The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารงานวิชาการ โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งน้อย "พิพัฒน์โสภณวิทยา"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือบริหารงานวิชาการ

คู่มือบริหารงานวิชาการ โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งน้อย "พิพัฒน์โสภณวิทยา"

คมู่ อื การบริหารงานวชิ าการ

โรงเรยี นชุมชนบ้านทงุ่ น้อย “พพิ ัฒน์โสภณวทิ ยา”
อำเภอโพทะเล จังหวดั พิจิตร

สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คมู่ อื การบริหารงานวิชาการ โรงเรียนชุมชนบา้ นทงุ่ นอ้ ย “พพิ ัฒน์โสภณวิทยา” 2

วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย อัตลกั ษณ์ ปรชั ญา และคำขวญั ของสถานศึกษา

วิสัยทัศน์ (Vistion) โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งน้อย “พิพัฒน์โสภณวิทยา” มุ่งม่ันจัดการศึกษา
ใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยี ส่งเสริมประเพณีไทย รักษาสิง่ แวดลอ้ ม ชุมชนมี
ส่วนร่วม ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รองรับการศกึ ษาสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐

ปรัชญา (Philosophy)
ปญญฺ า นรานํ รตฺนํ แปลว่า ปัญญาเปน็ ดวงแกว้ ของคนดี

อตั ลักษณ์ (Identity)

ย้มิ ไหว้ ทายทกั สู้การงาน สมานสามคั คี
คำขวญั (Campaign)

มีคุณธรรม นำความรู้

พันธกจิ (Mission)
๑. จดั การศึกษาระดับปฐมวัย ระดบั ประถมศึกษาและระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
๒. จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญและพัฒนาแหลง่ เรยี นร้ใู นสถานศึกษา
๓. จัดภูมทิ ัศน์ในสถานศกึ ษา ใหม้ ีสภาพทีเ่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ น่าดู นา่ อยู่ นา่ เรยี น
๔. ส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๕. จดั กิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
๖. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

และท้องถิ่น

เปา้ หมาย (Objective)
๑. นักเรยี นได้รบั บริการทางการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ และมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
๒. โรงเรียนมหี ลกั สูตรสถานศึกษาทมี่ ีคุณภาพได้มาตรฐาน
๓. นกั เรียนมคี วามสามารถในการนำเทคโนโลยีไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน
๔. บุคลากรไดร้ ับการพัฒนาสมู่ าตรฐานวิชาชีพ
๕. โรงเรียนมีภมู ทิ ศั น์สวยงามและแหล่งเรียนรู้ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างหลากหลาย
๖. โรงเรียนได้รับความรว่ มมอื จากชมุ ชนในการจัดการศกึ ษา

คมู่ ือการบริหารงานวชิ าการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นท่งุ นอ้ ย “พิพัฒน์โสภณวทิ ยา” 3

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งน้อย “พิพัฒน์โสภณวิทยา” (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช

๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ
๕ ประการ ดงั นี้

๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ ับข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใชว้ ิธีการสื่อสาร ทม่ี ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพ่ือการตดั สินใจเกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมกี ารตดั สนิ ใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเี่ กิดข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่รว่ มกันในสังคม
ดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่ พึง
ประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นชุมชนบา้ นทุ่งน้อย “พพิ ฒั น์โสภณวทิ ยา” (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช

๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุง่ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ลักษณะ
อนั พึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อืน่ ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก
ดังน้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซ่ือสตั ย์สุจริต
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
๖. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

คมู่ อื การบริหารงานวชิ าการ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นทุ่งน้อย “พพิ ัฒนโ์ สภณวิทยา” 4

คา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.
๑. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
๒. ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณ์ในส่งิ ท่ดี งี ามเพ่ือสว่ นรวม
๓. กตัญญูตอ่ พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝ่หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม
๕. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อน่ื เผ่ือแผ่และแบ่งปัน
๗. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขท่ีถูกต้อง
๘. มรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย ผูน้ ้อยรจู้ ักการเคารพผใู้ หญ่
๙. มีสตริ ู้ตวั รูค้ ิด รู้ทำ รปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว
๑๐. รู้จกั ดำรงตนอยโู่ ดยใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาท สมเดจ็ พระ

เจ้าอย่หู วั ร้จู กั อดออมไว้ใชเ้ มื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถา้ เหลือก็แจกจา่ ยจำหน่าย และพร้อมที่จะขยาย
กิจการเม่ือมีความพร้อม เมือ่ มีภูมิคมุ้ กันท่ีดี

๑๑. มีความเข้มแขง็ ทง้ั รา่ งกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝา่ ยต่ำ หรอื กิเลสมคี วามละอายเกรง
กลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา

๑๒. คำนงึ ถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

คมู่ ือการบริหารงานวิชาการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นทงุ่ นอ้ ย “พิพัฒน์โสภณวิทยา” 5

ค่มู ือการบรหิ ารงาน
กลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านทงุ่ น้อย “พิพัฒนโ์ สภณวทิ ยา”

สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร เขต ๒
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แนวคิดหลกั ในการบรหิ ารวิชาการ

การบริหารงานวิชาการเปน็ ภารกิจทส่ี ำคัญของการบรหิ ารโรงเรียนตามท่ีพระราชบญั ญัติการศกึ ษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี ๒)พ.ศ.๒๕๔๕ ถือเปน็ งานทม่ี คี วามสำคญั ที่สดุ เปน็ หวั ใจ
ของการจดั การศึกษา ซ่ึงทั้งผูบ้ รหิ าร โรงเรยี น คณะครู และผูม้ ีสว่ นเกยี่ วข้องทกุ ฝา่ ย ต้องมีความรู้ความเข้าใจ
ใหค้ วามสำคัญและ มสี ว่ นร่วมในการวางแผน กำหนดแนวทางปฏบิ ตั กิ ารประเมนิ ผล และการปรับปรุงแกไ้ ข
อย่างเป็น ระบบและต่อเน่ือง มุ่งใหก้ ระจายอำนาจในการบริหารจดั การไปให้สถานศึกษาให้มากทีส่ ุด ดว้ ย
เจตนารมณท์ จ่ี ะให้สถานศึกษาดำเนนิ การได้โดยอสิ ระ คล่องตัว รวดเร็ว สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของ
ผูเ้ รยี น โรงเรียน ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และการมสี ่วนรว่ มจากผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ทกุ ฝา่ ย ซ่งึ จะเปน็ ปัจจยั สำคัญทำ
ใหส้ ถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบรหิ ารและจัดการสามารถพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู้
ตลอดจนการวดั ผล ประเมินผล รวมท้งั ปจั จัยเกอื้ หนนุ การพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี น โรงเรียน ชุมชน ทอ้ งถ่นิ
ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้บริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการ
ของนักเรยี น สถานศึกษา ชุมชน ท้องถน่ิ
2. เพ่ือให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับ
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพ่ือพัฒนาตนเอง และ จากการ
ประเมนิ หน่วยงานภายนอก
3. เพื่อให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนุนการเรียนรู้ท่ีสนอง
ต่อความต้องการของผูเ้ รยี น ชุมชน และ ทอ้ งถิ่น โดยยึดผเู้ รียนเป็นสำคญั ได้อยา่ งมีคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมอื ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา และ ของ
บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หนว่ ยงาน และ สถาบันอืน่ ๆอย่างกว้างขวาง

คมู่ อื การบริหารงานวชิ าการ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นทงุ่ น้อย “พิพฒั นโ์ สภณวทิ ยา” 6

ขอบขา่ ยและภารกิจผู้รบั ผิดชอบ
๑. การพัฒนาหรอื การดำเนนิ การเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลกั สตู รท้องถน่ิ

บทบาทและหนา้ ที่
- วเิ คราะห์กรอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ินที่สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจดั ทำไว้
- วิเคราะหห์ ลักสตู รสถานศกึ ษาเพอื่ กำหนดจดุ เน้น หรือประเด็นทสี่ ถานศึกษาให้

ความสำคญั
- ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษา และชุมชนเพอ่ื นำมาเปน็ ข้อมลู

จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ ของสถานศึกษาใหส้ มบูรณ์ย่งิ ขนึ้
- จดั ทำสาระการเรียนร้ทู อ้ งถิ่นของสถานศึกษา เพื่อนำไปจัดทำรายวชิ าพนื้ ฐานหรอื

รายวชิ าเพ่มิ เติมจัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่อื จดั ประสบการณ์
และจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหแ้ ก่ผู้เรียน ประเมนิ ผล และปรับปรงุ

- ผูบ้ รหิ ารศึกษาอนุมตั ิ

๒. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ
บทบาทและหนา้ ท่ี

- วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับดูแล นิเทศและติดตามเกี่ยวกับงาน
วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล
ประเมินผล และ การ
เทียบโอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้
ส่ือ และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษา และส่งเสริมชุมชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
- ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอนุมตั ิโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

๓. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา
บทบาทและหน้าที่

- จดั ทำแผนการเรียนรู้ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
- จดั การเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกชว่ งช้ัน ตามแนวปฏิบัติการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน

เป็นสำคญั พฒั นาคณุ ธรรมนำความร้ตู ามหลกั การปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- สอ่ื การเรียนการสอน และแหลง่ การเรียนรู้
- จดั กจิ กรรมพฒั นาห้องสมุด ห้องปฏิบตั ิการต่างๆ ใหเ้ อื้อตอ่ การเรียนรู้
- ส่งเสรมิ การวิจัย และพฒั นาการเรียนการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
- สง่ เสรมิ การพัฒนาความเปน็ เลิศของนักเรียน และชว่ ยเหลือนักเรียนพกิ าร ดอ้ ยโอกาสและ

มคี วามสามารถพเิ ศษ

คมู่ อื การบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนชมุ ชนบา้ นทุง่ น้อย “พิพฒั นโ์ สภณวทิ ยา” 7

๔. การพัฒนาหลักสูตรของสถานศกึ ษา
บทบาทและหน้าท่ี
- จัดทำหลักสูตรเป็นของตนเองโดยจัดให้มีการวิจัย และพัฒนาหลักสูตร ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เศรษฐกิจและสังคม จัดทำหลักสูตรที่มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา มีความรู้และคุณธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผ้อู ่ืนได้อย่างมีความสุข จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาพน้ื ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ
- เพ่ิมเติมเน้ือหาสาระของรายวิชา ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา การศึกษาที่
ส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ผบู้ กพร่อง
- เพิ่มเติมเน้ือหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
สงั คม และอาเซยี น

๕. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
บทบาทและหนา้ ที่

- จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ และความถนดั ของผ้เู รยี นโดย
คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

- ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพื่อป้องกันและ
แก้ไขปัญหา

- จัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็นรักการ
อ่านและเกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเนื่อง

- จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝัง
คณุ ธรรม คา่ นิยมทีด่ งี ามและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคไ์ ว้ในทกุ กลุ่มสาระ/วชิ า

- ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความ
สะดวกเพื่อให้ผ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้ และมีความรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
เรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนรู้อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่าง ๆ

- จดั การเรียนรใู้ ห้เกดิ ขน้ึ ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมอื กับบดิ ามารดาและบุคคล
ในชุมชนทกุ ฝ่าย เพื่อรว่ มกนั พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพ

- ศึกษาคน้ ควา้ พัฒนารปู แบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรยี นรทู้ ่ี

คมู่ ือการบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นทุง่ นอ้ ย “พพิ ฒั น์โสภณวทิ ยา” 8

๖. การวดั ผล ประเมนิ ผล และดำเนินการเทยี บโอนเท่าผลการเรยี น
บทบาทและหน้าท่ี

- กำหนดระเบียบการวัด และประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษา
โดยให้สอดคล้อง กบั นโยบายระดับประเทศ

- จัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาให้เปน็ ไปตามระเบยี บการวัด และประเมินผลของสถานศึกษา
- วัดผล ประเมินผล เทยี บโอนประสบการณ์ ผลการเรยี นและอนมุ ัติผลการเรียน
- จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงชั้น และจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีที่มีผู้เรียน

ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
- ให้มีการพฒั นาเครอ่ื งมือในการวดั และประเมนิ ผล
- จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมนิ ผล และการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ในการอ้างอิง

ตรวจสอบ และใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาการเรยี นการสอน
- ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี รายภาคและตัดสินผลการ

เรยี นผ่านระดับชั้นและจบการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
- การเทยี บโอนผลการเรยี นเป็นอำนาจของสถานศกึ ษา ท่ีจะแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนินการ
เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตาม
อัธยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการ พร้อม
ท้งั ให้ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาอนมุ ัติการเทียบโอน

๗. การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่

- กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ และ
กระบวนการทำงานของนกั เรียน ครู และผ้เู กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษา

- พัฒนาครู และนักเรียนให้มีความรู้เก่ียวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็น
สำคัญ ในการเรียนรู้ท่ีซับซ้อนขึ้น ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผลในการ
ตอบปญั หา

- พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการวจิ ัย
- รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนุน

ให้ครูนำผลการวจิ ยั มาใชเ้ พ่ือพฒั นาการเรยี นรู้และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

๘. การพัฒนาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้
บทบาทและหนา้ ที่

- จัดใหม้ ีแหล่งเรยี นร้อู ย่างหลากหลาย ท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ใหพ้ อเพียงเพือ่
สนบั สนุนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองกับการจัดกระบวนการเรียนรู้

- จดั ระบบแหลง่ การเรียนรู้ภายในโรงเรยี นให้เอ้อื ต่อการจัดการเรียนรูข้ องผเู้ รียน เช่น
พัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล
หอ้ งศนู ยว์ ิชาการ สวนสขุ ภาพ สวนหนังสอื เปน็ ต้น

- จัดระบบขอ้ มลู แหลง่ การเรียนรู้ในทอ้ งถิน่ ให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ ของผู้เรยี น ของ
สถานศึกษาของตนเอง

คมู่ ือการบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนชุมชนบา้ นทุ่งนอ้ ย “พิพัฒน์โสภณวทิ ยา” 9

- สง่ เสรมิ ให้ครูและผู้เรยี นได้ใช้แหลง่ เรยี นรู้ ทัง้ ในและนอกสถานศกึ ษา เพื่อพฒั นาการ
เรยี นรู้ และ นิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ และปรับปรงุ อยา่ งต่อเน่ือง

- ส่งเสรมิ ให้ครู และผเู้ รยี นใชแ้ หล่งเรยี นร้ทู ้งั ภายในและภายนอก

๙. การนเิ ทศการศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่

- สร้างความตระหนักใหแ้ กค่ รู และผูเ้ กยี่ วข้องใหเ้ ข้าใจกระบวนการนิเทศภายในวา่ เป็น
กระบวนการทำงานร่วมกันท่ีใช้เหตุผลการนิเทศ เป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแต่ละบุคคล ให้มี
คุณภาพการนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร เพ่ือให้ทุกคนเกิดความเชื่อม่ันว่าได้ปฏิบัติถูกต้อง
ก้าวหน้า และเกดิ ประโยชน์สูงสุดต่อผเู้ รียน และตัวครูเอง

- จดั การนิเทศภายในสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพทว่ั ถงึ และต่อเน่อื งเป็นระบบและ
กระบวนการ

- จัดระบบนิเทศภายในสถานศกึ ษาใหเ้ ช่ือมโยงกบั ระบบนเิ ทศการศึกษาของสำนกั งานเขต
พืน้ ทีก่ ารศกึ ษา

๑๐. การแนะแนว
บทบาทและหนา้ ที่

- กำหนดนโยบายการจดั การศกึ ษา ท่มี ีการแนะแนวเปน็ องค์ประกอบสำคัญ โดยใหท้ ุก
คนในสถานศกึ ษาตระหนกั ถงึ การมสี ่วนร่วมในกระบวนการแนะแนว และการดูแลช่วยเหลอื

- จดั ระบบงานและโครงสร้างองคก์ รแนะแนว และดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของสถานศกึ ษาให้
ชัดเจน

- สรา้ งความตระหนกั ให้ครูทุกคนเห็นคุณค่าของการแนะแนว และดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
- ส่งเสรมิ และพฒั นาใหค้ รไู ดร้ บั ความรูเ้ พิม่ เตมิ เรอื่ งจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล
ชว่ ยเหลอื นักเรยี น เพอื่ ใหส้ ามารถบูรณาการในการจัดการเรยี นรแู้ ละเชอ่ื มโยงสู่การดำรงชีวิตประจำวัน
- คัดเลอื กบุคลากรที่มคี วามรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพทเ่ี หมาะสม ทำหน้าท่ีครูแนะ
แนว ครทู ่ปี รกึ ษา ครูประจำชนั้ และคณะอนกุ รรมการแนะแนว
- ดแู ล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนนิ งานแนะแนว และดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ
- สง่ เสริมความรว่ มมือ และความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างครู ผู้ปกครอง และชุมชน
- ประสานงานด้านการแนะแนวระหวา่ งสถานศกึ ษา องค์กร ภาครัฐและเอกชน บ้าน
ศาสนสถาน ชมุ ชนในลักษณะเครอื ข่ายการแนะแนว
- เชอ่ื มโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

๑๑. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่

- กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
- จดั ทำแผนสถานศกึ ษาทมี่ ุง่ เนน้ คุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยุทธศาสตร)์
- จดั ทำระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
- ดำเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสถานศึกษาต้อง

คมู่ ือการบริหารงานวชิ าการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นทุ่งนอ้ ย “พพิ ัฒน์โสภณวิทยา” 10

สร้างระบบ การทำงานที่เข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเด รมม่ิง (Deming
Cycle) หรอื ทีร่ ู้จกั กนั วา่ วงจร PDCA

๑. ตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษาโดยการดำเนินการอย่างจริงจงั ต่อเน่ืองดว้ ยการ
สนับสนนุ ให้ครู ผูป้ กครองและชุมชนเขา้ มามสี ่วนรว่ ม

๒. ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานท่ีกำหนด เพ่ือรองรับการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก

๓. จัดทำรายงานคณุ ภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรปุ รายงานประจำปี โดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

๑๒. การสง่ เสรมิ ชมุ ชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
บทบาทและหน้าท่ี

- จดั กระบวนการเรยี นรูร้ ว่ มกบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอน่ื

- ส่งเสริมความเขม้ แขง็ ของชุมชน โดยการจดั กระบวนการเรยี นรูภ้ ายในชุมชน
- ส่งเสรมิ ให้ชมุ ชนมีการจดั การศกึ ษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสารและ
เลือกสรรภมู ิปญั ญา วทิ ยาการตา่ งๆ
- พฒั นาชมุ ชนใหส้ อดคล้องกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการรวมทงั้ หาวิธกี ารสนับสนุน
ใหม้ กี ารแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหวา่ งชุมชน

๑๓. การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาวชิ าการกับสถานศกึ ษา และองค์กรอน่ื เป็น

บทบาทและหนา้ ท่ี
- ระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอกและภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ เพอ่ื

เสรมิ สรา้ ง พัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน รวมทั้งสืบสานจารีตประเพณีศิลป์วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ
- เสริมสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างสถานศึกษากับชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกบั องคก์ รทง้ั

ภาครัฐ และเอกชน เพอ่ื ให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวทิ ยาการของชมุ ชน เพื่อให้สถานศึกษาเปน็ แหลง่
วิทยาการของชุมชน และมสี ่วนในการพฒั นาชมุ ชนและทอ้ งถนิ่

- ให้บรกิ ารด้านวิชาการท่ีสามารถเชอื่ มโยงหรือแลกเปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสารกบั แหล่งวิชาการ

ในที่อืน่ ๆ
- จัดกจิ กรรมร่วมกับชมุ ชนเพื่อสง่ เสริมวฒั นธรรมการสรา้ งความสัมพันธ์อันดีกับศิษยเ์ กา่

การประชุม ผู้ปกครองนกั เรยี น การปฏบิ ัติงานร่วมกบั ชมุ ชน การร่วมกิจกรรมกับสถาบนั การศกึ ษาอ่ืน

ตน้

๑๔. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถาน
ประกอบการ และสถาบนั อ่นื ทจ่ี ดั การศึกษา

บทบาทและหน้าท่ี
- ประชาสมั พนั ธ์สร้างความเข้าใจตอ่ บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชุมชน องค์กร

ปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน

สงั คมอน่ื ในเร่ืองเกยี่ วกบั สทิ ธใิ นการจดั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานการศึกษา
- จดั ให้มีการสรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจ การเพิม่ ความพรอ้ มให้กบั บุคคล ครอบครวั

คมู่ อื การบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนชุมชนบา้ นทุง่ นอ้ ย “พิพฒั นโ์ สภณวิทยา” 11

ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่นื ที่ร่วมจัดการศกึ ษา

- ร่วมกบั บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เอกชน
องค์กร เอกชนองค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนที่ร่วมจัดการศึกษา
และใชท้ รพั ยากรรว่ มกันให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด

- สง่ เสรมิ สนับสนุนให้มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ระหว่างสถานศกึ ษากบั บุคคล ครอบครัว
ชมุ ชน องค์กรเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอ่ืน

- สง่ เสริมสนับสนนุ ใหบ้ ุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั
ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ได้รับความช่วยเหลือทางด้านวิชาการตามความ เหมาะสม
และจำเป็น

- สง่ เสรมิ และพฒั นาแหล่งเรียนรู้ ทงั้ ดา้ นคุณภาพและปรมิ าณ เพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ
อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ

๑๕. การจดั ทำระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ท่ี

- ศึกษาและวิเคราะห์ระเบยี บ และแนวปฏิบตั ิเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
เพอื่ ให้ ผู้ท่ี เก่ียวขอ้ งรับรู้ และถอื ปฏิบตั เิ ป็นแนวเดียวกัน

- จัดระเบียบ และแนวปฏิบตั ิเกย่ี วกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศึกษา เพอ่ื ใหผ้ ทู้ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง
รบั รู้ และถอื ปฏบิ ตั ิเปน็ แนวเดยี วกนั

- ตรวจสอบรา่ งระเบียบและแนวปฏิบตั เิ กยี่ วกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา และแกไ้ ข
ปรับปรงุ

- นำระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั งานด้านวิชาการของสถานศกึ ษาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
- ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การใช้ระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับงานดา้ นวชิ าการของ
สถานศึกษาและนำไปแกไ้ ขปรบั ปรุง ให้เหมาะสมตอ่ ไป

๑๖. การคดั เลือกหนงั สอื แบบเรยี นเพือ่ ใชใ้ นสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่

- ศกึ ษา วิเคราะห์ คัดเลอื กหนงั สือเรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้ต่างๆ ทีม่ ีคณุ ภาพสอดคลอ้ ง
กบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา เพ่ือเปน็ หนงั สือแบบเรียนใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน

- จัดทำหนังสือเรียน หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ หนงั สืออา่ นประกอบ แบบฝึกหดั ใบ
งาน ใบความรู้ เพ่ือใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน

- ตรวจพิจารณาคุณภาพ หนงั สอื เรยี นเรยี น หนังสือเสริมประสบการณ์ หนงั สอื อา่ น
ประกอบ แบบฝกึ หัด ใบงาน ใบความรู้ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน

๑๗. การพัฒนา และใชส้ ่ือเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา
บทบาทและหน้าที่

- จัดให้มกี ารรว่ มกนั กำหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจดั หาและพฒั นาสื่อการเรียนรู้
และเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา

คมู่ อื การบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนชุมชนบา้ นท่งุ นอ้ ย “พพิ ฒั นโ์ สภณวทิ ยา” 12

- พฒั นาบุคลากรใสถานศกึ ษาในเรอ่ื งเกยี่ วกบั การพฒั นาส่ือการเรยี นรู้ และเทคโนโลยเี พื่อ
การศึกษา พร้อมทั้งให้มีการจัดตั้งเครือข่ายทางวิชาการ ชมรมวิชาการเพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ พัฒนาและ
ใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีให้ข้อเท็จจริงเพื่อ
สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งส่ือท่ีเสริมการจัด การศึกษาของสถานศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพ

- พัฒนาหอ้ งสมุดของสถานศึกษา ให้เป็นแหลง่ การเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษา และชุมชน
- นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิต ใช้และพัฒนาสื่อ
และเทคโนโลยที างการศกึ ษา

ดา้ นบรหิ ารวชิ าการ
๑. หัวหน้างานบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าที่ ดูแล กำกับ

ติดตาม กล่ันกรองอำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำ ปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในกลุ่ม
การบริหารวิชาการตามขอบข่ายและภารกิจการบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าทเี่ ก่ียวข้องกับการจัดระบบบริหาร
องค์กร การประสานงานและให้บริการสนับสนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่างๆ ในโรงเรียนสามารถ
บริหารจัดการและดำเนินการตามบทบาทภารกิจ อำนาจหน้าท่ีด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและ
ให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษา และทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษาแก่
เจา้ หน้าทีข่ องแต่ละฝา่ ยงานเพ่ือใหฝ้ า่ ยบริหารจดั การได้อยา่ งสะดวกคล่องตวั มคี ณุ ภาพและเกดิ ประสทิ ธิภาพ

๒. หัวหน้าวิชาการสายชั้น ปฏิบัติหน้าท่ีผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มการบริหารวชิ าการ มีหน้าท่ีช่วยหัวหน้า
กลมุ่ การบรหิ ารวิชาการ ในการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ของงานบริหารงานวิชาการและหนา้ ทีอ่ ่ืนๆทีห่ ัวหน้ากลุ่ม
บริหารวิชาการมอบหมายปฏิบตั หิ นา้ ท่ีแทนในกรณีหวั หน้าบริหารงานวชิ าการไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ได้

ขอบข่ายงานบรหิ ารวชิ าการ มีดงั น้ี
๑. การพัฒนาหรือการดำเนนิ งานเกยี่ วกับการใหค้ วามเห็นการพฒั นาสาระหลักสตู รท้องถิ่น

หนา้ ที่รับผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
๑) วเิ คราะหก์ รอบสาระการเรียนร้ทู อ้ งถิน่ ที่สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาจัดทำไว้
๒) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือกำหนดจุดเน้นหรือประเด็นท่ีสถานศึกษาหรือกลุ่ม

เครือขา่ ยสถานศกึ ษาใหค้ วามสำคัญ
๓) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพ่ือนำมาเป็นข้อมูล

จัดทำสาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ ของสถานศึกษาให้สมบูรณย์ งิ่ ขึน้
๔) จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษาเพ่ือนำไปจัดทำรายวิชาพื้นฐานหรือ

รายวิชาเพ่ิมเติมจัดทำคำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือจัดประสบการณ์และ
กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหแ้ ก่ผเู้ รยี นประเมนิ ผลและปรับปรุง

๕) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติ
๒. การวางแผนงานด้านวชิ าการ หนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังนี้

๑) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับ ดูแล นิเทศและติดตาม
เกี่ยวกับงานวิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล
ประเมนิ ผล และการเทียบโอนผลการเรียนการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและ
ใช้สื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาและการส่งเสริมชุมชนใหม้ ีความเขม้ แข็งทางวิชาการ

คมู่ อื การบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นท่งุ น้อย “พพิ ฒั นโ์ สภณวทิ ยา” 13

๒) ผู้บริหารสถานศึกษาอนมุ ัตโิ ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน

๓. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
๑) จัดทำแผนการเรียนร้ทู ุกกลุม่ สาระการเรียนรูโ้ ดยความรว่ มมือของเครอื ขา่ ย

สถานศึกษา
๒) จัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชั้น ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดย

เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บูรณาการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนา
คณุ ธรรมนำความรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

๓) ใชส้ ่อื การเรยี นการสอนและแหล่งการเรียนรู้
๔) จดั กจิ กรรมพัฒนาหอ้ งสมดุ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตา่ งๆ ใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนรู้
๕) ส่งเสรมิ การวิจัยและพฒั นาการเรยี นการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๖) ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนกั เรียนและชว่ ยเหลือนักเรียนพิการดอ้ ยโอกาสและ
มคี วามสามารถพิเศษ

๔. การพัฒนาหลักสตู รของสถานศกึ ษา หน้าที่รับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี
๑. จัดทำหลักสตู รสถานศึกษาเป็นของตนเอง
๑.๑ จดั ให้มกี ารวิจยั และพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทนั กับการเปล่ยี นแปลงทางด้าน

เศรษฐกจิ และสังคมและเปน็ ตน้ แบบให้กบั โรงเรียนอนื่
๑.๒ จัดทำหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย

จติ ใจ สติปัญญา มคี วามรู้และคุณธรรม สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข
๑.๓ จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๑.๔ เพ่ิมเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาให้สูงและลึกซึ้งมากข้ึนสำหรับกลุ่มเป้าหมาย

เฉพาะ ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศ ผู้
บกพรอ่ ง พิการ และการศึกษาทางเลือก

๑.๕ เพิ่มเติมเน้ือหาสาระของรายวิชาท่ีสอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของ
ผู้เรียน ผ้ปู กครอง ชมุ ชน สังคม และโลก

๒. สถานศึกษาสามารถจัดทำหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนและอื่นๆให้
เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาและเครือขา่ ยสถานศึกษา

๓. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา
๔. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้
สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษารบั ทราบ

๕. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังนี้

๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย
คำนึงถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

คมู่ อื การบริหารงานวชิ าการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นทงุ่ นอ้ ย “พิพัฒน์โสภณวิทยา” 14

๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มา
ใช้เพอื่ ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา

๓) จดั กิจกรรมให้ผูเ้ รียนได้เรียนร้จู ากประสบการณ์จริงฝกึ การปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น
รกั การอา่ นและเกิดการใฝร่ ู้อยา่ งต่อเน่ือง

๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
รวมทัง้ ปลกู ฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมที่ดีงานและคณุ ลกั ษณะอนั พึง่ ประสงค์ไว้ในทุกวิชา

๕) สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอำนวย
ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่ง
วทิ ยาการประเภทตา่ งๆ

๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดา
และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพ่ือร่วมกันพัฒนาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ

๖. การวัดผล ประเมินผลและดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน หน้าที่รับผิดชอบปฏิบัติงาน
ดังนี้

๑) กำหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดย
สอดคลอ้ งกบั นโยบายระดบั ประเทศ

๒) จัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลของ
สถานศกึ ษา

๓) วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณผ์ ลการเรียนและอนมุ ัตผิ ลการเรียน
๔) จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงช้ันและจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีที่มีผู้เรียนไม่
ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
๕) จดั ใหม้ ีการพฒั นาเครื่องมอื ในการวดั และประเมนิ ผล
๖) จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ใน
การอา้ งอิง ตรวจสอบและใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรยี นการสอน
๗) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสิน
ผลการเรียนการผา่ นชว่ งชนั้ และจบการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
๘) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอำนาจของสถานศึกษาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดำเนินการเพ่ือกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ท้ังในระบบนอกระบบ
และตามอัธยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ
พรอ้ มทั้งใหผ้ ูบ้ ริหารสถานศกึ ษาอนมุ ตั ิการเทยี บโอน

๗. การวจิ ัยเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้

๑) กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการทำงานของ
นักเรียน ครู และผเู้ กีย่ วข้องกับการศกึ ษา

๒) พัฒนาครูและนักเรียนให้มีความรู้เก่ียวกับการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย
เป็นสำคัญในการเรียนรู้ท่ีซับซ้อนข้ึนทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปัญหา
การผสมผสานความรูแ้ บบสหวทิ ยาการและการเรยี นร้ใู นปญั หาท่ตี นสนใจ

คมู่ ือการบริหารงานวชิ าการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นทุ่งน้อย “พพิ ฒั น์โสภณวทิ ยา” 15

๓) พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการวจิ ยั
๔) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้ง
สนบั สนนุ ให้ครนู ำผลการวจิ ัยมาใช้ เพอื่ พัฒนาการเรยี นรู้และพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๘. การพฒั นาและส่งเสรมิ ให้มแี หล่งเรยี นรู้
หน้าทรี่ ับผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี

๑) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพ่ือ
สนับสนุนการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองกับการจดั กระบวนการเรียนรู้

๒) จัดระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น
พัฒนาห้องสมุดหมวดวิชา ห้องสมุดเคล่ือนท่ี มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องพิพิธภัณฑ์ ห้องมัลติมีเดีย ห้อง
คอมพวิ เตอร์ อินเตอรเ์ น็ต ศูนยว์ ิชาการ สวนสขุ ภาพ สวนวรรณคดี สวนหนงั สอื สวนธรรมะ เป็นต้น

๓) จัดระบบข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนของ
สถานศึกษาของตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนท่ี และระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุด
สถาบนั การศกึ ษา พิพิธภัณฑ์ พิพิธภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ฯลฯ

๔) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการ
เรียนรแู้ ละนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมิน และปรับปรุงอย่างตอ่ เนื่อง

๙. การนิเทศการศกึ ษา
หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี

๑) สร้างความตระหนักให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็น
กระบวนการทำงานร่วมกันท่ีใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแต่ละบุคคลให้มี
คุณภาพ การนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเช่ือม่ันว่า ได้ปฏิบัติถูกต้อง
กา้ วหน้า และเกดิ ประโยชน์สงู สดุ ต่อผเู้ รยี นและตวั ครเู อง

๒) จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาให้มีคุณภาพท่ัวถึงและต่อเนื่องเป็นระบบและ
กระบวนการ

๓) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขต
พื้นทก่ี ารศกึ ษา

๑๐. การแนะแนวการศึกษา
มีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี

๑) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาท่ีมีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยให้ทุกคน
ในสถานศึกษาตระหนักถึงการมสี ่วนร่วมในกระบวนการแนะแนวและการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน

๒) จดั ระบบงานและโครงสรา้ งองคก์ รแนะนำและดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
๓) สรา้ งความตระหนักใหค้ รทู กุ คนเห็นคณุ คา่ ของการแนะแนวและดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
๔) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเร่ืองจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นเพอื่ ให้สามารถ บูรณาการ ในการจดั การเรียนรแู้ ละเชือ่ มโยง สกู่ ารดำรงชวี ติ ประจำวัน
๕) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม ทำหน้าท่ีครูแนะ
แนวครทู ป่ี รกึ ษา ครูประจำชัน้ และคณะอนกุ รรมการแนะแนว

คมู่ ือการบริหารงานวชิ าการ โรงเรียนชมุ ชนบา้ นทงุ่ น้อย “พิพฒั นโ์ สภณวทิ ยา” 16

๖) ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนอย่างเป็นระบบ

๗) ส่งเสริมความรว่ มมอื และความเข้าใจอนั ดรี ะหว่างครู ผปู้ กครองและชุมชน
๘) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน
ศาสนสถาน ชมุ ชน ในลกั ษณะเครือข่ายการแนะแนว
๙) เชอื่ มโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน

๑๑. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
มีหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้

๑) กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพ่ิมเติมของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ชาติ มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานมาตรฐานสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาและความตอ้ งการของชมุ ชน

๒) จดั ระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสรา้ งการบริหารท่ีเอื้อต่อการพัฒนางานและ
การสร้างระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย
สะดวก รวดเรว็ ปรบั ปรงุ ให้เปน็ ปัจจบุ ันอยู่เสมอ

๓) จัดทำแผนสถานศกึ ษาทีม่ ุง่ เนน้ คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์/แผนยุทธศาสตร)์
๔) ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้อง
สร้างระบบการทำงานท่ีเข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle)
หรือทร่ี ้จู ักกันว่าวงจร PDCA
๕) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดำเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยการ
สนบั สนนุ ใหค้ รู ผูป้ กครองและชมุ ชนเขา้ มามีสว่ นรว่ ม
๖) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ีกำหนดเพื่อรองรับการ
ประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
๗) จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพรต่ ่อสาธารณชน

๑๒. การส่งเสรมิ ชมุ ชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ ทางวิชาการ
มีหนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี

๑) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อ่ืน

๒) ส่งเสริมความเขม้ แข็งของชมุ ชนโดยการจดั กระบวนการเรยี นร้ภู ายในชมุ ชน
๓) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้จัก
เลอื กสรรภูมปิ ัญญาและวทิ ยาการตา่ งๆ
๔) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุน
ใหม้ ีการแลกเปลีย่ นประสบการณร์ ะหวา่ งชมุ ชน

๑๓. การประสานความร่วมมอื ในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองค์กรอน่ื
มหี น้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้

๑) ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพื่อ
เสรมิ สร้างพฒั นาการของนกั เรียนทุกดา้ นรวมท้ังสืบสานจารตี ประเพณีศลิ ปวฒั นธรรมของท้องถ่ิน

คมู่ อื การบริหารงานวิชาการ โรงเรียนชุมชนบา้ นทุง่ นอ้ ย “พิพัฒน์โสภณวิทยา” 17

๒) เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กร
ทั้งภาครัฐและเอกชน เพ่ือให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการของชุมชนและมีส่วนในการพัฒนาชุมชนและ
ทอ้ งถิ่น

๓) ให้บริการดา้ นวิชาการท่ีสามารถเช่ือมโยงหรือแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารกับแหล่งวิชาการ
ในที่อืน่ ๆ

๔) จัดกจิ กรรมร่วมชุมชน เพ่ือส่งเสรมิ วัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศษิ ย์เก่าการ
ประชมุ ผูป้ กครองนกั เรยี น การปฏิบตั งิ านร่วมกับชมุ ชน การรว่ มกิจกรรมกบั สถานบนั การศกึ ษาอืน่ เปน็ ต้น

๑๔. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถาน
ประกอบการ และสถาบนั อนื่ ที่จัดการศกึ ษา
มหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี

๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน
สังคมอ่ืนในเร่ืองเกี่ยวกับสทิ ธิในการจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

๒) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพิ่มความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ
สถาบันสงั คมอื่นที่ร่วมจดั การศึกษา

๓) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน
องค์กร-เอกชน องค์วิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอื่นรว่ มกนั จดั การศึกษาและใช้
ทรพั ยากรรว่ มกนั ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ แกผ่ ู้เรยี น

๔) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสงั คมอ่นื

๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอื่น ได้รับความ
ชว่ ยเหลอื ทางด้านวิชาการตามความเหมาะสมและจำเป็น

๖) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต
อย่างมีประสิทธิภาพ

๑๕. การจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ยี วกับงานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา
มีหน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี

๑) ศึกษาและวิเคาระห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
เพ่อื ใหผ้ ู้ท่ีเก่ยี วข้องทุกรายรับรูแ้ ละถือปฏบิ ัตเิ ปน็ แนวเดยี วกัน

๒) จัดทำร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ท่ี
เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยรบั ร้แู ละถือปฏิบตั เิ ป็นแนวเดียวกัน

๓) ตรวจสอบรา่ งระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับงานด้านวชิ าการของสถานศึกษาและแก้ไข
ปรบั ปรงุ

๔) นำระเบียบและแนวปฏิบัติเกย่ี วกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษาไปสกู่ ารปฏิบัติ

คมู่ อื การบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรยี นชุมชนบา้ นทงุ่ น้อย “พิพฒั น์โสภณวิทยา” 18

๕) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ
สถานศกึ ษาและนำไปแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมตอ่ ไป

๑๖. การคดั เลอื กหนงั สือ แบบเรียนเพอื่ ใชใ้ นสถานศกึ ษา
มหี นา้ ทรี่ บั ผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี

๑) ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีคุณภาพสอดคล้อง
กลบั หลกั สูตรสถานศกึ ษาเพื่อเป็นหนงั สอื แบบเรียนเพื่อใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน

๒) จัดทำหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน
ใบความรู้เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน

๓) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ
แบบฝึกหดั ใบงาน ใบความรู้เพ่ือใช้ประกอบการเรยี นการสอน

๑๗. การพัฒนาและใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
มีหน้าทีร่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี

๑) จัดให้มีการร่วมกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้
และเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๒) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเร่ืองเก่ียวกับการพัฒนาส่ือการเรียนรู้และเทคโนโลยี
เพื่อการศกึ ษา พร้อมทั้งให้มกี ารจัดตั้งเครือข่ายทางวชิ าการ ชมรมวิชาการเพอ่ื เป็นแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา

๓) พัฒนาและใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยี
ทางการศึกษาท่ีให้ข้อเท็จจริงเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ๆเกดิ ข้ึน โดยเฉพาะหาแหล่งส่ือท่ีเสริมการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษาใหม้ ีประสิทธิภาพ

๔) พฒั นาห้องสมดุ ของสถานศกึ ษาให้เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ของสถานศึกษาและชุมชน
๕) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรในการจัดหา ผลติ ใช้และพัฒนา
สอ่ื และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

๑๘. การรับนักเรียน
หนา้ ท่ีรับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังนี้

๑) ให้สถานศึกษาประสานงานการดำเนินการแบ่งเขตพ้ืนที่บริการการศึกษาร่วมกัน และ
เสนอข้อตกลงให้เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาเหน็ ชอบ

๒) กำหนดแผนการรบั นักเรยี นของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกับเขตพ้นื ที่
การศกึ ษา

๓) ดำเนินการรบั นกั เรยี นตามทแ่ี ผนกำหนด
๔) ร่วมมือกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ชุมชน ในการติดตามชว่ ยเหลือนกั เรียนที่มปี ัญหา
ในการเข้าเรยี น
๕) ประเมนิ ผลและรายงานผลรับเด็กเข้าเรยี นให้เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาทราบ

คมู่ ือการบริหารงานวชิ าการ โรงเรียนชมุ ชนบา้ นทุ่งน้อย “พิพฒั นโ์ สภณวทิ ยา” 19

๑๙. การจดั ทำสำมะโนนักเรียน
มหี นา้ ท่รี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี

๑) ประสานงานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสำรวจข้อมูล จำนวนนักเรียนทจ่ี ะเขา้ รับบริการ
ทางการศึกษาในเขตบรกิ ารของสถานศึกษา

๒) จัดทำสำมะโนผเู้ รียนทีจ่ ะเขา้ รบั บรกิ ารทางการศึกษาของสถานศึกษา
๓) จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศจากสำมะโนผู้เรียนให้เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษารับทราบ
๒๐. การทศั นศึกษา มหี นา้ ที่รับผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี
๑) วางแผนการนำนกั เรียนไปทัศนศกึ ษานอกสถานศึกษา
๒) ดำเนินการนำนกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่ีกำหนด

คมู่ อื การบริหารงานวิชาการ โรงเรียนชุมชนบา้ นทุ่งนอ้ ย “พพิ ัฒนโ์ สภณวทิ ยา” 20

คมู่ ือการบริหารงานวชิ าการ โรงเรียนชุมชนบา้ นทงุ่ นอ้ ย “พิพัฒน์โสภณวทิ ยา” 21


Click to View FlipBook Version