้ือหมูยา่ งสับมาผสมกบั หวั ปลี วุน้ เสน้

13

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

อ่อม เป็นอาหารประเภทแกงแต่มีน้านอ้ ยมีผกั พ้นื เมืองหลายชนิดนิยมใชก้ บั เน้ือ ไก่และปลา
หรือเน้ือกบเน้ือเขยี ดหรือเน้ือสตั วอ์ ื่นๆแต่เนน้ ที่ปริมาณผกั

อ๋อ ลกั ษณะคลา้ ยอ่อมแตไ่ มใ่ ส่ผกั (ใส่เพียงตน้ หอม ใบมะกรูด ตะไคร้ ใบแมงลกั ) นิยมใชป้ ลา
ตวั เลก็ กุง้ หรือไขม่ ดแดงปรุง ใส่น้าพอใหอ้ าหารสุก

หมก เป็นอาหารประเภทหน่ึงที่ใชใ้ บตองห่อนิยม ใชก้ บั เน้ือปลา ไก่ แมลง กบ เขยี ด ผกั และ
หน่อไม้ หมกหรือห่อหมกของภาคอีสานจะไมใ่ ส่กะทิ

ตาซั่ว เป็นอาหารประเภทสม้ ตาชนิดหน่ึง แตใ่ ส่ส่วนประกอบมากกวา่ คือ ใส่ขนมจีน ผกั ดอง
ผกั (เหมือนท่ีใส่ขนมจีน) และมะเขือลาย หรือผกั อื่นๆตามตอ้ งการลงไปในตามะละกอดว้ ย ผกั อ่ืนๆตามตอ้ งการ
ลงไปในตามะละกอดว้ ย

4. วฒั นธรรมทางด้านภาษา

วฒั นธรรมดา้ นภาษาโดยออ้ ม (2554) ไดส้ รุปไวว้ า่ ภาษาหลกั ของภาคน้ีคือภาษาอีสาน แต่
ภาษาไทยกลางท่ีนิยมใชก้ นั แพร่หลาย โดยเฉพาะในเมืองใหญข่ ณะเดียวกนั ยงั มีภาษาเขมรที่ใชก้ นั มากใน
บริเวณอีสานใตน้ อกจากน้ียงั มีภาษาถ่ินอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผไู้ ท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นตน้ ภาค
อีสานมีเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรี หมอลา และศิลปะการฟ้อนรา ท่ีเรียกวา่
เซิ้ง เป็นตน้ ซ่ึงภาษาไทยถ่ินอีสานเป็นภาษาไทยถิ่นท่ีใชพ้ ูดในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือใกลเ้ คียงกบั ภาษา
ลาวในอดีตเคยเขยี นดว้ ยอกั ษรธรรมลา้ นชา้ งหรืออกั ษรไทยนอ้ ย ปัจจุบนั เขียนดว้ ยอกั ษรไทยมีพยญั ชนะ 20
เสียงสระเด่ียว 18 เสียงสระประสม 2-3 เสียงบางทอ้ งถิ่นไมม่ ีเสียงสระเอือ

ตวั อยา่ งภาษาอีสานภาษาอีสาน แปลเป็นภาษากลาง

กะดอ้ กะเด้ีย - อะไรกนั นกั หนา กดั แขว้ ปื น - กดั ฟันสู้

เกิบ - รองเทา้ แตะ กะซาง - ช่างเถอะ

กินดอง – เลียงฉลองสมรส กะจงั วา่ – กน็ นั่ น่ะสิ

14

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

ภาษาไทยถิ่นอีสานเป็นภาษาทอ้ งถิ่นที่ใชพ้ ูดในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเป็น
ภาษาลาวสาเนียงหน่ึงในสาเนียงภาษาถ่ินของภาษาลาวซ่ึงแบ่งเป็น 6 คือ

1. ภาษาลาวเวียงจนั ทน์ ใชใ้ นทอ้ งที่เวียงจนั ทนบ์ อลิคาไซและในประเทศไทยทอ้ งที่ จ.
ชยั ภมู ิหนองบวั ลาภหู นองคาย (อ. เมืองศรีเชียงใหม่ท่าบอ่ โพนพสิ ยั ) ขอนแก่น (อ. ภเู วียงชุมแพสีชมพูภผู า
มา่ นหนองนาคาเวียงเก่าหนองเรือบางหมบู่ า้ น) ยโสธร (อ. เมืองทรายมูลกดุ ชุมบางหมบู่ า้ น) อุดรธานี (อ.
บา้ นผือเพญ็ บางหม่บู า้ น)

2. ภาษาลาวเหนือ ใชก้ นั ในทอ้ งที่เมืองหลวงพระบางไซยะบูลีอดุ มไซ จ. เลยอุตรดิตถ์ (อ.
บา้ นโคกน้าปาดฟากท่า) เพชรบรู ณ์ (อ. หล่มสักหลม่ เก่าน้าหนาว) ขอนแก่น (อ. ภผู ามา่ นและบางหมบู่ า้ น
ของอ. สีชมพชู ุมแพ) ชยั ภมู ิ (อ. คอนสาร) พษิ ณุโลก (อ. ชาติตระการและนครไทยบางหม่บู า้ น) หนองคาย
(อ. สงั คม) อุดรธานี (อ. น้าโสมนายงู บางหม่บู า้ น)

3. ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ใชก้ นั ในทอ้ งที่เมืองเซียงขวางหวั พนั ในประเทศไทยทอ้ งท่ี
บา้ นเชียงอ. หนองหานอ. บา้ นผือ จ. อดุ รธานีและบางหมู่บา้ นในจ. สกลนครหนองคายและยงั มีชุมชนลาว
พวนในภาคเหนือบางแห่งในจงั หวดั สุโขทยั อตุ รดิตถ์ และแพร่ ไมก่ ี่หมบู่ า้ นเทา่ น้นั

4. ภาษาลาวกลางแยกออก เป็นสาเนียงถ่ิน 2 สาเนียงใหญค่ อื ภาษาลาวกลางถ่ินคาม่วนและถิ่น
สะหวนั นะเขด ถ่ินคาม่วนจงั หวดั ท่ีพดู ในประเทศไทย เช่น จ. นครพนมสกลนครหนองคาย (อ. เซกาบึงโขง
หลงบางหม่บู า้ น) ถิ่นสะหวนั นะเขต จงั หวดั ท่ีพูดมีจงั หวดั เดียวคอื จ. มุกดาหาร

5. ภาษาลาวใต้ ใชก้ นั ในทอ้ งท่ีแขวงจาปาสักสาละวนั เซกองอตั ตะปื อ จงั หวดั ท่ีพูดในประเทศ
ไทยจ. อุบลราชธานี อานาจเจริญ ศรีสะเกษ และยโสธร

6. ภาษาลาวตะวนั ตก ไม่มีใชใ้ นประเทศลาวเป็นภาษาที่ใชใ้ นทอ้ งถิ่นภาค มลฑ
ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทยทอ้ งที่ ร้อยเอด็ กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และบริเวณใกลเ้ คียง
ลร้อยเอด็ ของประเทศสยาม

15

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

6. เคร่ืองดนตรีพื้นบ้าน

เคร่ืองดนตรีพ้ืนบา้ นมีความสาคญั ต่อคนอีสานมาก โดย kapok (2555) ไดส้ รุปไวว้ า่ เน่ืองจากภาค
อีสานเป็นแหลง่ รวมวฒั นธรรมท้งั เพลงพ้ืนบา้ น และการฟ้อนรา ดงั น้นั ชาวอีสานจึงใหค้ วามสาคญั กบั เคร่ือง
ดนตรีท่ีใชใ้ นการบรรเลงท่วงทานองตา่ ง ๆ เป็นอยา่ งมาก ดงั น้นั เคร่ืองดนตรีของชาวอีสานจึงมีครบทุก
ประเภทท้งั ดีด สี ตี เป่ า อาทิ

จะเข้กระบือ : เคร่ืองดนตรีสาคญั ท่ีใชใ้ นวงมโหรีเขมร เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดในแนวนอน
มี 3 สาย

กระจับป่ี : เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด โดยใชก้ ระท่ีทาจากเขาสตั วก์ ล่องเสียงทาดว้ ยไมข้ นุน
หรือไมส้ กั

พณิ : เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีบรรเลงดว้ ยการดีดมี 2-3 สาย แตข่ ้ึนเป็นสองคูโ่ ดยข้นึ คู่ 5
ซอกนั ตรึม : เป็นเคร่ืองสายใชส้ ีทาดว้ ยไมก้ ล่องเสียงขงึ ดว้ ยหนงั งูมีช่องเสียงอยดู่ า้ นตรงขา้ ม
หน้าซอโปงลาง : เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทที่บรรเลงทานองดว้ ยการตีโดยใชบ้ รรเลงร่วมกบั แคน
กลองกนั ตรึม : เป็นเครื่องหนงั ชนิดหน่ึงทาดว้ ยไมข้ ดุ กลวงดึงใหต้ ึงดว้ ยเชือก
ลนิ้ ในตัวแคน : เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเป่ า ซ่ึงเป็นท่ีรู้จกั มากที่สุดของชาวภาคอีสานเหนือ
โหวด : เป็นเคร่ืองเป่ าชนิดหน่ึงท่ีไมม่ ีลิน้ เกิดจากกระแสลมที่เป่ าผา่ นไมร้ วก
กรับคู่ : เป็นกรับทาดว้ ยไมเ้ น้ือแขง็ ลกั ษณะเหมือนกบั กรับเสภาของภาคกลาง

16

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

สรุป

วฒั นธรรมของภาคอีสานถือวา่ มีความสาคญั เป็นอยา่ งมากต่อคนภาคอีสานเช่นประเพณีวฒั นธรรม
ความเช่ือในเรื่องตา่ งๆถือเป็นวฒั นธรรมท่ีสืบทอดต่อ ๆ กนั จากมารุ่นสู่รุ่นต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ไมว่ า่ จะ
เป็นวฒั นธรรมดา้ นอาหารการแตง่ กายรวมไปถึงวฒั นธรรมดา้ นภาษาเป็นตน้

ดงั น้นั เราจาเป็นที่จะตอ้ งศึกษาและทาความเขา้ ใจอยา่ งละเอียดท่ีสาคญั เราทุกคนตอ้ งช่วยกนั อนุรักษ์
และสืบทอดวฒั นธรรมภาคอีสานใหค้ งอยไู่ วต้ ราบนานเท่าน้นั

17

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

บรรณานุกรม

ทิภากร อ่อนอ่ิมสิน. (2555). “วฒั นธรรมด้านอาหารของคนภาคอสี าน” สืบคน้ เม่ือ 30 ตลุ าคม 2564 จาก
https://sites.google.com/site/monokna/xahar-phakh-xisan

ศศิวมิ ล วเิ ชียรพงษ.์ (ม.ป.ป. ). “ประเพณีของภาคอสี าน” สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 จาก
https://sites.google.com/site/praphenithiykib5543/prapheni-thxng-thin-phakh-xisan

สานกั ศิลปะและวฒั นธรรม. (ม.ป.ป. ). “วฒั นธรรมด้านการแต่งกายของคนภาคอสี าน” สืบคน้ เมื่อ 30 ตลุ าคม
2564 จาก https://culture.chandra.ac.th/images/pdf/64019.pdf

ออ้ ม. (2554). “ ภาษาของคนภาคอีสาน” สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 จาก
https://culture.chandra.ac.th/images/pdf/64019.pdf

อจั ฉรา คงประเสริฐ (2557). “ ลกั ษณะทอ่ี ยู่อาศัยของคนภาคอสี าน” สืบคน้ เม่ือ 30 ตลุ าคม 2564 จาก
https://www.gotoknow.org/posts/522099

kapok. (2555). “ เคร่ืองดนตรีพืน้ บ้าน” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564 จาก
https://travel.kapook.com/view47157.html

18

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

วฒั นธรรมของภาคกลาง
( Culture of the central )

เพญ็ พชิ ชา อินทร์พรหม1 / Penpitcha Inprom
บทนา

ภาคกลางเป็นดินแดนแห่งความหลากหลายทางประเพณีและวฒั นธรรมท่ีมีความน่าสนใจไม่นอ้ ยไปกวา่
ภาคอื่นของไทย เพราะเป็นเมืองท่ีเตม็ ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ และเตม็ ไปดว้ ยเสน่หม์ นตข์ ลงั ชวนให้
น่าข้นึ ไปสัมผสั ความงดงามเหล่าน้ียง่ิ นกั ภาคกลางมีท้งั สิ้น 22 จงั หวดั ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร กาแพงเพชร
ชยั นาท นครนายก นครปฐม นครสวรรค์ นนทบรุ ี ปทมุ ธานี พระนครศรีอยธุ ยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์
ลพบุรี สมทุ รปราการ สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทยั สุพรรณบุรี อ่างทอง และอุทยั ธานี

ดงั น้นั ผูเ้ ขยี นจึงเขียนบทความน้ีข้ึนมา โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เสริมความรู้และความเขา้ ใจแก่ผูอ้ ่านไม่วา่
จะเป็นเรื่องของประเพณีของภาคกลางวฒั นธรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั อาหาร วฒั นธรรมดา้ นการแตง่ กายวฒั นธรรม
ดา้ นท่ีอยอู่ าศยั และวฒั นธรรมดา้ นการใชภ้ าษาเป็นตน้ ดว้ ยเหตุน้ีแลว้ จึงเป็นส่ิงท่ีสาคญั มากต่อพวกเราทกุ คนที่
จะร่วมกนั อนุรักษว์ ฒั นธรรมไทยไวใ้ หอ้ ยตู่ ราบนานเท่านาน

___________________________________________
1นกั ศึกษาปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย

19

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

1.วฒั นธรรมของภาคกลาง

1.1 ความเป็ นมาและความสาคญั ของวัฒนธรรมในภาคกลาง
ลดั ดาวลั ย์ วณี ิน, สาวิตรี เลก็ คา, นทั ธมน มะรังษี และพรพรหม คณาวงษ์ (2560). ไดส้ รุป

ความสาคญั ของภาคกลางไวด้ งั น้ี
วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินภาคกลางส่วนใหญ่เป็นวฒั นธรรมที่เก่ียวเน่ืองกบั พระพทุ ธศาสนา

เช่นเดียวกนั กบั วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินภาคเหนือ แต่มีลกั ษณะท่ีแตกต่างกนั ออกไปบา้ งเน่ืองจากสภาพแวดลอ้ มทาง
ธรรมชาติสังคมและคา่ นิยมในทอ้ งถิ่นที่แตกตา่ งกนั ลกั ษณะวฒั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีโดยรวมมี
ความเกี่ยวเน่ืองกบั พิธีกรรมในพระพุทธศาสนา และพิธีกรรมเกี่ยวกบั ความเชื่อในการดาเนินชีวิตซ่ึงถือวา่ เป็น
เอกลกั ษณ์ที่สาคญั ของวฒั นธรรมไทย

ตวั อย่างของวัฒนธรรมทางภาคกลางท่สี าคัญมีดงั นี้
1. ด้านศาสนาและลทั ธคิ วามเช่ือ เช่นการทาขวญั ขา้ ว
โดย Njoy (2551) ไดส้ รุปไวว้ า่ คนภาคกลางเช่ือว่า ถา้ ไดท้ าขวญั ขา้ วและถา้ พระ

แม่โพสพไดร้ ับเคร่ืองสังเวยแลว้ ไม่ทาใหเ้ มลด็ ขา้ วลม้ หนอนสตั วต์ ่าง ๆ มากล้ากรายไดผ้ ลผลิตอดุ มสมบูรณ์
ตลอดจนถวายแก่พระสงฆ์ เม่ือขา้ วนาสุกดีแลว้ เม่ือนวดขา้ วเสร็จก็จะกาหนดวนั พฤหสั บดีหรือวนั ศุกร์นาขา้ ว
ข้ึนยงั ชาวบา้ นกจ็ ะมาร่วมทาขวญั ขา้ ว ร้องเพลงทาขวญั แม่โพสพ ซ่ึงการการทาขวญั ขา้ วน้นั เป็นการสร้างขวญั
และกาลงั ใจใหก้ บั ชาวนาใหร้ ู้วา่ การทานาปลูกขา้ วของตนน้นั จะไมส่ ูญเปลา่ เพราะพระแมโ่ พสพเป็นผดู้ ูแลและ
เมื่อมีการเก่ียวขา้ วก็จะมาช่วยกนั เก่ียวขา้ ว เป็นการสร้างความสมคั รสมานสามคั คีและที่สุดคอื การร่วม
สนุกสนานเมื่อทกุ คนเหนื่อยยากและประสบความสาเร็จดว้ ยดี

2. ด้านท่เี กย่ี วกบั การดารงชีวิตทางการเกษตร เช่นการทาขวญั ขา้ ว
เป็นประเพณีที่ยงั คงทากนั อยา่ งกวา้ งขวางในหมขู่ องคนไทยภาคกลางไทย

พวนและไทยอีสานทว่ั ไปโดยจะนิยมทากนั เป็นระยะคอื ก่อนขา้ วออกรวงหลงั จากนวดขา้ วและขนขา้ วข้ึนยงั

3. ด้านยาและการรักษาพื้นบ้าน
จากการศึกษาคน้ ควา้ และรวบรวมตารายาพ้ืนบา้ นในจงั หวดั ชลบรุ ีโดยไดม้ ี

การสมั ภาษณ์แพทยแ์ ผนโบราณ และคน้ ควา้ จากตาราที่บนั ทึกอยใู่ นใบลานสมุดข่อยขาวสมุดขอ่ ยดา พบวา่ มี
ตารายาไทยแผนโบราณท้งั หมด 318 ขนานท่ียงั ใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั มี 138 ขนานจาแนกตามคุณสมบตั ิเช่นยาแกไ้ ข้
12 ขนานยาแกท้ อ้ งเสีย 6 ขนานยาขบั โลหิต 29 ขนานยาแกไ้ อ 1 ขนานยาแกท้ อ้ งอืดทอ้ งเฟ้อ 2 ขนานยาแกล้ ม 11
ขนานเป็นตน้ โดยยาส่วนใหญจ่ ะเป็นพชื สมุนไพรและแร่ธาตุ

20

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

นอกจากน้ียงั มีตวั อยา่ งประเพณีวฒั นธรรมของคนในภาคกลางอีกจานวนมาก ที่ถือปฏิบตั ิกนั มา
แตช่ า้ นาน เช่น งานพิธีการทิ้งกระจาด ของจงั หวดั สุพรรณบุรีงาน ประเพณีแห่เจา้ พ่อเจา้ แม่ปากน้าโพจงั หวดั
นครสวรรค์ งานประเพณีตกั บาตรเทโวของจงั หวดั อุทยั ธานี ประเพณีตกั บาตรน้าผ้ึงจงั หวดั ฉะเชิงเทราประเพณี
ก่อเจดียท์ รายจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ประเพณีกวนขา้ วทิพยห์ รือขา้ วมธุปายาสจงั หวดั ชยั นาท และประเพณีสู่ขวญั สู่
ขา้ วจงั หวดั นครนายก เป็นตน้

1.2 ประเพณีของภาคกลาง
จนั ทร์เพญ็ บุญพรรณมงคล, นิภาภรณ์อคั รจินดากลุ , สิรภพช่างสุวรรณ, เบญจวรรณสุริยะ และ

จิราพรอามะรึก ไดร้ วบรวมประเพณีของภาคกลางที่สาคญั ๆ ดงั น้ี

1. ประเพณรี ับบวั เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีเกิดและจดั ข้นึ ในอาเภอบางพลีจงั หวดั สมทุ รปราการ
มาชา้ นาน แต่เพิ่งปรากฏหลกั ฐานในราว พ.ศ. ๒๔๖๗ วา่ เดิมจดั ในวนั ข้นึ ๑๔ ค่าเดือน ๑๑ ของทุกปี และจากคา
บอกเล่าของผเู้ ฒ่าผแู้ ก่ชาวอาเภอบางพลี เป็นท่ีทราบกนั โดยทว่ั ไปแลว้ นน่ั เอง และชาวอาเภอบางพลีจงั หวดั
สมุทรปราการมีส่ิงหน่ึงที่ช่วยยนื ยนั ถึงความเป็นผมู้ ีน้าใจไมตรีของคนไทยเช่นกนั ส่ิงน้นั คอื มรดกทาง
วฒั นธรรมท่ีบรรพบุรุษของชาวบางพลี ไดม้ อบไวใ้ หล้ กู หลานของตนนน่ั คือ “ ประเพณีรับบวั ”

2. ประเพณีอุ้มพระดาน้า เป็นประเพณีที่ไดร้ ่วมมือกนั จดั ข้ึนในวนั แรมสิบหา้ ค่าเดือนสิบซ่ึง
ประวตั ิความเป็นมาของประเพณีอุม้ พระดาน้าก็คือเม่ือประมาณ 400 ปี ที่ผา่ นมามีชาวบา้ นกลุม่ หน่ึงมีอาชีพหา
ปลาขายและไดไ้ ปหาปลาที่แม่น้าป่ าสกั เป็นประจาทกุ วนั อยมู่ าวนั หน่ึงที่ไดเ้ กิดเร่ืองท่ีไมม่ ีใครใหค้ าตอบไดว้ า่
เกิดอะไรข้ึนเพราะวนั น้นั ไม่มีใครจบั ปลาไดส้ กั ตวั จากน้นั กเ็ กิดเหตกุ ารณ์ประหลาดข้ึนตรงบริเวณวงั มะขาม
แฟบ (ไมร้ ะกา) ซ่ึงปกติบริเวณน้ีน้าจะไหลเช่ียวมากจู่ๆก็หยดุ ไหลและมีพลายน้าผดุ ข้ึนมาแลว้ พระพุทธรูปก็
ผลดุ ข้นึ มาดว้ ยชาวบา้ นจึงไดอ้ ญั เชิญพระพุทธรูปองคด์ งั กล่าวข้ึนจากน้าและนาไปประดิษฐานไวท้ ี่วดั ไตรภูมิ
เป็นพระพทุ ธรูปคู่บา้ นคูเ่ มืองของจงั หวดั เพชรบูรณ์จนกระทงั่ ถึงวนั สารทไทยหรือวนั แรม 15 ค่าเดือนสิบ
พระพทุ ธรูปองคด์ งั กลา่ ว (พระพทุ ธมหาธรรมราชา) กไ็ ดห้ ายไปจากวดั ชาวบา้ นจึงช่วยกนั ตามหาและเจอ
พระพุทธรูปอยบู่ ริเวณวงั มะขามแฟบจากน้นั เป็นตน้ มาพอถึงวนั แรม 15 ค่าเดือน 10 ชาวจงั หวดั เพชรบูรณ์จะจดั
งานซ่ึงเรียกวา่ “ อมุ้ พระดาน้า

21

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

3.ประเพณวี ิง่ ควาย เป็นหน่ึงในประเพณีอนั เป็นเอกลกั ษณ์ของจงั หวดั ชลบุรีที่มีการจดั มาก
วา่ 100 ปี แลว้ ประเพณีวง่ิ ควายเป็นประเพณีท่ีจดั ข้ึนเป็นประจาทุกปี ในวนั ข้ึน 15 ค่าเดือน 11 หรือก่อน
ออกพรรษา 1 วนั เพ่ือเป็นการทาขวญั ควายและใหค้ วายไดพ้ กั ผอ่ นหลงั จากตรากตรากบั การงานในทอ้ ง
นามายาวนานนอกจากน้ีประเพณีวิ่งควายยงั เป็นการแสดงความกตญั ญูรู้คณุ ต่อควายท่ีเป็นสัตวม์ ีบญุ คุณ
ตอ่ ชาวนาและคนไทยอีกท้งั ยงั เพื่อใหช้ าวบา้ นไดม้ ีโอกาสพกั ผอ่ นมาพบปะสังสรรคก์ นั ในงานวง่ิ ควาย

4. ประเพณีกวนข้าวทิพย์ เป็นพระราชพิธีท่ีกระทากนั ในเดือน ๑๐ ซ่ึงมีมาต้งั แตส่ มยั
สุโขทยั และกรุงศรีอยธุ ยาเป็นราชธานีและไดร้ ับการฟ้ื นฟูคร้ังใหญ่ในสมยั รัชกาลท่ี 9 และมาละเวน้
เลิกราไปในสมยั รัชกาลที่ ๒ และรัชกาลที่ ๓ แลว้ มาไดร้ ับการฟ้ื นฟูอีกคร้ังหน่ึงในสมยั รัชกาลที่ 4 เป็น
ตน้ มา แตใ่ นปัจจุบนั น้ีส่วนใหญจ่ ะจดั กนั ในเดือน ๑๒ บางแห่งกเ็ ดือนหน่ึงซ่ึงคงจะถือเอาระยะท่ีขา้ ว
กลา้ ในทอ้ งนามีรวงขาวเป็นน้านมของแต่ละปี และชาวบา้ นที่มีความพร้อมเพรียง

5. ประเพณบี ายศรีสู่ขวญั ข้าว ช่วงเวลาประเพณีไทยสู่ขวญั ขา้ ว (ทว่ั ไป) บุญสู่ขวญั ขา้ ว
หมบู่ า้ นเนินใหมต่ าบลโคกกรวด) เรียกขวญั ขา้ ว (หมู่บา้ นท่าด่าน) กระทาในวนั ข้ึน 5 ค่าเดือน ๓ เพื่อ
เรียกขวญั พระแม่โพสพที่ตกหลน่ ตามทอ้ งนาข้ึนสู่ยงุ้ ฉางบชู าพระแมโ่ พสพป้องกนั ศตั รูพชื และสตั ว์
ทาลายเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลิตมากในปี ตอ่ ไปเพ่ือเป็นการบารุงขวญั และความเชื่อของชาวนารวมถึงการแสดง
ความกตญั ญูตอ่ พระแมโ่ พสพเพ่อื บนั ดาลใหข้ า้ วในปี หนา้ ไดผ้ ลผลิตดียงิ่ ข้ึน 2. วฒั นธรรมดา้ นการแต่ง
กายการแต่งกายพ้ืนเมืองของภาคกลางมีลกั ษณะแตกต่างกนั ไปตามเช้ือชาติของกลุม่ ชนคนเมืองโดย
สานกั ศิลปะและวฒั นธรรมไดส้ รุปเน้ือหาไวด้ งั น้ีผชู้ ายสมยั ก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง
นิยมสวมใส่โจงกระเบนสวมเส้ือสีขาวติดกระดุม 5 เมด็ ที่เรียกวา่ "ราชประแตน" ไวผ้ มส้นั ขา้ งๆตดั
เกรียนถึงหนงั ศีรษะขา้ งบนหวแี สกกลางผหู้ ญิงสมยั ก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองนิยมสวม
ใส่ผา้ ซิ่นยาวคร่ึงแขง้ ห่มสไบเฉียงตามสมยั อยธุ ยาทรงผมเกลา้ เป็นมวยและสวมใส่เครื่องประดบั เพ่ือ
ความสวยงาม

2. วฒั นธรรมการแต่งกายของคนภาคกลาง

การแตง่ กายของคนพ้นื เมืองของภาคกลางน้นั มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ออกไป ตามเช้ือชาติของกลมุ่ ชนคน
เเมือง โดย สานกั ศิลปะและวฒั นธรรม ไดส้ รุปเน้ือหาสาระสาคญั ไวด้ งั น้ี

ผชู้ าย สมยั ก่อนการเปล่ียนแปลงระบอบปกครอง นิยมสวมใส่โจงกระเบน สวมเส้ือสีขาวติดกระดุม
5 เมด็ ท่ีเรียกวา่ “ราชประแตน” ไวผ้ มส้นั ขา้ งๆ ตดั เกรียนถึงหนงั ศรีษะขา้ งบนหวีแสกกลาง

22

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

ผหู้ ญิง สมยั ก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบปกครอง นิยมสวมใส่ผา้ ซิ่นยาวคร่ึงแขง้ ห่มสไบเฉียงตาม
สมยั อยธุ ยา ทรงผมเกลา้ เป็นมวย สวมใส่เครื่องประดบั เพื่อความสวยงาม

วฒั นธรรมการแต่งกายของคนภาคกลาง ตามธรรมดาคนไทยสมยั โบราณไม่นิยมสวมเส้ือผา้ แมแ้ ต่เวลา
เขา้ เฝ้าพระเจา้ อยหู่ ัวจึงประกาศใหข้ า้ ราชการสวมเส้ือเขา้ เฝ้าในสมยั รัชกาลที่ 4 ทรงสนบั สนุนใหม้ ีการศึกษา
ภาษาองั กฤษและวฒั นธรรมตะวนั ตกข้ึนในราชสานกั จึงเกิดการเปล่ียนแปลงเคร่ืองแต่งกายสตรีโดยผหู้ ญิงผม
เลิกไวผ้ มปี กหนั มาไวผ้ มยาวประบ่าการแตง่ กายนุ่งผา้ ลายโจงกระเบนเส้ือผา้ อกแขนยาวห่มแพรจีบตามขวาง
สไบเฉียงทาบบนเส้ืออีกช้นั หน่ึงถา้ อยบู่ า้ นห่มสไบไม่สวมเส้ือเม่ือมีงานพธิ ีจึงนุ่งห่มตาดเคร่ืองประดบั สร้อยคอ
สร้อยตวั สร้อยขอ้ มือกาไลแหวนเขม็ ขดั ผชู้ ายผมเลิกไวท้ รงมหาดไทยหนั มาไวผ้ มยาวท้งั ศีรษะผมรองทรง
พระมหากษตั ริยแ์ ละพวกราชทตู ไทยจะแตง่ ตวั แบบฝรั่งคอื สวมกางเกงใส่เส้ือนอกคอเปิ ดสวมรองเทา้ คทั ชู

3. วัฒนธรรมทางด้านอาหาร

วฒั นธรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั อาหารของคนภาคอีสานน้นั มีอยหู่ ลายหลายโดยนุชบาจิตรกญั ญา. (2555)
ไดส้ รุปไวว้ า่

เน่ืองจากสภาพภูมิศาสตร์ของภาคกลางเป็นท่ีราบลมุ่ มีแม่น้าลาคลองหนองบึงมากมายจึงเป็น
แหลง่ อาหารท้งั พชื ผกั และสตั วน์ ้านานาชนิดพ้ืนที่บางส่วนติดชายฝั่งทะเล ทาใหว้ ตั ถุดิบในการประกอบอาหาร
หลากหลายอดุ มสมบูรณ์ อาหารภาคกลางมีความหลากหลายท้งั ในการปรุงรสชาติ และการตกแตง่ ให้น่า
รับประทาน สืบเนื่องจากการรับและปรับเปลี่ยนวฒั นธรรมจากภายนอก เช่น จีน อินเดีย ชาวตะวนั ตก
อีกท้งั อาหารภาคกลางบางส่วนไดร้ ับอิทธิพลมาจากอาหารของราชสานกั อีกดว้ ย

สารับอาหารภาคกลางมกั มีน้าพริกและผกั จ้ิมโดยรับประทานขา้ วสวยเป็นหลกั ลกั ษณะอาหารที่
รับประทานมกั ผสมผสานระหว่างภาคตา่ ง ๆ เช่น แกงไตปลา ปลาร้า น้าพริกอ่องกบั ขา้ วพ้นื บา้ นของคนภาค
กลางซ่ึงเป็นแหลง่ รวมสารับอาหารอนั หลากหลาย ประกอบข้ึนดว้ ยวธิ ีการปรุงหลายแบบ เช่น แกง ตม้ ผดั ทอด
และมกั ใชก้ ะทิใส่อาหารประเภทแกงเผด็ ทกุ ชนิด เช่น แกงเขียวหวาน นอกจากน้ี มีแกงสม้ แกงเลียง
แกงป่ า แกงจืด นิยมไปทวั่ โลก คือ ผดั ไทย ตม้ ยากงุ้ ที่ประกอบไปดว้ ยพืชสมนุ ไพรหลายชนิดและประกอบข้นึ
จากพืชผกั ที่หาไดใ้ นทอ้ งถิ่นทวั่ ไปลว้ น แต่มีสรรพคุณเป็นยามีประโยชน์ต่อร่างกายท้งั สิ้น

23

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

4. วัฒนธรรมด้านภาษา

ภาษากลางคือ ภาษาท่ีใชพ้ ูดกนั ในจงั หวดั ภาคกลาง ซ่ึงถือเป็นของประเทศไทยมาต้งั นานแลว้
เช่น สุพรรณบุรี อา่ งทอง ราชบรุ ี กาญจนบุรี นครปฐม และพระนครศรีอยธุ ยา เป็นตน้ ภาษาภาคกลางที่สาคญั
คือ ภาษากรุงเทพฯ ซ่ึงเป็นภาษาราชการและเป็นภาษาประจาชาติซ่ึงการแบง่ ภาษาถ่ินเป็นการแบ่งอยา่ งคร่าวๆ
ซ่ึงตามสภาพความเป็นจริงแลว้ ภาษาในแต่ละภาคกไ็ มเ่ หมือนกนั ทีเดียวมีความผิดเพ้ียนกนั ไปบา้ งภาษา
กรุงเทพฯ ถือเป็นภาษาถิ่นภาคกลาง ที่ยอมรับกนั วา่ เป็นภาษามาตรฐานที่กาหนดใหค้ นในชาติใชร้ ่วมกนั เพ่อื
ส่ือสารใหต้ รงกนั แต่ภาษาถ่ินทกุ ภาษามีศกั ด์ิศรีความเป็นภาษาเท่าเทียมกนั ถา้ เราเขา้ ใจ และสามารถใชภ้ าษาถิ่น
ไดจ้ ะทาใหส้ ่ือสารสมั ฤทธ์ิผลและเสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั ยงิ่ ข้นึ ความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาถิ่นใน
ประเทศไทย

5. วัฒนธรรมด้านทีอ่ ยู่อาศัย

ภาคกลางชุมชนบา้ นเรือนในแถบภาคกลางเป็นสังคมเกษตรกรรม แถบพ้ืนที่บริเวณที่ราบลมุ่ แม่น้า
ชาวบา้ นในภาคกลางจึงผกู พนั และใชป้ ระโยชนต์ า่ งๆ จากแมน่ ้าเนื่องจาก ภาคกลางมีภูมิอากาศท่ีร้อนอบอา้ ว
เกือบจะร้อนตลอดท้งั ปี คนจึงนิยมปลกู บา้ นริมน้า ตวั บา้ นสร้างข้ึนดว้ ยไมเ้ ป็นเรือนช้นั เดียวแบบเรียบงา่ ยมีการ
ออกแบบใหป้ ้องกนั ความอบอา้ วของอากาศฝนและแสงแดด

เรือนไทยภาคกลาง เป็นเรือนไทยประเภทท่ีนิยมท่ีสุด มีลกั ษณะเป็นเรือนยกพ้นื ใตถ้ นุ สูงสูงจาก
พ้ืนดินเสมอศีรษะ คนยนื รูปทรงลม้ สอบหลงั คาทรงสูงชายคายน่ื ยาว เพอ่ื กนั ฝนสาดแดดส่องนิยมวางเรือนไป
ตามสภาพแวดลอ้ มทิศทางลมตามความเหมาะสม ถือเป็นแบบฉบบั ของเรือนไทยเดิมท่ีเราคุน้ เคยกนั ดีใน
รูปแบบเรือน ถือเป็นเรือนไทยแทเ้ รือนไทยฝาปะกนคือเรือนที่ฝาทาจากไมส้ ักมีไมล้ ูกต้งั และลูกนอน และมีแผน่
ไมบ้ างเขา้ ลิน้ ประกบกนั สนิทหนา้ จวั่ ก็ทาดว้ ยวธิ ีเดียวกนั เราจะพบเห็นเรือนไทยภาคกลางรูปแบบต่าง ๆ อาทิ
เรือนเด่ียว เรือนหมู่ เรือนหมู่คหบดี และเรือนแพ

สรุป

วฒั นธรรมของภาคกลาง ถือวา่ มีความสาคญั เป็นอยา่ งมากต่อคนภาคกลาง ถือเป็นดินแดนแห่งความ
อดุ มสมบรู ณ์ และวฒั นธรรมของภาคกลางมีอยู่แพร่หลาย เช่น ประเพณีว่งิ ควาย ประเพณีบายศรีสู่ขวญั เป็น
ตน้ นอกจากน้ียงั มี วฒั นธรรมในเรื่องของความเช่ือต่างๆ ซ่ึงเป็นวฒั นธรรมท่ีสืบทอดต่อ ๆ กนั จากมารุ่นสู่รุ่น
ต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ไมว่ า่ จะเป็นวฒั นธรรมดา้ นอาหาร วฒั นธรรมดา้ นการแตง่ กาย รวมไปถึงวฒั นธรรม
ดา้ นภาษา เป็นตน้

ดงั น้นั เราจาเป็นที่จะตอ้ งศึกษาและทาความเขา้ ใจอยา่ งละเอียด ท่ีสาคญั เราทกุ คนตอ้ งช่วยกนั อนุรักษ์
และดินแดนแห่งความอุดมสมบรู ณ์น้ีไว้ และช่วยกนั สืบทอดวฒั นธรรมภาคอีกลางใหค้ งอยไู่ วต้ ราบนานเทา่ น้นั

24

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

บรรณานุกรม

จนั ทร์เพญ็ บุญพรรณมงคล, นิภาภรณ์ อคั รจินดากลุ , สิรภพ ช่างสุวรรณ, เบญจวรรณ สุริยะ และจิราพร
อามะรึก. (ม.ป.ป. ).“ประเพณีภาคกลาง” สืบคน้ เม่ือ 30 ตลุ าคม 2564 จาก

https://thailandbysai.wordpress.com
นุชบา จิตรกญั ญา. (2555). “วฒั นธรรมด้านอาหารของคนภาคกลาง” สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 จาก

https://sites.google.com/site/xaharpracachatithiy/xahar-phun-ban-phakh-klang
ลดั ดาวลั ย์ วณี ิน, สาวติ รี เลก็ คา, นทั ธมน มะรังสี และพรพรหม คณาวงษ.์ (2560).

“วัฒนธรรมของคนภาคกลาง” สืบคน้ เมื่อ 30 ตลุ าคม 2564 จาก
https://sites.google.com/site/cultureofth/prapheni-thiy-phakh-tawan-xxk-cheiyng-henux/wathnthrrm-phakh-
klang
สานกั ศิลปะและวฒั นธรรม. (ม.ป.ป. ). “ วัฒนธรรมการแต่งกายของคนภาคกลาง” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564

https://culture.chandra.ac.th/images/pdf/64019.pdf.
Childrenlovethai. (2559). “วัฒนธรรมที่อยู่อาศัยของคนภาคกลาง” สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 1

http://childrenlovethai.blogspot.com/p/blog-page_30.html
Njoy. (2551). “ความเชื่อของคนภาคกลางเร่ืองการทาขวัญข้าว” สืบคน้ เมื่อ 30 ตลุ าคม 2564 จาก

http://www.openbase.in.th/node/8721

25

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

วฒั นธรรมของภาคใต้
( Culture of the south )

ปาภาวดี กายรัตน์ 1 / Paphawadee Kaiyarat

บทนา

ภาคใต้ เป็นดินแดนแห่งหมูเ่ กาะและทอ้ งทะเลอนั งดงาม อีกท้งั ยงั มีความอุดมสมบูรณ์ของ
ทรัพยากรธรรมชาติมากมาย นอกจากน้ี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ีชีวติ ของชาวใตย้ งั โดดเด่นมีเอกลกั ษณ์และ
เปี่ ยมเสน่ห์ชวนใหเ้ ขา้ ไปสัมผสั และเรียนรู้อยา่ งใกลช้ ิด จึงไมน่ ่าแปลกใจวา่ ในแต่ละปี ภาคใต้จดั เป็นอีกภาค
ที่มีนกั ท่องเท่ียวท้งั ไทยและต่างชาติมาเที่ยวชมมากมาย สาหรับจงั หวดั ในภาคใต้ จากการแบง่ พ้นื ที่ตาม
ราชบณั ฑิตยสถาน มีท้งั สิ้น 14 จงั หวดั ดงั น้ี กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี ยะลา
พงั งา สงขลา พทั ลงุ ระนอง สตูล และสุราษฎร์ธานี

ซ่ึงภมู ิประเทศของภาคใตม้ ีเอกลกั ษณ์เฉพาะ คอื มีชายฝ่ังประกบเทือกเขาสูงที่อย่ตู รงกลาง ซ่ึงไม่มี
ภูมิภาค อื่นๆ ภูมิประเทศเป็นหลกั จึงเป็นเทือกเขาและชายฝั่ง เป็นท่ีราบจะมีอยเู่ ป็นแนวแคบๆ แถบชายฝั่ง
ทะเล และสองฝั่งลาน้า การต้งั ถิ่นฐานจะอยบู่ ริเวณชายฝั่งทะเลท้งั ดา้ นตะวนั ออกและตะวนั ตก จากลกั ษณะ
ทาง ภูมิศาสตร์ของภาคใต้ ทาใหม้ ีคนท่ีตา่ งภาษาตา่ งวฒั นธรรมอยา่ งหลากหลายเดินทางเขา้ มาภาคใตม้ ีท้งั
ชาว พุทธ ชาวมุสลิม ตา่ งเช้ือชาติกนั เช่น คนไทย คนจีน และผทู้ ี่มีเช้ือสายมาเลย์ รวมท้งั ชาวเมือง เช่น
ชาวเล อาศยั อยกู่ นั วฒั นธรรมภาคใตจ้ ึงมีรูปแบบอนั เป็นเอกลกั ษณ์ท่ีแตกต่างกนั ในแต่ละพ้นื ที่ ดงั น้นั ภาคใต้
จึง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจเพราะมีภมู ิศาสตร์ท่ีงดงาม มีชายฝ้ังทะเลและมีวฒั นธรรมหรือการ
ดารงชีวิต ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์

ดงั น้นั ผเู้ ขียนจึงเขียนบทความน้ีข้นึ มาโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ เสริมความรู้และความเขา้ ใจแก่ผอู้ า่ น
ไมว่ า่ จะเป็นเร่ืองของประเพณีของภาคใต้ วฒั นธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อาหาร วฒั นธรรมดา้ นการแตง่ กาย
วฒั นธรรมดา้ นท่ีอยอู่ าศยั และวฒั นธรรมดา้ นการใชภ้ าษา เป็นตน้ ดว้ ยเหตุน้ีแลว้ จึงเป็นสิ่งที่สาคญั มากตอ่
พวกเราทกุ คนที่จะร่วมกนั อนุรักษว์ มั นธรรมไทยไวใ้ หอ้ ยตู่ ราบนานเท่านาน

___________________________
1นกั ศึกษาปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย

26

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

1. วัฒนธรรมของภาคใต้

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของวฒั นธรรมในภาคกลาง
ภาคใตม้ ีประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาอนั ยาวนาน เป็นแหล่งรับอารยธรรมจากพระพทุ ธศาสนา ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู และศาสนาอิสลาม ซ่ึงไดห้ ลอ่ หลอมเขา้ กบั ความเชื่อดงั่ เดิม ก่อให้เกิดการบรูณาการเป็น
วฒั นธรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้

1.2 ประเพณขี องภาคใต้
จนนั ญา เรือนจนั ทร์ และคณะไดร้ วบรวมเน้ือหาสาระที่เกี่ยวขอ้ งกบั ประเพณีของภาคใต้ ไวด้ งั น้ี

ประชากรทางใตป้ ระกอบดว้ ยชุมชนชาวไทย-พุทธ และ ชุมชนชาวไทย-มุสลิม โดยพ้นื ที่
ตอนบน นบั จากชุมพรไปถึง พทั ลุง ส่วนใหญ่จะเป็นชาวไทยนบั ถือพุทธศาสนา ส่วนทางพ้นื ที่ตอนล่างส่วน
ใหญ่เป็นชาวไทยเช้ือสายมลายู (ไทย-มสุ ลิม) ประเพณีท่ีสาคญั มีดงั น้ี

1. ประเพณีชักพระ
เป็นประเพณีทอ้ งถ่ินในภาคใตต้ อนกลาง เป็นประเพณีที่เก่ียวขอ้ งกบั ความศรัทธาใน

พระ พทุ ธศาสนา และวิถีชีวติ ชาวใตท้ ่ีมีความผกู พนั กบั น้า ประเพณีชกั พระหรือลากพระจดั ข้นึ ในช่วงออก
พรรษา โดยเฉพาะในวนั แรม 1 ค่า เดือน 11 ดว้ ยความเชื่อวา่ เป็นวนั ที่พระพทุ ธเจา้ เสด็จกลบั จากสวรรคช์ ้นั
ดาว ดึงส์ลงมายงั โลกมนุษย์ จึงมีการจดั งาน เพ่ือแสดงความยนิ ดี ประชาชนจึงอญั เชิญพระพทุ ธองคข์ ้ึน
ประทบั บนบุษบกที่จดั เตรียมไว้ แลว้ แห่แหนไปยงั ที่ประทบั ส่วนใหญ่จะเป็นการจดั ขบวนทางเรือ แตใ่ น
พ้ืนท่ีที่ห่างไกลแม่น้า
ก็จะจดั พิธีทางบก ประเพณีลากพระ เป็นการแสดงออกถึงความพร้อมเพรียง สามคั คพี ร้อมใจกนั ในการ
ทาบุญ
ทาทาน จึงใหส้ าระและความสาคญั ดงั น้ี

1. ชาวบา้ นเช่ือวา่ อานิสงส์ในการลากพระ จะทาใหฝ้ นตกตามฤดูกาล เกิดคติ
ความเชื่อวา่ "เมื่อพระหลบหลงั ฝนจะตกหนกั " นมพระจึงสร้างสญั ลกั ษณ์พญานาค เพราะเชื่อวา่ ใหน้ ้า การ
ลากพระจึงสมั พนั ธเ์ กี่ยวขอ้ งกบั วิถีชีวติ ของคนในสังคมเกษตร

2. เป็นประเพณีที่ปฏิบตั ิตามความเชื่อวา่ ใครไดล้ ากพระทกุ ปี จะไดบ้ ุญมาก
ส่งผลใหพ้ บความสาเร็จในชีวิต ดงั น้นั เม่ือนมพระลากผา่ นหนา้ บา้ นของใคร คนที่อยใู่ นบา้ นจะออกมาช่วย
ลากพระ และคนบา้ นอื่นจะมารับทอดลากพระตอ่ อยา่ งไมข่ าดสาย

27

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

3. เกิดแรงบนั ดาลใจ แต่งบทร้อยกรองสาหรับขบั ร้องในขณะที่ช่วยกนั ลากพระ
ซ่ึงมกั จะเป็นบทกลอนส้ัน ๆ ตลก ขบขนั และโตต้ อบกนั ไดฝ้ ึกท้งั ปัญญาและปฏิภาณไหวพริบ

2. ประเพณลี อยเรือ เป็นประเพณีท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษด้งั เดิมของชาวอูรักลาโวย ท่ี
อาศยั อยใู่ นจงั หวดั กระบ่ีและจงั หวดั ใกลเ้ คียง เม่ือถึงเวลาที่กาหนดสมาชิกในชุมชนและญาติพี่นอ้ งท่ีแยกยา้ ย
ถิ่นไปทามาหากิน ในแถบทะเล และหมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลอนั ดามนั จะพากนั เดินทางกลบั มายงั ถ่ินฐาน เพ่ือ
ประกอบพิธีน้ี

3.งานประเพณแี ห่พระแข่งเรือ อาเภอหลงั สวน จงั หวดั ชุมพร จดั เป็นมรดกทางวฒั นธรรม
เพอ่ื สร้างความสามคั คใี ห้เกิดข้นึ ในชุมชน และเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะทอ้ งถ่ิน โดยเฉพาะการข้ึนโขนชิงธง ท่ี
นายทา้ ยเรือตอ้ งถือทา้ ยเรือใหต้ รงเพ่ือใหน้ ายหวั เรือควา้ ธงท่ีทนุ่ เส้น ชยั โดยการข้นึ โขนเรือ ซ่ึงแสดงถึง
ความสามคั คแี ละความพร้อมเพรียงที่แสดงออกในรูปของการกีฬา และเป็นการสืบทอดประเพณีอนั ยาวนาน
ของทอ้ งถ่ิน

4.การถือศีลกนิ เจ ของชาวตรังตรงกบั วนั ข้นึ ๑ ค่า ถึง ๙ ค่า เดือน ๙ ของจีน (ตรงกบั เดือน
๑๑ ของไทย ช่วงเดือนกนั ยายน-ตลุ าคมทุกปี ) โรงศาลเจา้ ทุกโรงจะกาหนดการกินเจพร้อมกนั การประกอบ
พธิ ีกรรมจะใชส้ ถานที่บริเวณโรงศาลเจา้ ของแต่ละแห่ง พิธีกินเจ เป็นพิธีท่ีแสดงออกถึงการละเวน้ การฆา่
สัตวต์ ดั ชีวิต และเวน้ อบายมุขท้งั หมด และเป็นพธิ ีก่อใหเ้ กิดความสามคั คีในหมูส่ มาชิกท่ีมาร่วมพธิ ี

2. วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย

การแต่งกายพ้นื เมืองของภาคใตม้ ีลกั ษณะแตกต่างกนั ไปตามเช้ือชาติของกลุม่ ชนคนเมือง
โดย จนนั ญา เรือนจนั ทร์, ภิอรญา พานิชผล, พมิ พล์ ภสั จนั ทพฒั น์ เเละกิตติธชั ประชากลุ . ไดส้ รุปเน้ือหาไว้
ดงั น้ี

การแตง่ กายของคนภาคใตน้ ้นั เป็นการแตง่ กายที่ไมเ่ หมือนกบั ภาคอื่น ในดา้ นการแต่งกายชาว
ภาคใตใ้ ชผ้ า้ หลายรูปแบบ ท้งั ผา้ ฝ้าย ผา้ แพร ผา้ เขยี นลายเทียน ผา้ มดั -ยอ้ ม แต่ผา้ ท่ีมีชื่อท่ีสุดของภาคใตก้ ลบั
เป็นผา้ ยกท่ีมีช่ือเสียงเป็นอยา่ งมากแต่ชาวบา้ นปักษใ์ ตท้ ว่ั ไปแบบเดิมนิยมนุ่งผา้ คลา้ ยผา้ ขาวมา้ มีสีแดง การนุ่ง
ผา้ ปาเต๊ะหรือบาติกที่มีลวดลายสีสันหลากหลายเป็นความนิยมในช่วงหลงั จากการรับอิทธิพลของผา้
มาเลเซีย อินโดนีเซีย ชาวไทยมสุ ลิมภาคใตน้ ิยมนุ่งโสร่งท่ีมีความคลา้ ยกบั กบั ผา้ ขา้ วมา้ ของทางภาคอีสาน

ผชู้ ายส่วนใหญจ่ ะนิยมนุ่งผา้ โสร่งแตผ่ ูห้ ญิงจะนุ่งผา้ ปาเตะ๊ หรือผา้ บาติก แต่ในปัจจุบนั คนใตส้ ่วน
ใหญ่ก็จะนุ่งเส้ือผา้ ตามแฟชน่ั ที่มีขายอยตู่ ามทอ้ งตลาดทว่ั ไป แตผ่ า้ ท่ีมีช่ือเสียงของทางภาคใตก้ ็จะมีดว้ ยกนั
คอื ผา้ ยกเมืองนครศรีธรรมราช ผา้ ทอเกาะยอ ผา้ ทอนาหมื่นสี ผา้ ทอพุมเรียง ผา้ หางกระรอก ผา้ ปาเต๊ะผา้ ทอ
ปัตตานี เป็นตน้

28

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

ลกั ษณะผ้าท่คี นภาคใต้ส่วนมากใส่กนั คือ
ผ้าทอพุมเรียง เป็นผา้ ที่ทอจากอาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานีในปัจจุบนั ผทู้ อส่วนใหญ่

เป็นชาวมสุ ลิม เช่ือกนั วา่ แต่เดิมเป็นการทอใชเ้ องภายในครัวเรือน นิยมใชเ้ สน้ ฝ้ายลว้ น แตอ่ าจผสมเส้นไหม
บา้ งสาหรับผา้ ท่ีตอ้ งการความแวววาว ใชว้ ิธีทอแบบยกดอกนิยมนาไปตดั เป็นผา้ นุ่งสาเร็จ เนื่องจากตวั ซิ่นใช้
ดว้ ยสีลว้ นทอจึงทาใหส้ ีดูสดช่วยขบั ลายเชิงใหเ้ ด่นข้นึ ลกั ษณะลวดลายเลียนแบบธรรมชาติเช่นกนั เช่นดอก
พกิ ลุ ดอกบวั ดอกมะลิ ลายกา้ นแยง่

ผ้าหางกระรอก เป็นชนิดของผา้ ทอที่สร้างชื่อชนิดหน่ึงของภาคใตแ้ ละในภาคอีสานแถบ
จงั หวดั สุรินทร์ จงั หวดั บุรีรัมย์ จุดเด่นของผา้ หางกระรอกอยทู่ ่ีการใชเ้ ส้นดา้ ยสีต่างกนั ฝ้ันเป็นเกลียวผสมใน
การทอ ทาใหแ้ ลดูคลา้ ยขนของตวั กระรอก สมยั โบราณนิยมใชเ้ สน้ ยนื ไหมลว้ นและใชเ้ ส้นพุ่งไหม 2 สี
ตา่ งกนั เช่นน้าเงิน-ขาวฟ่ันเป็นเกลียวก่อนทอ ปัจจุบนั ใชด้ า้ ยใยสังเคราะหผ์ สมกบั เส้นไหมวทิ ยาศาสตร์การ
ใชเ้ ส้นใยผสมช่วยเพ่ิมความหลากหลายแก่เน้ือผา้ ใหค้ วามเหนียวและความมนั วาวกบั ผืนผา้ ซ่ึงนิยมนามาใช้
ทาเป็นผา้ นุ่ง ผา้ โจงกระเบน อยา่ งไรก็ดี ผา้ หางกระรอกซ่ึงทอดว้ ยเสน้ ใยผสมที่มีเน้ือผา้ แน่นก็อาจมีปัญหา
ต่อการสวมใส่ เพราะมีการถ่ายเทอากาศไดไ้ มด่ ีเทา่ กบั ผา้ ท่ีทอดว้ ยเส้นใยธรรมชาติ ในช่วงคร่ึงศตวรรษที่
ผา่ นมาชาวพมา่ นิยมใชผ้ า้ หางกระรอกเป็นโสร่งสาหรับงานพธิ ีสาคญั และนิยมสงั่ ซ้ือจากกรุงเทพฯ อยรู่ ะยะ
หน่ึง

ผ้าปาเต๊ะ สาหรับชาวใตโ้ ดยทวั่ ไปไมน่ ิยมสวมเส้ือผา้ ที่ผลิตดว้ ยใยไหม เวน้ แตจ่ ะเป็น
โอกาสพเิ ศษเทา่ น้นั ในเวลาทว่ั ไปจะนิยมสวมเส้ือผา้ เน้ือบางเบาแต่มีลายสีสันฉูดฉาด โดยเฉพาะผา้ ยอ้ มสีท่ี
เรียกวา่ ผา้ ปาเต๊ะ เป็นท่ีนิยมแพร่หลายตามคาบสมุทรภาคใตช้ าวมลายู จนกระทง่ั ถึงชาวหมเู่ กาะชวา หมูเ่ กาะ
สุมาตรา และฟิ ลิปปิ นส์ ผา้ ปาเต๊ะเป็นผา้ ฝ้ายเน้ือบางเบานามาเขียนลายดว้ ยข้ีผ้ึง แลว้ ใชส้ ียอ้ มภายในกรอบ
เส้นข้ีผ้ึงจะใหล้ ายชดั เจนกวา่ การมดั ยอ้ ม ส่วนใหญน่ ิยมใชท้ าผา้ นุ่ง ผา้ โสร่ง ตดั เส้ือ และใชเ้ ป็นผา้ ปนู งั่ หรือ
ผา้ คลมุ ตา่ ง

ผ้าทอปัตตานี ส่วนใหญ่ทอดว้ ยไหมละเอียด ลวดลายกระเดียดไปทางผา้ มาเลยแ์ ละชวามี
เทคนิคหลากหลาย นอกจากน้ี ยงั มีผา้ โสร่งไหมที่วิจิตรสวยงามมากคลา้ ยๆ โสร่งอีสาน

29

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

3. วฒั นธรรมทางด้านอาหาร

วฒั นธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อาหารของคนภาคใตน้ ้นั มีอยู่หลายหลายโดย จนนั ญา เรือนจนั ทร์ และคณะ
ไดร้ วบรวมเน้ือหาสาระท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั วฒั นธรรมอาหารของคนภาคใต้ ไวด้ งั น้ี

อาหารพ้นื บา้ นภาคใตม้ ีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะ สืบเน่ืองจากดินแดนภาคใตเ้ คยเป็น
ศูนยก์ ลางการเดินเรือคา้ ขายของพอ่ คา้ จากอินเดีย จีนและชวาในอดีต ทาใหว้ ฒั นธรรมของชาวตา่ งชาติ
โดยเฉพาะอินเดียใต้ ซ่ึงเป็นตน้ ตารับในการใชเ้ ครื่องเทศปรุงอาหารไดเ้ ขา้ มามีอิทธิพลอยา่ งมาก

อาหารพ้ืนบา้ นภาคใตท้ วั่ ไป มีลกั ษณะผสมผสานระหวา่ งอาหารไทยพ้ืนบา้ นกบั อาหารอินเดียใต้ เช่น
น้าบูดู ซ่ึงไดม้ าจากการหมกั ปลาทะเลสดผสมกบั เมด็ เกลือ และมีความคลา้ ยคลึงกบั อาหารมาเลเซีย อาหาร
ของภาคใตจ้ ึงมีรสเผด็ มากกวา่ ภาคอ่ืน ๆ และดว้ ยสภาพภมู ิศาสตร์อยตู่ ิดทะเลท้งั สองดา้ นมีอาหารทะเลอดุ ม
สมบรู ณ์ แต่สภาพอากาศร้อนช้ืน ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเคร่ืองจิ้มจึงมีรสจดั ช่วยใหร้ ่างกาย
อบอนุ่ ป้องกนั การเจ็บป่ วยไดอ้ ีกดว้ ย เน้ือสตั วท์ ี่นามาปรุงเป็นอาหารส่วนมากนิยมสตั วท์ ะเล เช่น
ปลากระบอก ปลาทู ปูทะเล กงุ้ หอย ซ่ึงหาไดใ้ นทอ้ งถ่ิน อาหารพ้ืนบา้ นของภาคใต้ เช่น แกงเหลือง แกงไต
ปลา นิยมใส่ขมิน้ ปรุงอาหารเพอื่ แกร้ สคาว เครื่องจ้ิมคือน้าบูดู

อาหารของภาคใตจ้ ะมีรสเผด็ มากกวา่ ภาคอ่ืนๆ แกงท่ีมีชื่อเสียงของภาคใต้ คอื แกงเหลือง แกงไตปลา
เครื่องจ้ิมก็คือ น้าบดู ู และชาวใตย้ งั นิยมนาน้าบูดูมาคลุกขา้ วเรียกวา่ "ขา้ วยา" มีรสเคม็ นาและมีผกั สดหลาย
ชนิดประกอบ อาหารทะเลสดของภาคใตม้ ีมากมาย ไดแ้ ก่ ปลาหอยนางรม และกุง้ มงั กร เป็นตน้

3.1 ผักท่ขี ึน้ ชื่อของภาคใต้ ได้แก่
เม็ดเหรียง เป็นคาเรียกของคนภาคใต้ มีลกั ษณะคลา้ ยถวั่ งอกหวั โต แต่หวั และหางใหญ่กวา่

มาก สีเขียว เวลาจะรับประทานตอ้ งแกะเปลือกซ่ึงเป็นสีดาออกก่อน จะนาไปรับประทานสดๆ หรือนาไปผดั
กบั เน้ือสัตว์ หรือนาไปดองรับประทานกบั แกงต่างๆ หรือกบั น้าพริกกะปิ หรือ กบั หลนกไ็ ด้

ลกู เนียง มีลกั ษณะกลม เปลือกแขง็ สีเขียวคล้าเกือบดา ตอ้ งแกะเปลือกนอก แลว้
รับประทานเน้ือใน ซ่ึงมีเปลือกอ่อนหุม้ อยู่ เปลือกออ่ นน้ีจะลอกออกหรือไม่ลอกกไ็ ดแ้ ลว้ แต่ความชอบ ใช้
รับประทานสดๆ กบั น้าพริกกะปิ หลนแกงเผด็ โดยเฉพาะแกงไตปลา ลูกเนียงท่ีแก่จดั ใชท้ าเป็นของหวานได้
โดยนาไปตม้ ใหส้ ุกแลว้ ใส่มะพร้าวทึนทึกขดู ฝอย และน้าตาลทรายคลุกใหเ้ ขา้ กนั

ฝักสะตอ มีลกั ษณะเป็นฝักยาว สีเขยี ว เวลารับประทานตอ้ งปอกเปลือกแลว้ แกะเมด็ ออก
ใชท้ ้งั เมด็ หรือนามาหน่ั ปรุงอาหารโดยใชผ้ ดั กบั เน้ือสัตวห์ รือใส่ในแกง นอกจากน้ียงั ใชต้ ม้ กะทิรวมกบั ผกั
อ่ืนๆ หรือใชเ้ ผาท้งั เปลือกใหส้ ุก แลว้ แกะเมด็ ออกรับประทานกบั น้าพริก หรือจะใชส้ ดๆ โดยไมต่ อ้ งเผาก็ได้
ถา้ ตอ้ งการเก็บไวน้ านๆ ควรดองเกบ็ ไว้

30

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

3.2 อาหารพืน้ บ้านภาคใต้ทีม่ ชี ่ือเสียง
แกงไตปลา
ชีวติ ของคนภาคใตเ้ ก่ียวขอ้ งกบั ทอ้ งทะเล อาหารการกินส่วนใหญ่มาจากทะเล ซึง

ถา้ มีมากเกินรับประทานก็จะนาอาหารที่ไดจ้ ากทะเลน้นั มาทาการถนอมอาหาร
ไตปลา หรือพงุ ปลาไดจ้ ากการนาพุงปลาทมู ารีดเอาไสใ้ นออก ลา้ งพุงปลาให้

สะอาดแลว้ ใส่เกลือหมกั ไวป้ ระมาณ 1 เดือนข้ึนไป หลงั จากน้นั จึงจะนามาปรุงอาหารได้
แกงไตปลามีรสจดั จึงตอ้ งรับประทานร่วมกบั ผกั หลาย ๆ ชนิดควบค่กู นั ไปดว้ ย

เพอื่ ช่วยลดความเผด็ ร้อนลง ซ่ึงคนภาคใตเ้ รียกว่า ผกั เหนาะ ผกั เหนาะของภาคใตม้ ีหลายอยา่ ง เช่น สะตอ ลกู
เนียง ยอดมะม่วงหิมพานต์ ผกั บางอยา่ งก็เป็นผกั ชนิดเดียวกบั ภาคกลาง เช่น ถว่ั พู ถว่ั ฝักยาว มะเขือเปราะ
แตงกวา หน่อไม้

แกงส้มออกดบิ (คูน)
แกงสม้ ออกดิบ มีส่วนประกอบของเคร่ืองปรุงส่วนใหญ่ออกไปทางรสเผด็ ร้อน

เปร้ียว สรรพคุณช่วยในการขบั ลม ช่วยใหเ้ จริญอาหาร มะนาวและส้มแขกมีรสเปร้ียว สรรพคุณช่วยแกไ้ อ
ขบั เสมหะและมีวติ ามินซีสูง

ข้าวยาปักษ์ใต้
ถือเป็นอาหารที่เชื่อวา่ ทกุ คนตอ้ งเคยลิ้มลองกนั มาบา้ งแลว้ เพราะเป็นอาหารที่

ข้นึ ชื่อของชาวใตจ้ นดูเหมือนจะกลายเป็นสัญลกั ษณ์อาหารปักษใ์ ตอ้ ีกเมนูหน่ึง ขา้ วยาของชาวใต้ จะอร่อย
หรือไม่กข็ ้นึ อยกู่ บั น้าบูดูเป็นสาคญั น้าบูดูมีรสเคม็ แหลง่ ที่มีการทาน้าบูดูมากคอื จงั หวดั ยะลาและปัตตานี
เวลานามาใส่ขา้ วยาตอ้ งเอาน้าบดู ูมาปรุงรสก่อน จะออกรสหวานเลก็ นอ้ ยแลว้ แตค่ วามชอบ น้าบดู ูของชาวใต้
มีกล่ินคาวของปลาเพราะทามาจากปลา กลิ่นคลา้ ยของทางภาคอีสาน แตก่ ล่ินน้าบูดูจะรุนแรงนอ้ ยกวา่
เนื่องจากน้าบูดูมีรสเคม็ ชาวใตจ้ ึงนามาใส่อาหารแทนน้าปลา

ลกู ปลาค่วั เกลือ
เน่ืองจากชีวิตของคนภาคใตผ้ กู พนั อยกู่ บั ทะเล เมื่ออกทะเลหาอาหารมา

ไดม้ ากเกินกวา่ จะรับประทานใหห้ มดในหน่ึงม้ือ คนภาคใตจ้ ึงนาอาหารท่ีไดจ้ ากทะเลมาทาการถนอมอาหาร
โดยการหมกั กบั เกลือ หรือตากแหง้ เพอื่ เกบ็ ไวร้ ับประทานไดน้ าน ๆ ลกู ปลาคว่ั เกลือเป็นอาหารปลาประเภท
หน่ึงที่นิยมรับประทานกนั โดยใชล้ ูกปลาเลก็ ปลานอ้ ยท่ีหาไดจ้ ากทะเล นามาผสมเคร่ืองปรุงและคว่ั เกลือจน
แหง้ ลกู ปลาที่นิยมนามาคว่ั คอื ลกู ปลากะตกั หรือลูกปลาไสต้ นั ลูกปลาคว่ั เกลือ เป็นอาหารท่ีใหแ้ คลเซียมสูง
มาก จากปลาเลก็ ปลานอ้ ยผสมรวมกบั เคร่ืองปรุงกจ็ ะช่วยเพ่ิมรสชาติ กระตุน้ ใหเ้ จริญอาหารไดด้ ี

31

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564
3.3 การกนิ
ลกั ษณะเด่นของการรับประทานอาหารของชาวภาคใต้ คือ มีผกั สารพดั ชนิดเป็นผกั จ้ิม

หรือผกั แกลม้ ในการรับประทาน อาหารทุกม้ือ ภาษาทอ้ งถ่ิน เรียกวา่ "ผกั เหนาะ" ความนิยมใน การ
รับประทานผกั แกลม้ อาหารของชาวใต้ เป็นผลมาจากการท่ี ภาคใตม้ ีพืชผกั ชนิดต่างๆ มาก และหาไดง้ ่าย คน
ใตน้ ิยมรับประ ทานอาหารเผด็ จึงตอ้ งมีผกั แกลม้ เพอ่ื ช่วยบรรเทาความเผด็ และเพื่อชูรสอาหาร อาหาร
ทอ้ งถ่ินยงั นิยมใส่ขมิ้นในอาหาร นิยมรับประทาน "ขนมจีน" รองจากขา้ ว ใส่เคยหรือกะปิ เป็น เครื่องปรุงรส
อาหาร ชาวไทยมสุ ลิมนิยมรับประทานน้าบูดู ซ่ึง เป็นน้าท่ีหมกั จากปลา แลว้ นามาเคีย่ วปรุงรสให้ออกเคม็ ๆ
หวานๆ นบั เป็นอาหารที่ขาดไมไ่ ดข้ องชาวไทยมุสลิม

อาหารปักษใ์ ตแ้ มจ้ ะเป็นอาหารท่ีอร่อย น่าลิ้มลอง แต่สิ่งหน่ึงที่ประทบั ใจผคู้ น คอื ความ
เผด็ ร้อนของรส ชาติอาหารผคู้ นในภาคใตน้ ิยมรสอาหารท่ีเผด็ จดั เคม็ เปร้ียว แตไ่ ม่นิยมรสหวาน รสเผด็ ของ
อาหารปักษ์ ใตม้ าจากพริกข้ีหนูสด พริกข้ีหนูแหง้ และพริกไทย ส่วนรสเคม็ ไดจ้ ากกะปิ เกลือ รสเปร้ียว ได้
จากส้มแขก น้า ส้มลกู โหนด ตะลิงปลิง ระกา มะนาว มะขามเปี ยก และมะขามสด เป็นตน้

เน่ืองจากอาหารภาคใตม้ ีรสจดั อาหารหลายๆ อยา่ งจึงมีผกั รับประทานควบคไู่ ปดว้ ย
เพอื่ ลดความเผด็ ร้อนลงซ่ึงคนภาคใต้ เรียกวา่ ผกั เหนาะ หรือบางจงั หวดั อาจเรียกวา่ ผกั เกร็ด ผกั เหนาะของ
ภาคใตม้ ีหลาย อยา่ ง บางอยา่ งกเ็ ป็นผกั ชนิดเดียวกบั ภาคกลาง เช่น มะเขือเปราะ ถวั่ ฝักยาว ถวั่ พู ฯลฯ แต่กม็ ี
ผกั อีกหลาย อยา่ งท่ีรู้จกั กนั เฉพาะคนภาคใตเ้ ท่าน้นั การเสิร์ฟผกั เหนาะกบั อาหารปักษใ์ ต้ ชนิดของผกั จะ
คลา้ ยๆ กนั หรืออาจเป็นผกั ท่ีผรู้ ับประทานชอบก็ได้

32

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

4. วัฒนธรรมด้านภาษา

Ms. Pornphin Boonpan. (2548). ไดส้ รุปเน้ือหาสาระสาคญั ไวว้ า่ ภาษาถิ่นใตเ้ ป็นภาษาถิ่นที่ใชส้ ื่อสาร
อยใู่ นจงั หวดั ต่าง ๆ ของภาคใตข้ องประเทศไทย ลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซีย รวม 14 จงั หวดั เช่น
ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี ภเู ก็ต พทั ลุง สงขลา นครศรีธรรมราช เป็นตน้ และบางส่วนของจงั หวดั
ประจวบคีรีขนั ธ์ ภาษาถิ่นใต้ ยงั มีภาษาถิ่นยอ่ ยลงไปอีก เป็นภาษาถิ่นใต้ ภาคตะวนั ออก เช่น ภาษาถ่ินที่ใช้
ใน จงั หวดั นครศรีธรรมราช พทั ลุง สงขลา ปัตตานี ตรัง สตลู ภาษาถ่ินใตต้ ะวนั ตก เช่น ภาษาถ่ินท่ีใชใ้ น
จงั หวดั กระบ่ี พงั งา ระนอง สุราษฎร์ธานีและชุมพร และภาษาถิ่นใตส้ าเนียงเจ๊ะเห เช่น ภาษาถ่ินที่ใชใ้ น
จงั หวดั นราธิวาส และ ปัตตานี

ซ่ึงในแตล่ ะภาคก็จะมีภาษาถ่ินใต้ เป็นภาษาถ่ินยอ่ ยลงไปอีก เช่น ภาษาถ่ินระนอง ภาษาถิ่นภูเก็ต
ภาษาถ่ินพทั ลุง ภาษาถิ่นสงขลา เป็นตน้ ภาษาถิ่นยอ่ ยเหล่าน้ีอาจจะมีเสียง และคาท่ีเรียกสิ่งเดียวกนั แตกตา่ ง
กนั ออกไป ภาคใต้ มีภาษาพูดประจาถิ่นท่ีหว้ นๆ ส้ันๆ เป็นเอกลกั ษณ์ เรียกวา่ “ภาษาใตห้ รือแหลงใต”้ ส่วน
กลมุ่ คนท่ีอยแู่ ถบชายแดนไทย-มาเลเซีย นิยมพูด ภาษายาวี หรือภาษามาเลเซีย

ตวั อยา่ งภาษาพดู ภาคใต้ เช่น แหลง (พูด) หร๋อย (อร่อย) ทาไหร๋ (ทาอะไร) หวงั เหวดิ (เป็นห่วง)
ทาพรือ (ทายงั ไง) บางทอ้ งถิ่นใชภ้ าษายาวี เพราะนบั ถือศาสนาอิสลาม

5. วฒั นธรรมด้านที่อยู่อาศัย

จะต้งั บา้ นเรือนอยใู่ กลแ้ หล่งน้าเพื่ออุปโภคบริโภค ใกลท้ ่าน้า ลาคลอง อ่าว และทะเล เพ่ือสะดวกใน
การสัญจรและการทามาหากิน คนไทยภาคใตจ้ ะมีคติในการต้งั บา้ นเรือน เช่น ปลูกบา้ นโดยมีตีนเสารองรับ
เสาเรือนแทนการขดุ หลมุ ฝังเสา เพื่อสะดวกในการโยกยา้ ยและเป็นการป้องกนั มด ปลวก มีคติหา้ มปลูกเรือน
ขวางตะวนั เพราะจะขวางเส้นทางลมมรสุมซ่ึงอาจทาให้หลงั คา ปลิวและถูกพายุพดั พงั ไดง้ ่าย วสั ดุที่นามา
สร้างคือสิ่งท่ีหาไดง้ ่ายในทอ้ งถิ่น บา้ นเรือนมีหลายลกั ษณะ มีท้งั บา้ นเรือนเครื่องผกู หลงั คาทรงจวั่ และทรง
ป้ันหยา มีใตถ้ ุนเต้ียเพราะมีลมพายเุ กือบท้งั ปี หากปลกู เรือนสูงอาจตา้ นทานแรงลม ทาใหเ้ รือนเสียหายได้

33

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

6. ด้านศิลปะวฒั นธรรม

สุชาดา พรหมถาวร ไดส้ รุปศิลปวฒั นธรรมไวว้ า่ การราโนรา เป็นศิลปะพ้นื บา้ นที่เก่าแก่ของ
ภาคใต้ โดยนอกจากจะแสดงเพื่อความบนั เทิงแลว้ ยงั แสดงเพอ่ื ประกอบพธิ ีกรรมท่ีเรียกวา่ โนรา โรงครูหรือ
โนราลงครูอีกดว้ ย พธิ ีกรรมน้ีมีจุดมุง่ หมายในการจดั เพือ่ ไหวค้ รูหรือไหวต้ ายายโนรา อนั เป็นการแสดง
ความกตญั ญู รู้คุณต่อครู เพ่ือทาพิธีแกบ้ น เพอื่ ทาพิธียอมรับ
เป็นศิลปิ นโนราคนใหม่ และเพ่อื ประกอบพิธีเบด็ เตลด็ ต่างๆ

สรุป

วฒั นธรรมของภาคใต้ ถือวา่ มีความสาคญั เป็นอยา่ งมากตอ่ คนปักษใ์ ตม้ าก เช่น ประเพณี วฒั นธรรม
ความเชื่อในเรื่องต่างๆ ถือเป็นวฒั นธรรมท่ีสืบทอดต่อๆ กนั จากมารุ่นสู่รุ่น ต้งั เเต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ไม่วา่ จะ
เป็นวฒั นธรรมดา้ นอาหาร วฒั นธรรมดา้ นการแต่งกาย รวมไปถึงวฒั นธรรมดา้ นภาษาท่ีตา่ งจากท่ีอ่ืน เป็นตน้

ดงั น้นั เราจาเป็นท่ีจะตอ้ งศึกษาเเละทาความเขา้ ใจอยา่ งละเอียด ที่สาคญั เราทกุ คนตอ้ งช่วยกนั อนุรักษ์
เเละดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์น้ีไว้ และช่วยกนั สืบทอดวฒั นธรรมภาคใตใ้ หค้ งอยู่ไวต้ ราบนานเทา่ น้นั

34

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

บรรณานุกรม

จนนั ญา เรือนจนั ทร์, ภิอรญา พานิชผล, พิมพล์ ภสั จนั ทพฒั น์ เเละกิตติธชั ประชากลุ . (ม.ป.ป).
“วัฒนธรรมของภาคใต้” สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 จาก

https://sites.google.com/site/wathnthrrm4phak/home/wathnthrrm-phakh-ti
________ (ม.ป.ป). “วฒั นธรรมการแต่งกายของภาคใต้” สืบคน้ เมื่อ 30 ตลุ าคม 2564

จาก https://sites.google.com/site/wathnthrrm4phak/home/wathnthrrm-phakh-ti
________ (ม.ป.ป). “ประเพณีของภาคใต้” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564

จาก https://sites.google.com/site/wathnthrrm4phak/home/wathnthrrm-phakh-ti
รวิวรรณ อาวุธ, อริศรา กาปา, กญั ญารัตน์ ศรีเทพ และรัฐจิกาล แดงบรรจง. (2558). “วัฒนธรรมท่อี ย่อู าศัย

ของภาคใต้” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564 จาก
https://sites.google.com/site/thesouthofthailand2016/thi-xyu-xasay-khxng-phakh-ti
Ms. Pornphin Boonpan. (2548). “ภาษาของคนภาคใต้” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564

จาก https://www.gotoknow.org/posts/313017

35

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

ความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมสากลกบั วัฒนธรรมไทย
(Difference Between International Culture And Thai Culture)

คทั ลียาศรีมณี '/ Katliya Srrimanee

บทนา

เมื่อสงั คมแตล่ ะสังคมไดส้ ร้างวฒั นธรรมของตนเองข้ึนมาและมีเอกลกั ษณ์เฉพาะที่ต้งั อยบู่ นสภาวะ
แวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมหรือบริบทของสังคมน้นั ๆ แต่วฒั นธรรมของสงั คมทุกสงั คมมี
ความคลอ้ ยคลึงกนั มีวฒั นธรรมพ้นื ฐานท่ีเหมือนกนั นกั มานุษยวิทยา และนกั สังคมวทิ ยาเรียกกนั วา่
“วฒั นธรรม” แมจ้ ะมีวฒั นธรรมพ้นื ฐานท่ีเหมือนกนั แตว่ ฒั นธรรมแตล่ ะประเภทจะมีความแตกต่างกนั
ดงั ตวั อยา่ ง เช่น ทกุ สงั คมจะมีภาษา แตภ่ าษาของแต่ละสงั คมจะแตกตา่ งกนั บางสงั คมใชภ้ าษาไทย
บางสงั คมใชภ้ าษาองั กฤษ และบางสังคมใชภ้ าษาอาหรับเป็นตน้ อีกนยั หน่ึงกลา่ วไดว้ า่ วฒั นธรรมสากล
ก็คือการแพร่กระจายของวฒั นธรรมที่มีอิพลเหนือกวา่ ไปสู้วฒั นธรรมที่อ่อนแอกวา่ ทาใหเ้ กิดการยอมรับ
และนาไปปฏิบตั ิตามในสังคมอื่นทว่ั ทกุ ภมู ิภาคของโลกจนในที่สุดมีการเรียกวฒั นธรรมส้นั วา่ เป็น
วฒั นธรรมสากล เช่น ภาษาองั กฤษเคร่ืองมีเคร่ืองใชอ้ ิเลก็ ทรอนิกส์ยาแผนปัจจุบนั สถาปัตยกรรมสมยั ใหม่
เป็ นตน้

ดงั น้นั ผเู้ ขียนจึงเขยี นบทความน้ีข้นึ มาโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อใหผ้ ูอ้ ่านไดเ้ ห็นถึงความแตกต่าง
ของวฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากลวา่ ท้งั สองมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไรและมีจุดเด่นจุดดอ้ ยในดา้ นใด
บา้ งไมว่ า่ จะเป็นเรื่องความเช่ือการทกั ทายปรัชญาวิสัยทศั นเ์ ทคโนโลยอี าชีพรวมไปถึงทศั นคติ เป็นตน้

___________________________
1นกั ศึกษาปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย

36

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

1. ความสาคญั ของวัฒนธรรมสากลและวัฒนธรรมไทย

1.1ความสาคัญของวัฒนธรรมสากล
วฒั นธรรมสากลหรือวฒั นธรรมนานาชาติหมายถึงวฒั นธรรมที่เป็นที่ยอมรับกนั ทวั่ ไป

อยา่ งกวา้ งขวางหรือเป็นอารยธรรมที่ไดร้ ับปฏิบตั ิตามกนั ทวั่ โลก เช่น การแตง่ กายชุดสากลการใชภ้ าษา
องั กฤษเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสาร การปกครองในระบอบประชาธิปไตยการคา้ เสรีการใชเ้ ครื่อง
จกั รกลระบบการส่ือสารที่ทนั สมยั ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และมารยาทในการสมาคมเป็นตน้

ในยคุ ปัจจุบนั โลกของเรามีความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยอี ยา่ งสูงเป็นยคุ แห่งโลกาภิวฒั น์
ท่ีมีการเช่ือมโยงถึงกนั ไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายมีการติดต่อ ซ่ึงกนั และกนั เม่ือมีการติดต่อส่ือสารกนั มากข้ึนกย็ อ่ ม
ส่งผลใหว้ ฒั นธรรมมีการผสมผสานกนั มากข้ึนจนในที่สุดมนุษยจ์ ึงตอ้ งมีการคน้ หาหรือสร้างวฒั นธรรม
สากลในดา้ นต่างๆ ข้นึ มาเพอื่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิร่วมกนั เช่นมีการกาหนดภาษาสากลระบอบ

การปกครองการจะพฒั นาตนเองเพอื่ กา้ วสู่ความเป็นสากลวฒั นธรรมสากลจึงมีความสาคญั
ซ่ึงคนในสังคมจาเป็นที่จะตอ้ งศึกษาและรับมาเป็นแนวทางหน่ึงในการดาเนินชีวิตเพือ่ ที่จะพฒั นา
ศกั ยภาพของตนเองและกา้ วทนั ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็ว แตใ่ นขณะเดียวกนั หากมีการ
รับวฒั นธรรมสากลมากเกินไปก็อาจส่งผลเสียทาใหว้ ฒั นธรรมด้งั เดิมของชาติสูญหายไป

1.2 ความสาคัญของวฒั นธรรมไทย
วฒั นธรรมคือความเจริญในทางวิชาความรู้ภูมิปัญญาต่างๆ เช่น วทิ ยาศาสตร์ศิลปศาสตร์

วรรณคดีกวนี ิพนธ์ศาสนาขนบธรรมเนียมประเพณีจรรยามารยาทและค่านิยมท่ีสงั คมหน่ึง ๆ ไดส้ งั่ สมอนุรักษ์
และพฒั นาสืบมาถา่ ยทอดส่งตอ่ เป็นมรดกจากรุ่นสู่รุ่น จนกลายเป็นวถิ ีที่เป็นเอกลกั ษณ์ของสังคมน้นั ๆ
ในที่สุดเช่นวฒั นธรรมไทยน้นั ไดแ้ ก่ ภาษาไทย วรรณคดีไทย นาฏศิลป์ ไทย การละเลน่ ไทยมวย
อาหารไทย ชุดไทย สถาปัตยกรรมไทย ศิลปะหตั กรรมไทย ประเพณีไทย วิถีชีวิตไทย มารยาทไทย เช่น
การไหว้ การแต่งกายที่ถกู ตอ้ งตามกาลเทศะ เป็นตน้

วฒั นธรรมไทยมีความเป็นมายาวนานเกิดจากการผสมผสานวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกนั
ของชาติต่างๆที่เขา้ มาติดต่อคา้ ขายผกู สมั พนั ธก์ บั ไทยต้งั แต่คร้ังอดีตกาลผา่ นการสืบสานและพฒั นา
ต่อยอดจนกลายเป็นเอกลกั ษณ์ที่โดดเด่นเป็นมรดกจากบรรพบรุ ุษที่ควรค่าแก่การอนุรักษแ์ ละควรท่ีลูกหลาน
ไทยจะภาคภมู ิใจในวฒั นธรรมของชนชาติตน

37

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

2. วฒั นธรรมสากลในยุคปัจจบุ นั

2.1 วฒั นธรรมสากลในยุคปัจจุบนั น้ันมีหลากหลายดังนี้

1.ภาษาองั กฤษเนื่องจากภาษาองั กฤษเป็นภาษาท่ีมีผใู้ ชม้ ากที่สุดในโลกโดยในปัจจุบนั
มีหลายประเทศทว่ั โลกที่ใชภ้ าษาองั กฤษเป็นภาษาราชการ เช่น สหราชอาณาจกั ร สหรัฐอเมริกา แคนาดา
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ อินเดีย เป็นตน้ นอกจากน้ีหน่วยงานสากลสาคญั ของโลกในหลายแห่ง
ก็ยงั ใชภ้ าองั กฤษในการติดต่อสื่อสาร เช่น ธนาคารโลกองคก์ ารสหประชาชาติสหภาพยุโรป เป็นตน้
ดว้ ยเหตุน้ี จึงส่งผลใหค้ นในสงั คมทวั่ ทกุ มมุ โลกใหค้ วามสนใจท่ีจะเรียนภาษาองั กฤษมากข้นึ

2. คอมพิวเตอร์และเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตถือเป็นวฒั นธรรมสากลท่ีเขา้ มามีบทบาท
ในชีวติ ประจาวนั ของเราอยา่ งมาก เนื่องจากเครื่องคอมพวิ เตอร์สามารถใชง้ านไดห้ ลากหลายเป็นส่ิงท่ีช่วยให้
เราสามารถทางานไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วยง่ิ ข้ึนนอกจากน้ีกย็ งั มีระบบอินเทอร์เน็ตที่มีเครือข่ายเชื่อมโยงไปทว่ั
โลกเป็นท้งั แหล่งรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆสาหรับการสืบคน้ และยงั เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสารไดท้ วั่ โลกเช่
นอีเมลการประชุมทางไกลเป็ นตน้

3.การแต่งกายแมว้ า่ ในหลายประเทศจะมีเคร่ืองแตง่ กายท่ีเป็นชุดประจาชาติซ่ึงมี
เอกลกั ษณ์ท่ีแตกตา่ งกนั ไปแต่ก็ยงั มีการแตง่ กายที่คนในสังคมส่วนใหญ่ใหก้ ารยอมรับวา่ เป็นการแต่งกาย
สากล อีกท้งั ยงั รับเอาวฒั นธรรมการแต่งกายสากลน้ีมาใชใ้ นชีวติ ประจาวนั อยา่ งแพร่หลายซ่ึงสามารถพบ
เห็นไดโ้ ดยทวั่ ไปเคร่ืองแตง่ กายสากลเช่นเส้ือสูทเนคไทเส้ือเชิ้ตรองเทา้ หุม้ ส้นเป็นตน้

4.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจกระแสหลกั ของโลกปัจจุบนั
เป็นระบบท่ีเนน้ อิสรภาพในการทาธุรกิจการคา้ ของบคุ คลผปู้ ระกอบธุรกิจสามารถลงทุนและใชศ้ กั ยภาพตา่ งๆ
เพื่อการผลิตสินคา้ หรือบริการไดอ้ ยา่ งเตม็ ความสามารถรวมถึงสามารถแขง่ ขนั ในตลาดการคา้ ไดอ้ ยา่ งเสรี
ส่งผลใหเ้ กิดการสร้างอาชีพท่ีหลากหลายและเป็นระบบเศรษฐกิจที่เปิ ดโอกาสใหค้ นทว่ั ไปสร้างฐานะทางการ
เงินไดต้ ามความสมารถของตนเองหลายประเทศในโลกจึงยอมรับละนาระบบเศรษฐกิจทุนนิยมมาใชอ้ ยา่ ง
แพร่หลายดงั จะเห็นไดจ้ ากการรวมตวั ทางดา้ นเศรษฐกิจในแต่ละภมู ิภาคของโลกเช่นองคก์ ารการคา้ โลก
(WTO) กลุ่มอาเซียน (ASEAN) กลุ่มเอเปค (APEC) สหภาพยโุ รป (EU) เขตการคา้ เสรีอเมริกาเหนือ
(NAFTA) เป็นตน้ ซ่ึงประเทศสมาชิกกลมุ่ เหล่าน้ีลว้ นแลว้ แต่ใหก้ ารยอมรับในระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม
ท้งั สิ้น

38

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

5.การปกครองในระบอบประชาธิปไตยประเทศส่วนใหญ่ในโลกใหก้ ารยอมรับและ
ปกครองประเทศในระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากเป็นระบอบที่เนน้ สิทธิเสรีภาพของบุคคล อีกท้งั ยงั เป็น
ระบอบท่ีเปิ ดโอกาสใหม้ ีการแสดงความคดิ เห็นร่วมกนั ใชเ้ หตุผลในการแกป้ ัญหาและหลีกเลี่ยงการใชค้ วาม
รุนแรงเพ่ือการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุขเราจะเห็นไดว้ า่ ในหลายประเทศท่ีมีความตอ้ งการจะพฒั นาไปสู่ความ
เป็นสากลน้นั มีความพยายามท่ีจะเปลี่ยนแปลงหรือพฒั นาใหก้ ารเมืองการปกครองเป็นประชาธิปไตยใหม้ าก
ที่สุดเพอ่ื จะไดเ้ ป็นท่ียอมรับจากทว่ั โลก

3. ความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากล

3.1 จุดเด่นของวัฒนธรรมไทยมีหลากหลายประการโดย Saimoon ได้สรุปไว้เป็ นข้อ ๆ ดังนี้

1. วฒั นธรรมไทยใหค้ วามสาคญั กบั จิตใจเป็นสาคญั โดยมุ่งจุดหมายสาคญั เพอื่ ขดั เกลาจิตใจของ
สมาชิกในสงั คมใหเ้ ป็นคนดีประพฤติปฏิบตั ิ แตส่ ่ิงที่ดี แต่วฒั นธรรมสากลใหค้ วามสาคญั กบั การสะสมทาง
ดา้ นวตั ถุหรือความร่ารวยเป็นสาคญั โดยไมส่ นใจวา่ จะสามารถหาทรัพยม์ าไดโ้ ดยวธิ ีใดหากบคุ คลใดมี
ทรัพยส์ ินมากก็จะไดร้ ับการยอมรับจากคนในสงั คม

2. วฒั นธรรมไทยส่วนใหญ่เป็นวฒั นธรรมของผทู้ ่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่อาศยั อยใู่ นเขต
ชนบทจึงมีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งใกลช้ ิดดารงชีวิตอยโู่ ดยการพ่งึ พาอาศยั กนั เป็นลกั ษณะของครอบครัวรวม
แต่วฒั นธรรมสากลจะเป็นวฒั นธรรมของผูท้ ่ีประกอบอาชีพทางดา้ นอุตสาหกรรมและบริการที่อาศยั อยใู่ นเข
ตเมืองจึงไมม่ ีการพ่ึงพาอาศยั กนั มากนกั เป็นลกั ษณะตา่ งคนต่างอยู่

3. วฒั นธรรมไทยใหค้ วามสาคญั กบั ผอู้ าวุโสสงั คมเน่ืองจากทา่ นเหล่าน้ีเป็นผทู้ ี่ไดส้ ร้าง
ประโยชนใ์ หก้ บั สังคมมากมายเป็นผทู้ ี่มีประสบการณ์มีความรู้ความสามารถจึงไดร้ ับการยกยอ่ งและยอมรับ
จากทกุ คนในสังคมซ่ึงมีความแตกต่างจากวฒั นธรรมของผทู้ ่ีมีความรู้โดยวดั จากใบปริญญาบตั รหรือใบ
ประกาศตา่ งๆ ไมไ่ ดใ้ หค้ วามสาคญั กบั ผอู้ าวุโสมากนกั

4. วฒั นธรรมไทยมีพ้นื ฐานมาจากความเชื่อของพระพทุ ธศาสนาซ่ึงเป็นศาสนาประจาชาติ
ของไทยมาต้งั แต่สมยั สุโขทยั คนไทยส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธจึงมีลกั ษณะนิสัยที่เอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผม่ ีความเม
ตตากรุณาเห็นอกเห็นใจต่อเพอ่ื นมนุษยโ์ ดยทว่ั ไปแตว่ ฒั นธรรมสากลส่วนใหญ่เป็นวฒั นธรรมของชาติ
ตะวนั ตกท่ีนบั ถือศาสนาคริสตจ์ ึงมีวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกนั

39

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

5. วฒั นธรรมไทยเป็นสิ่งที่บรรพบุรุษของไทยประดิษฐ์คดิ คน้ ข้ึนมาจึงมีความเหมาะสมกบั
สภาพแวดลอ้ มของประเทศไทยมากท่ีสุดเป็นเอกลกั ษณ์และความภาคภมู ิใจของคนไทยที่ไมเ่ หมือนใครท่ี
คนไทยยดึ ถือปฏิบตั ิสืบทอดกนั มาเป็นเวลานานแต่วฒั นธรรมสากลบางอยา่ งจะเป็นสิ่งที่ไมเ่ หมาะสมกบั
วถิ ีชีวิตของคนไทยเนื่องจากรับมาจากต่างประเทศและไม่ไดส้ ร้างความภาคภูมิใจใหก้ บั คนไทย

3.2 จุดเด่นของวัฒนธรรมสากลมีหลากหลายประการโดย Juthathip Phububpha. (2556)
ได้สรุปไว้เป็ นข้อ ๆ ดงั นี้

1) เนน้ ปรัชญาวา่ “มนุษยเ์ ป็นนายธรรมชาติ” สามารถบงั คบั ธรรมชาติให้ตอบสนอง
ความตอ้ งการของมนุษยไ์ ดท้ ้งั หมด เช่น การเดินทางดว้ ยสองเทา้ ใชเ้ วลานานก็เลยประดิษฐร์ ถยนต์
เคร่ืองบิน ข้นึ มาเป็นพาหนะที่ใชใ้ นการเดินทางแทนเป็นตน้ แตส่ าหรับวฒั นธรรมไทยน้นั เนน้ ปรัชญาวา่
“ มนุษยค์ วรอยแู่ บบผสมกลมกลืนกบั ธรรมชาติ” ดงั น้นั คนไทยจึงนิยมสร้างวฒั นธรรมใหส้ อดคลอ้ ง
กบั สภาพธรรมชาติ 2) เนน้ ทวิโลกทศั น์ชาวตะวนั ตกแบ่งทกุ สิ่งออกเป็น

2) เนน้ วิธีการทางวทิ ยาศาตร์ท่ีต้งั อยบู่ นเหตุผลของปัจจยั ท่ีสามารถสมั ผสั ไดโ้ ดยมีการ
ต้งั สมมติฐานพิสูจนป์ ัจจยั ตา่ งๆวา่ เป็นตามสมมติฐานหรือไม่วิเคราะหส์ งั เคราะห์ใหไ้ ดร้ ับความรู้ใหม่ ๆ
เพือ่ นาไปสร้างทฤษฎีและนาไปใชใ้ นเชิงพาณิชยด์ งั น้นั ชาติตะวนั ตกจึงสามารถสร้างเคร่ืองมือเคร่ืองใชท้ ่ีทนั
สมยั สอดคลอ้ งกบั เทคโนโลยชี ้นั สูงแตส่ าหรับวฒั นธรรมไทยแมน้ วา่ จะอยบู่ นพ้ืนฐานทางวทิ ยาศาตร์เช่นกนั
แต่มกั เนน้ การนาปัจจยั ท่ีสมั ผสั ไดม้ าศึกษาร่วมกบั ปัจจยั ทางจิตใจ และตามความคิดเชื่อของหลกั ธรรมทาง
ศาสนาควบคไู่ ปดว้ ยเพราะวฒั นธรรมไทยสทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความสัมพนั ธท์ ี่โยงใยกนั 3 ดา้ น คือ

1. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั โลกสิ่งแวดลอ้ มพชื และสัตว์

2. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษยห์ รือระหวา่ งตวั เรากบั คนอื่น ๆ
ที่อาศยั อยรู่ ่วมกนั ในสังคม

3.ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงศกั สิทธ์ิและอานาจนอกเหนือธรรมชาติทาให้
วฒั นธรรมไทยมีขอบเขตที่กวา้ งขวา้ งครอบคลมุ ความสมั พนั ธท์ ุกประเภทของกรดาเนินชีวิตของคนในสงั คม
ท้งั ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

40

วารวารวัฒนธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

3. ส่งเสริมใหช้ นทุกหมู่เหลา่ เห็นคุณค่าและร่วมกนั รักษาเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมของชาติ
และทอ้ งถ่ินเพือ่ สร้างความมน่ั ใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยนและตอบสนองกระแสวฒั นธรรมอื่น ๆ
และวฒั นธรรมภายนอกอยา่ งเหมาะสม

4. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมในวฒั นธรรมรณรงคใ์ หป้ ระชาชนและเอกชนตลอดจนหน่วย
งานของรัฐเห็นความสาคญั และตระหนกั วา่ วฒั นธรรมเป็นเร่ืองของทุกคนที่จะตอ้ งรับผิดชอบร่วมกนั ในการ
ส่งเสริมสนบั สนุนและสานงานการบริการดา้ นความรู้วิชาการและทุนทรัพยจ์ ดั กิจกรรมทางวฒั นธรรม

5. ส่งเสริมการแลกเปล่ียนศิลปวฒั นธรรมท้งั ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศโดยใช้
ศิลปวฒั นธรรมเป็นสื่อกลางสร้างความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกนั และกนั

6. สร้างทศั นคติความรู้และความเขา้ ใจวา่ สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติและทางวฒั นธรรม
เป็นสมบตั ิของทกุ คนดงั น้นั ทุกคนจึงมีหนา้ ที่ในการเสริมสร้างฟ้ื นฟแู ละดูแลรักษา

7. จดั ทาระบบเครือข่ายสารสนเทศทางดา้ นวฒั นธรรมเพื่อเป็นศูนยก์ ลางเผยแพร่
ประชาสมั พนั ธ์ผลงานใหป้ ระชาชนเขา้ ใจสามารถเลือกสรรตดั สินใจและปรับเปลี่ยนใหเ้ หมาะสมในการ
ดาเนินชีวติ อน่ึงตอ้ งส่งเสริมสนบั สนุนบทบาทของสื่อมวลชนในดา้ นวฒั นธรรมใหม้ ากยง่ิ ข้ึน

8. ส่งเสริมให้ประชาชนคนไทยรู้จกั สิทธิและหนา้ ท่ีตามที่ไดบ้ ญั ญตั ิไวใ้ นรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ เช่น สิทธิในการอนุรักษห์ รือฟฟ้ื นฟจู ารีตประเพณีภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น
ศิลปวฒั นธรรมอนั ดีของทอ้ งถ่ินและของชาติเป็นตน้

41

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

5. วิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล

Juthathip Phububpha (2556) ไดส้ รุปไวว้ า่ ท่ามกลางกระแสโลกกาภิวตั น์แห่งโลกไร้พรมแดน
ที่คนทวั่ โลกสามารถติดต่อส่ือสารถึงกนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว และลว่ งรู้เหตกุ ารณ์ตา่ งๆทวั่ โลกไดง้ า่ ยผา่ น
ทางโทรศพั ทอ์ ินเทอร์เน็ตและเคร่ืองมืออิเลก็ ทรอนิกส์ต่างๆ ซ่ึงปรากฏการณ์เช่นน้ีทาใหอ้ ิทธิพลของ
วฒั นธรรมตา่ งชาติหรือวฒั นธรรมสากลเขม้ มาผสมผสานกบั วฒั นธรรมไทยอยา่ งรวดเร็ว
ดงั น้นั การเลือกรับวฒั นธรรมสากลท่ีแพร่เขา้ มาอยา่ งมีวจิ ารณญานจึงเป็นสิ่งสาคญั โดยอาจพจิ รณาไดจ้ าก
ปัจจยั ดงั น้ี

1. วฒั นธรรมสากลตอ้ งสามารถผสมผสานเขา้ กบั โครงสร้างทางสงั คมค่านิยม
และขนบธรรมเนียมไทยได้

2. วฒั นธรรมสากลตอ้ งมีส่วนเก้ือหนุนใหเ้ กิดการพฒั นาวฒั นธรรมไทยใหก้ า้ วหนา้ เช่น
การนาวิทยาศสตร์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์เขา้ มาใชใ้ นการผลิตการศึกษา
และการดาเนินชีวติ ในสังคมหรือการนาคอมพิวเตอร์มาใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลเก่ียวกบั วฒั นธรรมูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินและแลกเปล่ียนขอ้ มูลเหล่าน้นั ไปยงั ศนู ยว์ ฒั นธรรมสถานศึกษาและผสู้ นใจอยา่ งกวา้ งขวาง
และรวดเร็วอีกท้งั สามารถนาขอ้ มลู เหลา่ น้ีไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นธุระกิจอุตสาหกรรมเชิงพาณิชยไ์ ด้

3. วฒั นธรรมสากลตอ้ งสามารถอยรู่ ่วมหรือเคยี งคู่ไปกบั วฒั นธรรมไทยได้เม่ือมีวฒั นธรรม
จากภายนอกเขา้ มาจาเป็นตอ้ งเลือกสรรวา่ จะสามารถผสมผสานกบั วฒั นธรรมไทยของเราไดห้ รือไม่
การคดิ เช่นน้ีจะทาใหส้ งั คมไทยรอดพน้ จากการครอบงาของวฒั นธรรมสากลได้

42

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ท่ี 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

สรุป

วฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากลน้นั มีความแตกตา่ งเป็นอยา่ งมากมีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสีย
ในตวั ของมนั เองเมื่อกาลเวลาเริ่มเปลี่ยนไปแน่นอนวฒั นธรรมเหลา่ น้นั จะค่อยๆเปลี่ยนและพฒั นาไปตามกา
ลเวลาตามยคุ สมยั เราไม่สามารถบงั คบั เวลาใหห้ ยดุ หมุนไดแ้ ต่เราสามารถเรียนรู้และอนุรักษว์ ฒั นธรรมเหล่า
น้ีไวไ้ ดก้ ารท่ีเราเลือกรับวฒั นธรรมน้นั ถือวา่ เป็นสิ่งท่ีดีในท่ามกลางกระแสโลกกาภิวตั น์แห่งโลกไร้พรมแดน
ท่ีคนทวั่ โลกสามารถติดต่อสื่อสารถึงกนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วและล่วงรู้เหตกุ ารณ์ตา่ งๆทว่ั โลกไดง้ ่ายผา่ น
ทางโทรศพั ท์ อินเทอร์เน็ต และเครื่องมืออิเลก็ ทรอนิกส์ต่างๆ ซ่ึงปรากฏการณ์เช่นน้ีทาใหอ้ ิทธิพล
ของวฒั นธรรมตา่ งชาติ หรือวฒั นธรรมสากลเขม้ มาผสมผสานกบั วฒั นธรรมไทยอยา่ งรวดเร็ว
ดงั น้นั การเลือกรับวฒั นธรรมสากลท่ีแพร่เขา้ มาอยา่ งมีวจิ ารณญานจึงเป็ นสิ่งสาคญั

43

วารวารวฒั นธรรมแต่ละภาคของประเทศไทย ปี ที่ 2 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2564

บรรณานุกรม

ชชั รีญา เจริญถมั ภ.์ (2558). “วฒั นธรรมสากล” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564 จาก
https://culturealhuman.wordpress.com/tag

ปลกู ปัญญา. (2564). “วฒั นธรรมไทย” สืบคน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2564
https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34937

Juthathip Phububpha. (2556). “ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกบั วัฒนธรรมสากล” สืบคน้ เม่ือ 30
2564 https://sites.google.com/site/30282juthathip/khwam-etek-tang-rahwang-wathnthrrm-thiy-

kab-wathnthrrm-sakl
Saimoon. (ม.ป.ป. ). “ความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกบั วัฒนธรรมสากล” สืบคน้ เมื่อ 30 ตุลาคม

2564 จาก http://smws.ac.th/client-upload/saimoon/uploads/files

44


Click to View FlipBook Version