The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๖๑. ใบงานที่ ๑, ๒, ๓(๓สมรรถนะ) การศึกษาเรียนรู้ด้วยนเอง นายยุทธพงษ์ จำปาแก้ว กลุ่มที่ ๑๘ เลขที่ ๘

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by toyoyutthapong18, 2022-05-07 21:55:26

๑๖๑. ใบงานที่ ๑, ๒, ๓(๓สมรรถนะ) การศึกษาเรียนรู้ด้วยนเอง นายยุทธพงษ์ จำปาแก้ว กลุ่มที่ ๑๘ เลขที่ ๘

๑๖๑. ใบงานที่ ๑, ๒, ๓(๓สมรรถนะ) การศึกษาเรียนรู้ด้วยนเอง นายยุทธพงษ์ จำปาแก้ว กลุ่มที่ ๑๘ เลขที่ ๘

การศกึ ษาค้นคว้าเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาตนเอง
ใบงานท่ี 1 ใบงานที่ 2 และ ใบงานท่ี 3 (3 สมรรถนะ)

โดย
นายยทุ ธพงษ์ จำปาแกว้

กล่มุ ท่ี 18 เลขท่ี 8

เสนอวิทยากรพีเ่ ล้ียง
ว่าท่ี ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ

โครงการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตัง้
ใหด้ ำรงตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการ
สถานศึกษา สงั กดั สำนกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ผู้จัดทำไดร้ ายงานตามแนวปฏิบัติและภารกิจของ
การพฒั นา สอดคลอ้ งกบั คูม่ ือผูเ้ ข้ารับการพัฒนาฯ ดังนี้

กิจกรรมท่ี 1 การศกึ ษาคน้ ควา้ เรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาตนเอง ประกอบด้วย
ใบงานที่ 1 การอ่านหรือฟังเพ่ือปรับกรอบความคิด (Mindset) จากหนังสือแปลและจัดทำสรุป

รายงาน จำนวน 2-5 หนา้ ไมน่ ้อยกวา่ 2 เล่ม เสนอตอ่ วทิ ยากรพเี่ ลี้ยงด้วย File e-Report
ใบงานที่ 2 ให้ความหมายคำสำคญั คำนิยามศพั ท์ ทตี่ นเองถนัดและสนใจไม่น้อยกวา่ 30 คำ โดย

ให้ความหมายและอธบิ ายว่าสำคญั หรอื เก่ยี วขอ้ งกับการจัดการอาชวี ศึกษาท่ีทา่ นตอ้ งรับผิดชอบ อย่างไร สรุป
สาระตามใบนำเสนองาน ไม่เกิน 5 หน้า จัดเก็บใน e-Report รวบรวมเป็น File Album

ใบงานท่ี 3 สมรรถนะที่ 1 การดำรงตนของรองผู้อำนวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษายุคชีวิตวิถี
อนาคต (Next Normal) สมรรถนะที่ 2 ภาวะผู้นำทางวิชาการและวิชาชีพอาชีวศึกษา และสมรรถนะที่ 3
การบริหารและการจดั การในสถานศึกษา

กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาสมรรถนะรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
ครอบคลุมภารกิจของการศึกษา กิจกรรมที่ 1 และ 3 สมรรถนะ เพื่อรวบรวมและเรียบเรยี งข้อมูล สรุปเป็น
องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน ในรูปแบบของ e-Report สมรรถนะละไม่เกิน ๓ หน้ารวม ๙ หน้า และผังมโน
ทัศน์ (Mind Map) สมรรถนะละ ๑ หน้า รวม ๓ หน้า มีทักษะและความสามารถ ปฏิบัติตนในระหว่างการ
พฒั นาได้อย่างถูกตอ้ ง และนำความรู้ ประสบการณ์ จากการพัฒนาไปประยุกตใ์ ช้ ในการบริหารสถานศึกษาให้
เป็นองคก์ รแหง่ คุณภาพ

ผู้จัดทำ
นายยุทธพงษ์ จำปาแกว้
17 เมษายน 2565



สารบญั

หนา้

คำนำ ก
สารบัญ ข

สารบัญตาราง ง
สารบัญภาพ 1
1
กิจกรรมท่ี 1 การศึกษาคน้ คว้าเรียนร้เู พื่อพัฒนาตนเอง 1
ใบนำเสนองานท่ี 1 การอ่านหรอื ฟงั เพอื่ ปรบั กรอบความคดิ (Mindset) 3
คดิ แลว้ รวย Think and Grow Rich THE 21ST-CENTURY EDITION 4
6
คดิ แบบยิว ทำแบบญป่ี ุ่น Book 1 6
คดิ แบบยวิ ทำแบบญีป่ ุ่น Book 2 : บริหารเงินสไตล์นายธนาคารยิว 11
11
ใบนำเสนองานท่ี 2 ความหมายคำสำคญั คำนยิ ามศพั ท์
คำสำคญั คำนิยามศัพท์ อย่างน้อย 30 ความหมาย 14
17
ใบนำเสนองานท่ี 3 การพฒั นาตามสมรรถนะที่กำหนด 23
23
สมรรถนะที่ 1 การดำรงตนของรองผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา 24
ยุคชีวิตวถิ ีอนาคต (Next Normal) 25
26
สมรรถนะที่ 2 ภาวะผูน้ ำทางวชิ าการและวิชาชีพอาชวี ศึกษา 27
สมรรถนะที่ 3 การบรหิ ารและการจดั การในสถานศึกษา 28
ใบนำเสนอผังมโนทศั น์ (Mind Map) 29
30
Mind Map สมรรถนะท่ี 1
Mind Map สมรรถนะที่ 2

Mind Map สมรรถนะที่ 3
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ใบงาน
หนังสอื อา้ งอิง

แผนท่อี บรม



สารบญั ตาราง หนา้
6
ตารางที่ 1 คำสำคญั คำนยิ ามศัพท์ และคำอธบิ าย



สารบัญภาพ หน้า

ภาพท่ี 1 Mind Map สมรรถนะที่ 1 23
ภาพที่ 2 Mind Map สมรรถนะท่ี 2 24
ภาพท่ี 3 Mind Map สมรรถนะท่ี 3 25
ภาพท่ี 4 รายชื่อหนังสือการอา่ นหรือฟงั เพ่อื ปรับกรอบความคิด (Mindset) 28
ภาพท่ี 5 รายชือ่ คำสำคัญ คำนยิ ามศพั ท์ 28
ภาพท่ี 6 ปกหนังสอื คดิ แลว้ รวย Think and Grow Rich THE 21ST-CENTURY EDITION 29
ภาพท่ี 7 ปกหนังสอื คิดแบบยวิ ทำแบบญป่ี ่นุ Book 1 และ Book 2 29
ภาพที่ 8 Infographic กจิ กรรมท่ี 1 30



ใบงานที่ 1
ศกึ ษาคน้ คว้าองคค์ วามรู้ ตามขอบเขตการศกึ ษาคน้ คว้าเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาตนเอง จากการอา่ นหรือฟงั
เพื่อปรับกรอบความคิด (Mindset) จากหนังสือแปล และจัดทำสรุปรายงาน เสนอต่อวิทยากร พี่เลี้ยง ด้วย
File e-Report จัดทำสรุปรายงานไม่นอ้ ยกวา่ 2 เล่มและสรุปรายงาน 2-5 หน้า
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ใบนำเสนองาน

แบบสรปุ องคค์ วามร้จู ากการศึกษาหรอื แปลจากหนังสอื อยา่ งนอ้ ย 2 เล่ม
องค์ความรทู้ สี่ ามารถนำมาเป็นแนวทางการปรบั Minset ของตนเอง

วิทยากรณพ์ ีเ่ ลย้ี ง ว่าที่ ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชือ่ -สกุล นายยทุ ธพงษ์ จำปาแก้ว กลุ่มท่ี 18 เลขที่ 8
เล่มที่ 1

องค์ความรูท้ ไ่ี ด้จากการศกึ ษาค้นคว้าเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาตนเองและการนำไปประยกุ ต์ใช้ จากหนังสอื ช่ือ
คิดแล้วรวย Think and Grow Rich THE 21ST-CENTURY EDITION ผู้แต่ง นโปเลียน ฮิลล์ แปลโดย กมล
แสงองศรกี มล ISBN 978-974-212-978-1 (978-616-08-4275-9)

“คนที่ไมเ่ ปิดมมุ มองตัวเองใหก้ ว้างเข้าไว้ ย่อมจำกัดตัวเองให้ทำอะไรอยู่เพียงอย่างเดียวตลอดชีวิต”
(นโปเลียน ฮิลล์) ในชีวิตจริงแล้วเราเรียนรู้ด้วยการลงมือทำ (learning by doing) ภาคปฏิบัติจึงสำคัญกว่า
ทฤษฎี แตอ่ ย่าลืมว่าแทท้ ่ีจริงแล้ว ทฤษฎกี ็คอื ภาคปฏบิ ตั ิในอดตี ท่ีถูกนำมารวบรวมเอาไว้อย่างเป็นระบบจาก
ความสำเรจ็ ทางธุรกจิ นัน่ เอง

บทที่ 1 เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ : ถ้าคุณเคยท้อแท้ สิ้นหวัง ถ้าคุณขาดขวัญกำลังใจ ถ้าคุณเคย
เหน่ือยล้าและลม้ เหลว ถา้ คณุ เคยทกุ ข์ทรมานจากโรคภัยไข้เจ็บ การนำสูตรของคารเ์ นกี ท่มี ีความเชื่อว่า ใครก็
ตามที่จะประสบความสำเร็จได้ต้องเข้าใจปรัชญาแห่งความสำเร็จ และต้องรู้ขั้นตอนในการที่จะได้มันมา
เสยี ก่อน นำไปใช้ อาจช่วยพิสูจนว์ ่า ทา่ มกลางความสนิ้ หวงั นนั้ จะมโี อกาสเสมอสำหรับผู้ท่ีพยายามค้นหามัน
เคล็ดลับของศักยภาพในการนำพาตัวเองไปสู่ความสำเร็จนั้นสำคัญมากกว่าสิ่งซึ่งเราได้รับจากสิ่งที่เรียกว่า
“การศึกษา” (น. 22)

บทที่ 2 ความคดิ คือสินทรัพย์ : ความเช่อื ของนโปเลียน ฮิลล์ ทีว่ ่า “ทกุ ๆ ครงั้ ท่ีเราลม้ เหลว มันจะ
บ่มเพาะความสำเร็จขึ้นมาด้วยเช่นกัน” เพราะได้เรียนรู้จากความล้มเหลว อย่างชาญฉลาด ต้องฝึกให้มี
ประสบการณม์ ากข้ึนเรอื่ ย ๆ ผ่านการลองผดิ ลองถูกจนกระทัง่ เกิดการเรยี นร้ดู ้วยตัวเอง ดงั นัน้ ความลม้ เหลว ก็
คอื การฝึกฝนนั่นเอง คนเรารูท้ กุ สงิ่ ทเ่ี ป็นข้อจำกดั แต่อยากแสวงหาความสำเร็จ และเต็มใจทีจ่ ะเสี่ยงเดิมพันกับ
มัน เพราะทั้งความยากไร้หรือร่ำรวยล้วนเป็นผลิตผลจากความคิด ความสำเร็จอยู่กับคนที่มีจิตสำนึกแห่ง
ความสำเร็จเทา่ น้นั ความล้มเหลวอยูค่ กู่ บั คนทยี่ อมให้ตัวเองจมอยใู่ นสำนึกแห่งความล้มเหลว (น. 36)

บทท่ี 3 ปณธิ าน : สิ่งใดกต็ ามท่มี นุษยว์ ามารถคิดและเช่อื สง่ิ นั้นยอ่ มสำเรจ็ จดุ เริม่ ต้นของปณธิ านอนั
แรงกลา้ ในการที่เราจะทำอะไรสักอย่างก็คือ คุณปรารถนาจะทำส่ิงนัน้ ที่ถูกตอ้ ง และคณุ มคี วามมั่นใจในสิ่งนั้น
จงเดนิ หน้าตอ่ ไปแลว้ ลงมือทำ ถ้าคณุ พบกับความล้มเหลวบ้างก็อย่าสนใจสิง่ ซึง่ คนอน่ื พูด เขาอาจไม่รู้ว่าแต่ละ
คร้ังทล่ี ้มเหลวน้ัน ไดเ้ พมิ่ โอกาสแห่งความสำเร็จใหก้ บั คุณด้วยเชน่ กนั (น. 50)

บทที่ 4 ศรัทธาในศักยภาพของตัวคุณเอง : ความคดิ ไมม่ ีขีดจำกดั เวน้ เสียแตเ่ รายอมรบั วา่ มี ไม่วา่ จะ
เปน็ ความคิด ไอเดีย แผนการหรือเป้าหมายท่อี ยใู่ นจิตใจของคุณ จะดึงดูดส่งิ ท่ีสัมพนั ธก์ นั มันอาจเข้าไปอยู่ใน
จติ ใจ และเจรญิ เติบโต จนกระทงั่ กลายเปน็ แรงจูงใจหลกั ในจิตใจของคณุ (น. 72)

1

บทท่ี 5 การเสนอแนะตัวเอง : คนทีย่ อมแพ้ไมเ่ คยชนะ และผู้ชนะไม่เคยยอมแพ้ ศกั ยภาพในการใช้
หลกั การแห่งการเสนอแนะตัวเองนี้ ขึน้ อยูก่ ับความสามารถของตัวคุณเองในการที่จะรวมพลังใจเพ่ือจดจ่อกับ
ปณิธาน จนกระทั่งปณธิ านน้ันกลายเปน็ การย้ำคดิ ทแี่ รงกล้า (น. 94)

บทที่ 6 ความร้เู ฉพาะทาง : ทุกครั้งที่พบอุปสรรค ทกุ คร้ังทีล่ ม้ เหลว และบางครั้งท่เี จบ็ ปวดใจ มันได้
ให้กำไรชีวิตแก่เราเทียบเท่ากันหรืออาจมากกว่าเดิม จุดเริ่มต้นแห่งความสำเร็จของงานคือ ไอเดีย และ
เบื้องหลังของไอเดียคือ ความรู้ความสามารถเฉพาะทาง ซึ่งมีมากมายและหาง่ายกวา่ ไอเดีย ซึ่งความสามารถ
หมายถงึ จินตนาการเป็นส่งิ เชื่อมโยงความรู้เข้ากบั ไอเดียเพือ่ สร้างสรรค์แผนการไปสคู่ วามสำเรจ็ (น. 120)

บทที่ 7 จนิ ตนาการ : ความสุขไมไ่ ดเ้ กดิ มาจากการไดค้ รอบครองความสขุ เทา่ น้นั แตเ่ กิดจากการท่ีได้
ทำอะไรแลว้ มีควาสุขด้วย ไอเดยี เป็นผลิตผลของจินตนาการ ความสำเรจ็ เร่ิมจากคนท่ีสร้างสรรค์ไอเดียข้ึนมา
พบกับคนทข่ี ายไอเดียและทำงานรว่ มกนั อย่างมีประสิทธิภาพ จะแสดงพลังออกมาทำลายอุปสรรคท่ีขวางหน้า
จนสน้ิ (น. 148-149)

บทท่ี 8 การวางแผนอย่างเปน็ ระบบ : จงแสดงออกด้วยการกระทำก่อนที่จะประกาศให้โลกรู้ถึงสิ่งที่
ตั้งใจไว้ แผนปฏิบัติการที่ชัดเจนหรือแผนที่จะใช้ในการแปรเปลี่ยนปณิธานนั่นเอง ตัวคุณและสมาชิกในทีม
ระดมความคิด มีการร่วมมอื ผสมผสานการคิดสร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ และตรวจสอบ ยอมรับในแผนการ
นนั้ (น. 151-152)

บทท่ี 9 กลา้ ตัดสินใจ : ความหลงตัวเองคือหมอกควัน ซ่งึ ปกคลุมตัวตนทีแ่ ทจ้ รงิ ของเราไวโ้ ดยไม่รู้ตัว
มันลดศักยภาพและเพ่ิมความขัดแยง้ ในตัวเรา จงแสดงออกด้วยการกระทำ ก่อนทีจ่ ะประกาศใหโ้ ลกรู้ถงึ สิ่งท่ี
ตง้ั ใจไว้ หรืออกี ความหมายหนงึ่ มใิ ชค่ ำพดู แตเ่ ปน็ การกระทำตา่ งหากที่มคี ่า คณุ คา่ ของการตัดสินใจขึ้นอยู่กับ
ความกล้าหาญที่จะใชม้ ัน การตัดสนิ ใจที่ย่งิ ใหญ่ทจี่ ะรบั ใชอ้ งคก์ รอาจต้องเส่ียงถงึ ชวี ิต (น. 196)

บทที่ 10 ความมุ่งมั่น : ไม่มีใครบรรลุความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ ถ้าไม่ยอมอุทิศตนให้กับมัน การขาด
ความมุ่งม่ันเป็นความอ่อนแอทีพ่ บบ่อยท่ีสุดในผู้คนส่วนใหญ่ สิ่งที่เรามองไม่เห็นและไม่เคยคิดว่ามันมีอย่กู ็คือ
พลังเงียบ เป็นพลังที่ไม่สามารถต้านทานได้ พลังนี้ช่วยผู้คนตอ่ สู้และเผชิญหน้ากบั ความท้อแท้ส้ินหวัง นั่นคือ
ความมุ่งมน่ั นนั่ เอง (น. 209)

บทที่ 11 พลงั แหง่ การระดมความคดิ : บนจุดสงู สดุ ของบันไดสูค่ วามสำเร็จจะมคี นอยู่ไมม่ ากนัก เข้า
ไปอยูใ่ นกลุ่มคนที่คคู่ วร มีเป้าหมาย ความสนใจและมปี ณิธานแรงกลา้ ที่จะทุ่มเทความพยายามเช่นเดียวกับคุณ
เพือ่ ทำใหเ้ กิดการระดมความคดิ ซ่ึงชว่ ยใหค้ ุณสรา้ งสรรค์และประสบความสำเร็จในแผนงานของคุณ รวมไปถึง
การวางแผนอย่างเป็นระบบ ตามความสามารถในการทำงานและความสามารถทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนด้วยความ
สมานฉันท์ (น. 238)

บทที่ 12 สมั พันธภาพทางเพศ : ความคดิ ของมนษุ ย์เปน็ ขุมทองทีม่ ากมายมหาศาลยง่ิ กวา่ ขมุ ทองอ่ืน
ใดในผืนโลก การพัฒนาความพยายามกระตุ้นให้เกิดอารมณ์เชิงบวกขึ้นและป้องปรามอารมณ์เชิงลบ ภาวะ
อารมณ์เป็นสิ่งที่ถูกสรรค์สร้างจากความเคยชิน สร้างสมดุล มีเหตุผล มีพลังเชิงบวก เป็นอำนาจจิตใจเพื่อ
ควบคุมตัวเอง นั่นเอง (น. 264)

บทที่ 13 จิตใต้สำนึก : ความสำเร็จไม่ต้องการคำอธิบาย ความล้มเหลวไม่ยอมรับคำแก้ตัว จิตใต้
สำนกึ เป็นสื่อกลางท่แี ปรคำอธิษฐานหรอื ปณิธานให้อยู่ในรปู แบบท่ีเป็นอัจฉรยิ ภาพแหง่ จกั รวาลจะสามารถรับรู้
ได้ คำตอบจะย้อนกลับมาหาคุณในรูปแบบของแผนการที่ชัดเจนหรือไอเดียที่จะทำให้คุณบรรลุจุดประสงคท์ ่ี
คณุ ต้ังไว้ (น. 278)

บทที่ 14 ศักยภาพแห่งสมอง : เมอ่ื เราไมใ่ ส่ใจกบั ความยากลำบากที่มันเป็นอยู่ เราก็จะไม่ท้อแท้ส้ิน
หวัง สมองที่ถูกกระตุ้นดว้ ยอารมณ์หรือกระตุ้นจิตใจ จะทำงานด้วยอัตราที่เร็วกว่าเมื่ออยู่ในภาวะปลอดจาก

2

อารมณเ์ งียบสงบ ผลของการที่คลนื่ ความคดิ มีกำลังแรงข้ึน ทำใหจ้ ินตนาการสรา้ งสรรค์ไว ในการทจี่ ะรับไอเดีย
ต่าง ๆ มากขน้ึ (น. 282)

บทที่ 15 ประสาทสมั ผัสที่หก : ความสำเร็จทยี่ ง่ิ ใหญ่มาจากการเสียสละทใ่ี หญย่ ง่ิ หาใชค่ วามเห็นแก่
ตัวไม่ ประสาทสัมผัสท่ีหก ไม่ใช่อะไรที่ผู้ใดผู้หน่ึงจะสามารถเอาออกไปหรือนำพาเข้ามาตามความต้ังใจได้ จะ
เกิดขึ้นช้า ๆ ผ่านการประยุกต์ใช้ตามประสบการณ์นั้น ๆ เป็นส่วนหนึ่งของจิตใต้สำนึกที่เกี่ยวข้องกับ
จนิ ตนาการสร้างสรรค์ ไอเดยี แผนการและประกายความคิดสู่จิตใจเรา เช่น การสังหรณ์ใจหรอื แรงบันดาลใจ
เพ่อื ปกปอ้ งคมุ้ ครองตัวคณุ (น. 294)

บทที่ 16 หกปศี าจร้ายแหง่ ความกลัว : มแี ต่คนซง่ึ รูว้ ่าตัวเองต้องการอะไรในชีวิตเทา่ นั้นทีจ่ ะสามารถ
ไขวค่ วา้ สิง่ ท่ตี ้องการได้ ความกลวั พื้นฐานหกประการที่ทำให้คนเราต้องเปน็ ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ กลวั ความยากจน กลัว
การถูกตำหนิติเตียน กลัวความเจ็บป่วย กลัวการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก กลัวความแก่ชรา และกลัวความ
ตาย ความกลัวเป็นสภาวะจิตใจอยา่ งหนงึ่ และสภาวะจติ ใจเป็นสง่ิ ทค่ี ณุ สามารถควบคุมและชน้ี ำได้ (น. 304)

ความสามารถในการควบคุมความคิดนัน้ มีความหมายเดียวกับ การที่คุณสามารถควบคุมชะตาชีวิต
ของตวั เองได้ เปรยี บเสมอื น “ชวี ติ เหมอื นกระดานหมากรุก และผ้เู ล่นฝง่ั ตรงขา้ มของคุณคือ เวลา ถ้าคุณลังเล
ในการเดินหมาก หรอื เพิกเฉยท่ีจะเดนิ ให้ทนั กาล หมากของคณุ จะถูกเวลากินไป คณุ กำลังเล่นต่อสู้กับคู่แข่งท่ี
จะไมอ่ ดทนรอตอ่ ความไมก่ ลา้ ตดั สนิ ใจ” (น. 335)
เลม่ ท่ี 2

องค์ความร้ทู ี่ไดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้าเรียนรู้เพือ่ พัฒนาตนเองและการนำไปประยกุ ต์ใช้ จากหนงั สอื ชอื่
คดิ แบบยวิ ทำแบบญ่ปี นุ่ ผ้แู ต่ง Honda Ken (ฮอนดะ เคน), Book 1, ISBN 978-616-287-195-4

บทนำ การพบกันอย่างไมค่ าดฝันกบั บททดสอบแรก : ถ้าอยากประสบความสำเร็จ สิ่งที่สำคัญที่สุด
คือ การตั้งเป้าหมายชีวิต (น. 29) และการรู้จักมองเนื้อแท้ของสิ่งต่าง ๆ ให้ออกคือปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้
คนเราประสบความสำเร็จและมีความสขุ (น. 33)

เคล็ดลับที่ 1 รู้จักกลไกของสังคม : ค่าตอบแทนที่ได้ขึน้ อยู่กับปริมาณและตุณภาพของผลงาน เมื่อ
เธอทำงาน เธอจะได้รับค่าตอบแทนเท่ากบั ผลงานที่เธอทำ เพราะคนที่รักงานที่ตวั เองทำจะระสบความสำเร็จ
มากกว่าคนท่ีคิดแต่เร่อื งเงนิ (น. 40)

เคลด็ ลบั ที่ 2 รู้จักตวั เองและทำในสงิ่ ทชี่ อบ : ส่ิงท่ีชอบเป็นอะไรท่เี รียบง่ายและเบาสบายกว่านน้ั มัน
เปน็ ส่ิงทเ่ี ราทำแลว้ รู้สกึ สนุกจนลมื เวลาต่อใหไ้ มไ่ ด้เงินหรือไม่ไดร้ บั ความชื่นชมจากคนรอบข้างก็ไม่เป็นไร และ
คนที่ทำงานที่ตัวเองไม่ชอบจะใช้เงินไปกับเรื่องไร้สาระเพื่อระบายความเครียด เพราะเวลาทำงานในสิ่งที่ไม่
ชอบ พลังของเธอจะถดถอยลงเรือ่ ย ๆ (น. 75)

เคล็ดลบั ที่ 3 เพม่ิ พลังสญั ชาตญาณฝึกการมองคนและส่ิงต่าง ๆ ให้แตกฉาน : วิธีท่ีดีท่ีสุดที่จะทำให้
เราค้นพบสิ่งที่ชอบคือ ไม่ว่าตอนนี้จะกำลังทำอะไรอยู่ จงรักในสิ่งนั้น มองเนื้อแท้ของธุรกิจนั้นให้ออกว่ามี
ศักยภาพแค่ไหน มองศักยภาพของคนและบริษัทให้ออก ในอนาคตเวลาสร้างทมี ของตัวเอง ถ้าเธอมองไม่ออก
ว่าใครเหมาะสมกับงานไหน เธอก็ไม่มีทางสร้างทีมที่ดีขึ้นมาได้ ผู้บริหารส่วนใหญ่ตัดสินใจด้วยการยึดหลัก
เหตุผล แต่เวลาท่ตี ้องตัดสินใจเรอื่ งทสี่ ำคญั เขาจะใช้สญั ชาตญาณแทน (น. 88)

เคล็ดลับที่ 4 ตระหนักถึงพลังของอารมณแ์ ละความคิด : คนส่วนใหญ่กลัวการเปลี่ยนแปลงในชีวติ
ต้องการขบคดิ ก่อนว่าตัวเองกำลังคิด รูส้ กึ อยา่ งไร ถึงจะค้นพบสง่ิ ที่ตัวเองต้องการอยา่ งแท้จริง เพราะอารมณ์
และความคิดมอี ำนาจมาก ขนาดบงการชวี ติ ของเธอได้ คนท่มี คี วามสุขจะใชช้ วี ติ ดว้ ยความศรทั ธา (น. 105)

เคล็ดลับที่ 5 จงเป็นยอดนักขาย : เมื่อเข้าใจมนุษย์ เธอก็จะรู้ว่าจะสามารถจูงใจให้คนอื่นทำสิ่งที่
ตวั เองตอ้ งการได้อยา่ งไร (น. 105) โดยใชก้ ฎ 5 ขอ้ สู่ความสำเร็จในงานขายของคุณเกลเลอร์ ช่วยเรียนรู้

3

เคล็ดลับที่ 6 เป็นอัจฉริยะด้านการพูด : หากถ่ายทอดความคิดของตัวเองไมเ่ ป็นก็ยากที่จะประสบ
ความสำเร็จ การเพิม่ พูนทกั ษะการสอ่ื สารจึงเป็นทางลดั สู่ความสำเรจ็ (น. 125) เพราะคืออารมณ์ความรสู้ กึ

เคลด็ ลบั ท่ี 7 ใช้เครือข่ายคนรจู้ ักให้เกิดประโยชน์ : ถา้ มีคนร้จู กั จำนวนมากคอยสนับสนุน เธอกจ็ ะ
ประสบความสำเร็จเร็วขึน้ อกี หลายเทา่ เพราะมติ รภาพช่วยให้คนอนื่ ไว้วางใจนัน่ เอง (น. 135)

เคลด็ ลับท่ี 8 เรียนรู้กฎของเงิน : คนส่วนมากพยายามใชห้ ลกั เหตุผลมาวิเคราะห์เรื่องเงนิ แต่พอเอา
เขา้ จรงิ เวลาตัดสนิ ใจพวกเขากลับใชอ้ ารมณ์ ความรสู้ ึกล้วน ๆ แตถ่ า้ นำเงินไปลงทุนทำธรุ กิจใหม่ ๆ ทำให้เงนิ
ไหลเวยี นอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงช่วยให้มงั่ ค่งั เรว็ ขน้ึ (น. 163)

เคล็ดลบั ที่ 9 มีธุรกจิ เปน็ ของตนเอง : การนำเสนอสินค้าหรือบริการท่ีมีคุณค่ามากพอให้คนอ่ืนยอม
จา่ ยเงนิ ซ้ือ ธุรกจิ ทีด่ ีตอ้ งไม่หวังกอบโกย กำไรระยะสนั้ แต่ควรทำให้ลกู ค้าพงึ พอใจและยอมจ่ายเงิน (น. 178)

เคลด็ ลับท่ี 10 ฝึกใชต้ ะเกียงวิเศษของอะลาดนิ ใหช้ ำนาญ : ความกล้าที่จะฝนั หรอื หวังตอ่ ไปเร่ือย ๆ
คือเป้าหมาย แม้ไม่เป็นจริงนี่แหละคือตะเกียงวิเศษของอะลาดิน (น. 183) ถ้าไม่มีแรงจูงใจก็จะไม่พบ
เป้าหมายท่ตี ัง้ เป้าไว้

เคลด็ ลับที่ 11 ขอความช่วยเหลอื จากคนอ่ืน : ไมม่ ใี ครประสบความสำเรจ็ ได้ดว้ ยตัวคนเดยี ว ต้อง
รูจ้ ักการตัง้ เป้าหมายและมีวธิ ขี อความร่วมมอื จากผูเ้ ชี่ยวชาญหรอื ผู้ทเ่ี ก่งกว่าหรอื ผทู้ ี่ถนดั ในงานนั้น ๆ มาชว่ ย
เป็นที่ปรึกษาในการวางแผนดำเนินงานให้ประสบผลสำเรจ็ (น. 195)

เคลด็ ลับที่ 12 เขา้ ใจคุณค่าของการมีชวี ติ คู่ : เบื้องหลงั ความสำเร็จในการสร้างความสุขและความมัง่
ค่งั จงแตง่ งานกบั คนทม่ี ั่นใจวา่ รกั มากทส่ี ุดและสามารถอยู่ดว้ ยกันได้ชว่ั ชวี ิต (น. 202)

เคล็ดลับท่ี 13 สร้างจิตสำนึกเศรษฐี : ถ้าอยากประสบความสำเร็จสิ่งแรกที่ต้องทำคือการนึกภาพ
ชวี ิตทีต่ วั เองปรารถนา ปลกู จิตสำนึกให้ชวี ิตม่ังคั่ง ยกระดับภาพลักษณ์ของตัวเอง เชื่อว่าตวั เองสามารถร่ำรวย
ได้ จติ สำนึกแห่งความมงั่ คงั่ จะดงึ ดูดเงินเข้าหาหรอื โอกาสทีด่ เี ข้ามา เสมือนเปน็ เศรษฐที ี่มคี วามสขุ (น. 213)

เคล็ดลับที่ 14 กล้าตัดสินใจและลงมือทำ : การลังเลไม่กล้าตัดสินใจ เป็นกับดักที่อันตรายที่สุดใน
ชีวติ คนท่ีประสบความสำเร็จกล้าเผชญิ หน้ากับความเสย่ี ง ความกลัวลม้ เหลวจงึ ตอ้ งกระตือรือร้น (น. 221)

เคล็ดลับที่ 15 รู้จักวิธีรับมือกับความล้มเหลว : ความล้มเหลวจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเราล้มเลิกความ
ตั้งใจ เมือ่ ไหรท่ ่ีเธอคิดว่าตัวเองไมม่ ีทางประสบความสำเร็จ น่นั แหละคอื ความล้มเหลว (น. 228)

เคลด็ ลบั ที่ 16 มีความฝัน : การมีความฝันนั้นเปน็ ส่ิงจำเปน็ อย่างมากต่อการประสบความสำเร็จและ
มีความสุข เม่อื ทำความฝันตัวเองเปน็ จริงแลว้ ตอ่ ไปต้องชว่ ยทำความฝันของคนอนื่ ใหเ้ ป็นจรงิ ดว้ ย (น. 230)

เคล็ดลับที่ 17 ยอมรบั ทกุ ส่ิงท่เี กิดข้นึ ในชวี ิต : ชีวติ เธอจะดีหรอื รา้ ยก็ขึ้นอย่กู ับวา่ เธอตีความส่ิงท่ี
เกดิ ข้นึ ยังไง และสามารถนำประสบการณ์นั้นมาใช้ให้เปน็ ประโยชนไ์ ดห้ รือเปลา่ (น. 237)

บทส่งท้าย บททดสอบสุดท้ายตามหาเป้าหมายชีวิต : การใช้ชีวิตด้วยความสงบนิ่ง ไม่หวั่นไหวกับ
เร่อื งใด ๆ น่ีแหละเปน็ การเตรยี มใจที่สำคัญท่ีสดุ ไมว่ า่ สถานการณภ์ ายนอกจะเป็นอยา่ งไร จงเลอื กทีจ่ ะสงบน่ิง
เขา้ ไว้เพราะมันคอื วิธีการรับมือกับความเป็นจริงที่ดีทสี่ ดุ (น. 256)
เลม่ ท่ี 3

องคค์ วามรู้ท่ีได้จากการศกึ ษาค้นคว้าเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาตนเองและการนำไปประยกุ ต์ใช้ จากหนังสือชอื่
คดิ แบบยวิ ทำแบบญป่ี นุ่ ผู้แตง่ Honda Ken (ฮอนดะ เคน), Book 2 : บรหิ ารเงินสไตล์นายธนาคารยวิ ,
ISBN 978-616-287-302-7

คนยวิ คดิ อย่างไรกับเงิน รวมถึงใช้และบรหิ ารเงินกนั อยา่ งไรถงึ กลายเป็นชนชาติท่ีมัง่ คง่ั ที่สุดในโลกใบ
นี้ บรหิ ารเงินสไตลน์ ายธนาคารยิว และการเปน็ อิสระจากเงนิ คุณจำเปน็ ตอ้ งมี ทรพั ย์สินท่มี ากพอสำหรบั การ
ใชช้ ีวิตโดยไมต่ ้องทำงาน และมที ักษะในการสรา้ งเงนิ ไดท้ กุ เมอื่ ทต่ี ้องการ

4

บทนำ อาจารยค์ นใหม่กบั การเริ่มตน้ ชวี ติ ใหม่ : เดิมพนั กับโอกาสท่ีมาเยอื นอีกคร้งั ถงึ จะชอบใช้
ความคิดสร้างสรรคม์ าพลิกแพลงเพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย แตเ่ ขาก็เกลียดการสักแต่ทำอะไรงา่ ย ๆ เพือ่ ให้ไดเ้ งิน
อย่างมากเพราะเขาเชื่อวา่ การทำแบบน้นั จะทำใหเ้ รากลายเปน็ มนุษย์ที่ไมม่ รี าคา (น. 20)

บทเรยี นท่ี 1 พบอาจารย์ผูส้ อนเร่ืองเงนิ : คนที่มองตัวเองในแง่บวกจะมพี ลังทีสามารถเปล่ียนแปลง
ตัวเองไม่ว่าปัจจัยภายนอกจะเป็นอย่างไรก็ตาม มีการตัดสินใจเป็นอิสระจากเงินเป็นคนมีอิสรภาพ แทนที่
พยายามเปลี่ยนสิ่งรอบตัว ควรจะพยายามเปลี่ยนแปลงตัวเอง สิ่งที่สำคัญที่สุดช่วยให้เราทำได้คือความกล้า
ชวี ิตจะคอยทดสอบเราอย่ตู ลอดว่าเรามคี วามกลา้ ท่ีจะกระโจนเข้าใส่ในสิง่ ท่ีตวั เองไมร่ ู้ได้หรอื เปล่า (น. 37)

บทเรียนท่ี 2 เอาตวั ออกจากการควบคุมของเงนิ : เวลาเผชิญหนา้ กับสิ่งที่ควบคุมเราอยู่ จำเป็นต้อง
รจู้ กั สงิ่ นน้ั ใหถ้ ่องแท้เสียกอ่ น เพราะทศั นคตทิ ่มี ตี อ่ เงินจะส่งผลใหก้ ารใชช้ วี ติ เปลย่ี นไปอยา่ งสน้ิ เชิง (น. 52)

บทเรยี นที่ 3 มองให้ออกว่ามคี วามสัมพันธก์ ับเงนิ อย่างไร : หากต้องการเปล่ยี นแปลงชีวิตหรืออยาก
ใช้ชวี ติ โดยทำสิง่ ท่ชี อบ เราตอ้ งรูก้ อ่ นว่าเงนิ ขั้นต่ำสดุ ท่ตี อ้ งมนี ั้นคือเทา่ ไร (น. 76)

บทเรียนที่ 4 เผชิญหน้ากับความสัมพันธ์ในอดีตที่เคยมีกับเงิน : การเป็นคนประเภทไหนน้ันขึ้นอยู่
กบั นิสัยและทศั นคติเรอ่ื งเงนิ ซึ่งเปน็ ตัวกำหนดชะตาชีวิตเลยทเี ดยี ว (น. 99)

บทเรียนที่ 5 ค้นหาความเชื่อมโยงของความสัมพันธ์ในครอบครัวกับเงิน : สมดุลของครอบครัวเปน็
ตัวกำหนดวิธปี ฏบิ ตั กิ ับเงินของคนแต่ละคนมคี วามแตกตา่ งกนั ความเรียดเพ่อื ได้เงนิ มาสาหัสมาก (น. 115)

บทเรยี นท่ี 6 สมั ผสั วถิ ีชวี ิตของเศรษฐี : ถา้ ทำธรุ กจิ ในจดุ ที่ไมม่ ีกระแสเงนิ ไม่วา่ จะพยายามแคไ่ หน
กไ็ มม่ วี นั ประสบความสำเร็จ ถ้าใชช้ ีวิตด้วยความรกั จะมเี สน่หเ์ พม่ิ ข้นึ โอกาสดีจะเข้ามาหาตัวเราเอง (น. 140)

บทเรียนท่ี 7 เพ่ิมพูนความรู้และขดั เกลาประสาทสมั ผัสเรอื่ งเงิน : มอี ยู่ 8 ด้าน รบั เพลดิ เพลิน รู้สึก
ขอบคณุ ทำใหค้ นอืน่ รสู้ ึกยินดี ปล่อยตัวไปตามกระแสในเวลาเหมาะสม ไวว้ างใจ แบ่งปันและบำบัด (น.151)

บทเรยี นที่ 8 เรยี นร้งู านของนายธนาคารท่ีไพรเวต แบงก์ : เนน้ การจบั กล่มุ ลูกค้าท่ีเป็นเศรษฐจี ากทั่ว
ทุกมุมโลก โดยธนาคารจะทำหน้าที่ปกป้องและช่วยบริหารทรัพย์สิน นำเสนอบริการต่าง ๆ ที่อำนวยความ
สะดวกใหก้ บั เศรษฐี ความสมั พันธ์ระหวา่ งลูกค้ากบั ธนาคารแบบไพรเวตแบงค์ ไมไ่ ด้สน้ิ สุดม่งุ หวงั ใหท้ ายาทของ
ลกู คา้ กลายมาเป็นลูกค้าในอนาคตและทำหนา้ ท่ีเป็นโค้ชด้านการเงนิ นี่คอื ความแตกต่างของธนาคารแบบไพร
เวตแบงคก์ ับธนาคารท่ัวไป (น. 158)

บทเรยี นที่ 9 ความรทู้ ีเ่ ปลย่ี นแปลงชีวิตได้ : ถา้ รู้สกึ ผิดจงจดจำเรื่องของเขาไปชั่วชีวติ ถา้ เธอยอมรับ
ความอ่อนแอของตัวเองออกมาตรง ๆ การกระทำเชน่ น้ีนับวา่ ประสบความสำเร็จไปแลว้ ครึ่งหน่ึง (น.163)

บทเรียนที่ 10 ฝึกความเชี่ยวชาญเรื่องธุรกิจ : ความประทับใจเหมือนพลังที่ขับเคลื่อนประสบ
ความสำเรจ็ ยอดขายบนกระดาษดดู ีแคไ่ หน ถา้ ไม่สามารถเปลย่ี นมนั เปน็ เงนิ สดได้กเ็ ปลา่ ประโยชน์ (น.194)

บทเรียนที่ 11 ชีวิตคู่ที่มีความสุขจะดึงดูดเงนิ : ความรักช่วยเยียวยาความเจ็บปวดในอดีตได้ ด้วย
เหตุผล 4 ข้อ ที่ทำให้ชีวิตคู่ที่มีความสุขสามารถดึงดูดเงินได้ คือ ได้รับความไว้ วางใจจากคนอื่นง่ายขึ้น
ตระหนักถงึ ภารกิจเบื้องหลงั ของการหาเงิน ไม่มรี ายจ่ายที่สนิ้ เปลอื ง ดึงดดู โอกาสเขา้ มาหาตัว (น.213)

บทเรียนที่ 12 คิดหาวิธีทำให้ชีวิตมีเงินและมีความสุข : จงใช้เงินเป็นเครื่องนำทางชีวิต อย่าได้ตก
เปน็ ทาสของเงนิ เพราะเงนิ จะดึงดา้ นท่ดี แี ละด้านที่ชวั่ ร้ายของมนุษย์ออกมา การเผชญิ หนา้ และต่อสู้กับเงินยัง
ช่วยใหเ้ ผชิญหน้ากับตวั เอง พฒั นาความสามารถขัดเกลา เป็นเครอื่ งมือยกระดบั ความเปน็ มนษุ ย์ด้วย (น.218)

บทสง่ ท้าย เผชิญหน้ากับตวั เอง : การประเมินว่าใครจะหาเงนิ ไดม้ ากแค่ไหน งา่ ยนิดเดียว แค่คอยจับ
ตาดวู ่า คนคนนั้นจะหวนั่ ไหวกับเงินจำนวนเทา่ ไรกพ็ อแลว้ คนทสี่ ามารถสรา้ งธรุ กิจโดยเร่ิมจากศูนย์ได้ไม่ว่าจะ
อยสู่ ่วนไหนของโลกกส็ ามารถมีฐานะมน่ั คงได้ ถงึ เราจะเข้าใจทฤษฎีแล้ว แตเ่ ม่ือลองทำดว้ ยตวั เองก็จะพบเร่ือง
ท่ไี ม่เข้าใจมากมาย ขนั้ แรกของการเป็นคนท่ีมีอสิ รภาพด้านการเงนิ คือ การเชีย่ วชาญในเร่อื งธรุ กจิ (น.218)

5

ใบงานที่ 2
การศกึ ษาค้นคว้าเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาตนเอง คำสำคัญและคำนิยามศัพท์

วทิ ยากรณพ์ ีเ่ ล้ียง วา่ ที่ ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชือ่ -สกุล นายยุทธพงษ์ จำปาแกว้ กลุม่ ท่ี 18 เลขที่ 8

ใหค้ วามหมายคำสำคัญ คำนิยามศพั ท์ โดยเลือกตามท่ีตนเองถนดั และสนใจ สรุปสาระตามใบนำเสนอ
งานการศกึ ษาค้นคว้าเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาตนเอง คำสำคัญและคำนิยามศัพท์ ดำเนินการเสรจ็ แล้วจดั เกบ็ ใน
e-Report รวบรวมเปน็ File Album ไม่เกนิ 5 หน้า

ตารางที่ 1 คำสำคัญ คำนิยามศัพท์ และคำอธิบาย

ลำดบั คำสำคญั และคำนยิ ามศัพท์ คำอธบิ าย

ท่ี (Keyword / Definition) (Description)

1. สภาวะปกติใหม่ (New Normal) หมายถึง รูปแบบวิถีชีวิตใหม่ การใช้ชีวิตแบบใหม่เกิดข้ึน

สถานการณ์หรือปรากฏการณ์ ไม่ปรกติ ผู้คน หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง

ไม่คุ้นเคย มีเหตุหรือเกดิ วิกฤติบางอย่าง มีการ และรุนแรงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้มนุษย์ต้อง

เปลยี่ นแปลงต่อการดำเนินชวี ิต ปรบั ตวั เพื่อรับมอื กบั สถานการณ์ปัจจุบนั

2. ทักษะทางวิชาชีพ (Hard Skills) หมายถึง เป็นทักษะทางวิชาชีพที่ใช้เฉพาะกับงานด้าน

ทักษะความรู้ที่เรียนมาเกิดเป็นความสามารถ นั้นๆ เช่น คนเป็นนักบญั ชีกต็ ้องมีความรู้ในการ

ในการประกอบวิชาชีพเพื่อใช้ปฏิบัติงานใน ตรวจงบและจัดทำบัญชี

ตำแหนง่ หนา้ ท่ีนน้ั ๆ

3. ทักษะที่สำคัญ (Soft Skills) หมายถึง ทักษะที่ ทักษะที่สำคัญอันประกอบไปด้วยคุณสมบัติ

สำคัญของผู้นำและคนทำงานยุคใหม่ช่วยให้ ภายในที่ดีของมนุษย์ที่ล้วนส่งผลดีแก่ตนเอง

บุคคลากรสามารถร่วมงานกับผู้อื่นได้อย่างมี เพื่อนร่วมงาน ช่วยให้เกิดการทำงานร่วมกันกับ

ประสิทธิภาพ และส่งผลต่อความสำเรจ็ ในงาน ผู้อื่นได้ดีกว่าเดิม และยังส่งผลกระทบที่ดีต่อ

ตามที่องคก์ รมุ่งหวัง สังคมอกี ด้วย

4. บูรณาการชีวิตในการทำงาน (Work life สามารถสงั เคราะห์และบรู ณาการ ความสามารถ

integration) หมายถึง ความสามารถในการ ที่มีอยู่ให้กับงานขององค์กรให้เหมาะสม ในยุค

ทำงาน ติดต่อประสานงาน สนใจใฝ่รู้ด้าน ของ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทาง

เทคโนโลยีอย่าง เฉลียวฉลาดและมีความคิด สังคม เศรษฐกิจและการเมืองรวมทั้งเทคโนโลยี

สร้างสรรค์ในการแก้ปญั หาดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ ทก่ี ้าวหน้า ทำให้ชวี ิตมคี ณุ คา่ และมัน่ คง

5. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) วิสัยทัศน์(Vision) ภารกิจ(Mission) เป้าหมาย

หมายถึง กระบวนการในการตัดสินใจ เพ่ือ (Goal) วัตถุประสงค์(Objectives) จุดมุ่งหมาย

กำหนดวิธีการกระทำและสิ่งที่ควรจะต้อง ( Purpose) น โ ย บ า ย ( Policies) ก ล ย ุ ท ธ์

ปฏิบัติอย่างเป็นระบบเอาไว้ล่วงหน้าก่อน (Strategies) โอกาสและอุปสรรคจากภายนอก

ดำเนินงานอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลในสภาพ (External opportunities and treats) จุดแข็ง

ความเปน็ จรงิ เพอื่ ใหอ้ งค์กรสามารถดำรงอยู่ได้ และจุดอ่อนจากภายใน (Internal strengths

ในสภาวะวิกฤตต่าง ๆ and weaknesses) การกำหนดกลยุทธ์และการ

นำกลยทุ ธไ์ ปใช้ใหเ้ กิดผล

6

ตารางท่ี 1 คำสำคญั คำนิยามศัพท์ และคำอธบิ าย (ต่อ)

ลำดบั คำสำคญั และคำนิยามศัพท์ คำอธบิ าย

ท่ี (Keyword / Definition) (Description)

6. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformation เปน็ กระบวนการท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปลี่ยนแปลง

Leadership) หมายถึง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติและสมมุติฐานของสมาชิกในองค์การ

มีพฤติกรรมที่มีความชดั เจน มากกวา่ พวกเขา และสร้างความผูกพัน ในการเปลี่ยนแปลง

ไมไ่ ดถ้ ูกจำกดั โดยการรบั รู้ของผตู้ าม วัตถปุ ระสงคแ์ ละกลยุทธ์ขององคก์ าร

7. ผังมโนทัศน์ (Mind Map) หมายถึง การแสดง ผังมโนทัศน์ (Mind Map) หรอื แผนผงั มโนทศั น์

ความสัมพันธ์ของมโนทัศน์หรือความคิดหลัก (Concept Mapping) อาศัยคำหรือข้อความใช้

หรือความคิดรวบยอดเป็นระบบ เพื่อพัฒนา เส้นหรือสัญลักษณ์แทนความหมาย เชื่อมให้

ทักษะกระบวนการคดิ อย่างมรี ะบบ ความสมั พนั ธข์ องมโนทัศน์ต่าง ๆ เข้าด้วยกนั

8. Infographics CVM (Center of Vocational พัฒนาความร่วมมือกับสถานประกอบการ ผลิต

Manpower Networking Management) กำลังคนตอบสนองความต้องการอุตสาหกรรม

หมายถึง ศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและ ระบบราง บูรณาการมีสมรรถนะตรงตามความ

พัฒนากำลังคนอาชวี ศึกษา ตอ้ งการของสถานประกอบการและของประเทศ

9. Sustainability Mindset หมายถึง แนวคิด การสร้างความเชื่อมั่นให้กับทุกภาคส่วนและ

ด้านความยั่งยืน ในการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ สร้างความร่วมมือในการผลักดันเกิดการ

องค์กร ควรมกี ารวางกรอบการทำงานท่ชี ดั เจน ดำเนินงาน ขบั เคล่อื นนวตั กรรม ระยะยาว

10. ความรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT

การศกึ ษาทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การวัดประเมินผลการ literacy) มีประสิทธิภาพ จะต้องพิจารณ าถึง

รู้ดิจิทลั 4 โดเมน ได้แก่ การเรียนการสอน การ การนำไปใชใ้ นชวี ิตการทำงานรวมถึงมติ ิของการ

วิจัย การบริหารงาน รวมทั้งการสื่อสารและ วัดความรู้ ทักษะ ทัศนคติในการใช้ เทคโนโลยี

ทกั ษะความร่วมมอื สารสนเทศ และการสงั เคราะห์องค์ความรู้ใหม่

11. ทักษะความรู้ทางการเงิน (Financial ความรู้ทางการเงิน ความเชี่ยวชาญ ทัศนคติ

Literacy) หมายถงึ ทักษะท่ีทำให้คนมีความ รวมถึงพฤติกรรมทางการเงินที่สำคัญเข้าไว้

อย่ดู ีมสี ขุ ทางการเงนิ (Financial Well-Being) ด้วยกัน เพ่ือบรรลเุ ปา้ หมายตัดสินใจทางการเงนิ

12. ทักษะความคลอ่ งตวั (Agility Skills) การประสานงานขององค์กร มีทรัพยากร

หมายถึง การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จตาม สนับสนุน ไว้ใจสามัคคี ร่วมมือ ประสิทธิภาพ

เป้าหมายขององคก์ ารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ขององคก์ ร มีรูปแบบความคิดที่ถกู ตอ้ งร่วมกนั

13. ทักษะการเปน็ ผู้ประกอบการ คณุ ลักษณะหรือปจั จยั สำคญั ท่มี ีผลต่อการทำให้

(Entrepreneurship Skills) หมายถงึ ธุรกิจสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว รับความ

บคุ คลผู้ออกแบบและนำสงิ่ ใหม่ ๆ เขา้ มา สร้าง เสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ทั้งหมด แสวงหาโอกาส

สนิ ค้าหรือบรกิ ารท่มี ีคณุ คา่ ภายใต้โอกาสที่มอี ยู่ กลุม่ เปา้ หมาย สร้างผลกำไรกลบั สูธ่ รุ กิจของตน

14. ความสามารถในการสื่อสาร การสื่อสารในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา

(Communication Skills) หมายถึง ท ั ก ษ ะ ก า ร ส ื ่ อ ส า ร ท ี ่ ไ ด ้ ป ร ั บ ป ร ะ ย ุ ก ต ์ ใ ช ้ ใ ห้

เทคนิคการสื่อสาร ใช้เทคโนโลยี เสริมทักษะ เหมาะสม มีประสิทธิภาพในการบริหาร พัฒนา

การสอื่ สารวิสัยทศั น์ของการเปลยี่ นแปลง ขบั เคล่ือนสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง

7

ตารางท่ี 1 คำสำคัญ คำนยิ ามศัพท์ และคำอธิบาย (ตอ่ )

ลำดบั คำสำคัญ และคำนิยามศพั ท์ คำอธิบาย

ท่ี (Keyword / Definition) (Description)

15. วิทยาลยั ระบบนิเวศน์ (Eco System College) เป็นสภาพแวดล้อมที่มีปฏิสัมพนั ธ์กันของระบบ

หมายถึง ระบบนิเวศการเรียนรู้แบบดิจิทัล การเรียนรู้ในระบบดิจิทัลภายในสถานศึกษา

(Digital Learning Ecosystem) เชื่อมโยงเป็น นำไปใช้กับผเู้ รยี น ผสู้ อน หรือผู้บริหาร

ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้

16. วิทยาลัยศนู ยท์ ี่ดเี ยี่ยม (Excellent Center ฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีคุณภาพเป็นศูนย์

College) หมายถงึ โครงการพฒั นาศูนยค์ วาม Human Capital Excellence Center (HCEC)

เป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา ระดับสถานศกึ ษา เป็นศนู ย์กลางพัฒนาครูบคุ ลากรวชิ าเฉพาะทาง

17. วทิ ยาลยั ดิจทิ ลั (Digital College) หมายถึง สามารถปรับตัวให้ทันกับยุคสมัยและความ

การบริหารจัดการด้านด้านต่าง ๆ ของสื่อสาร ต้องการของผู้เรียนยุคใหม่ เป็นแหล่งเรียนร้ทู ี่มี

สนเทศในและนอกสถานศกึ ษา และตอบสนอง การนำเทคโนโบโลยีดิจิทัลหรือเทคโนโลยี

ความตอ้ งการของนกั ศกึ ษาและบุคคลากร สมัยใหม่ เขา้ มาบริหารจดั การในทุกภาคส่วน

18. วิทยาลัยทักษะแห่งอนาคต (Future Skill รองรับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของ

College) หมายถึง รู ป แ บ บ ก า ร พ ั ฒ น า เทคโนโลยี(Technology Disruption : T)

ทรัพยากรมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อ การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างอาชีพและ

เตรียมการพัฒนาคุณภาพคนให้สอดรับกับ ลักษณะการทำงาน(Career Disruption :

ความต้องการทักษะ องค์ความรู้และ C) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบกระบวนการ

คุณลักษณะของโลกศตวรรษท่ี 21 เรียนรู้(Learning Disruption : L)

19. วทิ ยาลยั ยัง่ ยนื (Sustainable College) การพัฒนาอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ความ

หมายถึง รูปแบบของการพัฒนาสถานศึกษาที่ ตอ้ งการของมนุษย์ เปน็ พน้ื ฐานในการดำรงชวี ติ

สนองความต้องการของคนรุ่นปัจจบุ นั ไมท่ ำให้ ของนักเรียน นกั ศกึ ษาหรือบคุ ลากร ขดี จำกัดใน

คนรุ่นต่อไป ในอนาคต ต้องประนีประนอม การใช้ทรัพยากร และความยุติธรรมในสังคมทั้ง

ยอมลดทอนความสามาร ถในการ ที่ จะ ระหว่างชนรุ่นเดียวกันกับชนรุ่นต่อ ๆ ไป ท่ี

ตอบสนอง ความตอ้ งการของตนเอง สอดคล้องสงั คมและวัฒนธรรมในองค์กร

20. นวตั กรรมใหม่ (New Innovation) สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรู้ ทักษะ

หมายถึง สิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น มีลักษณะเปน็ ประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาขึ้น

ตัวผลิตภัณฑ์ บรกิ ารหรอื ปรบั ปรุงจากของเดมิ เป็นผลิตภัณฑใ์ หม่ บรกิ ารใหม่ หรือกระบวนการ

หรอื พฒั นาขึ้นใหมเ่ ลยก็ได้ ใหม่ เกดิ ประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกิจและสงั คม

21. Problem-Based Learning : PBL ลักษณะการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นจุด

หมายถึง การตั้งคำถามหรือปัญหาเป็น ตั้งต้น กระตุ้นในการพัฒนาทักษะการสื่อสาร

ตัวกระตุ้นความสนใจอยากรู้ ตัวปัญหาเป็นจดุ ทางวิทยาศาสตร์ นักเรียน ทำงานร่วมกันเป็น

ตั้งต้นของกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนา ทีมภายในกลุ่ม เพื่อค้นคว้าข้อมูลที่ต้องการ

ทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบคน้ สร้างความเข้าใจของปัญหารวมทั้งวิธีการ

ขอ้ มลู ท่ตี อ้ งการ แก้ปัญหา โดยจะบูรณาการความรู้ท่ีต้องการให้

นกั เรียนไดร้ ับการแก้ปญั หาเขา้ ดว้ ยกัน

8

ตารางที่ 1 คำสำคญั คำนยิ ามศพั ท์ และคำอธบิ าย (ต่อ)

ลำดับ คำสำคญั และคำนิยามศัพท์ คำอธิบาย

ท่ี (Keyword / Definition) (Description)

22. Project-Based Learning : PjBL สร้างความรู้ที่เป็นรูปธรรมแก่ผู้เรียน โดยอาศัย

หมายถึง การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน การ พลังความรู้ของตัวผู้เรยี นเอง สร้างสิ่งหน่ึงสิ่งใด

เรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ดีก็ต่อเมื่อลงมือกระทำด้วย ขึ้นมาเสมือนเป็นการสร้างความรู้ขึ้น เพราะ

ตนเอง (Learning by Doing) นำความรู้เดิม ความรู้อยู่คงทน ไม่ลืมง่าย ถ่ายทอดให้ผู้อื่น

ปรับให้เขา้ กับส่งิ แวดล้อมภายนอกได้ เขา้ ใจ สร้างความรูใ้ หม่ ตอ่ ไปอยา่ งไมม่ ที ส่ี ้นิ สุด

23. เรยี นร้ตู ลอดชวี ติ (Lifelong Learning) การจัดการศึกษา ให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ตลอด

หมายถึง การศึกษาตลอดชีวิตนั้น เป็น ชีวิต ในรูปแบบการผสมผสานการศึกษาใน

กระบวนการที่เกิดขึ้นโดยการสนับสนุนจาก ระบบโรงเรียน(Formal Education) การศึกษา

หลาย ๆ ฝ่าย อย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้บุคคลเกิด นอกระบบโรงเรีย(Non-Formal Education)

การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง พฒั นา ตนเอง ทันความ การศึกษาตามอัธยาศัย(Informal Education)

เปลยี่ นแปลงของสังคม ใหผ้ เู้ รียนเกดิ แรงจูงใจทเ่ี รียนรดู้ ว้ ยตนเอง

24. เรยี นดว้ ยตนเอง (Self-Learning) เกิดจาก การที่ผู้เรียนสมัครใจเรียนรู้ ไม่มีการ

หมายถึง การเรยี น ร้ทู ่ีเกดิ จากแรงจงู ใจภายใน บงั คบั มีวนิ ยั และความรับผิดชอบ เป็นสิ่งสำคัญ

ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความ ต้องการเรียนรู้ด้วย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่าง มีความหมาย

ความสมคั รใจ และมคี วามรบั ผิดชอบ รู้จักการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างไม่มีที่

สิ้นสุด ซึ่งนำไปสูก่ ารสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้

ตลอดชวี ติ (Lifelong Learning) เป็นการเรียนรู้

ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพและคงทน

25. การเรียนรู้แบบบูรณาการในการทำงาน(Work รูปแบบการเรียนการสอน ที่จัดขึ้นจากการ

Integrated Learning) หมายถงึ การออกแบบ ประสานความร่วมมอื กนั ในลกั ษณะไตรภาคี คือ

ในลักษณะบูรณาการเรียนกับการทำงานจริง ภาคีที่ 1 คือ สถานประกอบการ ภาคีที่ 2 คือ

เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประยุกต์ความรู้ องค์กรวชิ าชพี ภาคที ่ี 3 คือ สถานศึกษา ทง้ั สาม

ภาคทฤษฎีไปใชท้ ำงานในทีท่ ำงานจรงิ มีทกั ษะ ภาคีน้ีทำหน้าทก่ี ำหนดโครงสรา้ ง หลักสูตร และ

ในการทำงาน ปฏบิ ัติงานได้จริง ออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ เพ่อื สร้างบุคลากร

ที่ครบเครื่องทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ

ตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ

26. การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) เป็นการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนทำ

หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น กิจกรรมการคิดขั้นสูง ด้านการคิดวิเคราะห์

ศูนย์กลาง โดยผู้เรียนจะได้ร่วมคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า สะท้อนความคิดกลับ

อภิปราย ฝกึ ทกั ษะการอา่ น เขยี น ฟังดูและพูด โดยผู้เรียนมีอิสระ ได้ฝึกกิจกรรมที่หลากหลาย

นำเสนอ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกจะเปิด มีการเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ แก้ปัญหาเป็น

โอกาสให้ผู้เรียนไดม้ ีปฏสิ ัมพันธ์กบั เพื่อน ๆ ใน ทีม ฝกึ ทักษะการอ่าน พดู เขียน สรุปและแสดง

ช้ันเรยี นและผสู้ อน ความคิดเห็น นำมาถ่ายทอดและเชื่อมโยง

เนื้อหากบั ประสบการณ์จริง

9

ตารางที่ 1 คำสำคญั คำนิยามศัพท์ และคำอธบิ าย (ต่อ)

ลำดับ คำสำคญั และคำนิยามศัพท์ คำอธบิ าย

ท่ี (Keyword / Definition) (Description)

27. พลังแห่งการคิดบวก (The Power of คิดบวกแท้จริงจะมองเห็นว่ายังสามารถฝ่าฟัน

Positive Thinking) หมายถงึ การคิดเชิงบวก อุปสรรคไปให้ถึงใหไ้ ดอ้ ย่างสมจรงิ ยากแคไ่ หนก็

เราจะมองเรอื่ งรา้ ย ๆ ในชวี ติ วา่ มนั คอื โอกาส ไม่กลัว รู้ว่ามีทางเสมอ มีวิธีคิดหาทางออกไป

ท่จี ะทำให้เราพบสง่ิ ทดี่ กี วา่ เรื่อย ๆ จนคิดออกและก็จะเดนิ ไปโดยไม่ยอ่ ท้อ

28. บคุ ลิกภาพพลัส (Personality Plus) ลักษณะเฉพาะตัวของบุคคล ประกอบท้ัง

หมายถึง รูปแบบพฤติกรรม ความคิด รวมถึง ภายนอก เช่น รูปร่างหน้าตา ท่าทาง การพูดจา

การแสดงออกทางอารมณ์ของบุคคลที่ตอบ และ ส่วนภายใน เช่น ความคิด สติปัญญา

สนอบต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ โดยเป็นตัวกำหนด ค่านิยม ที่การอบรมเลี้ยงดู สภาพแวดล้อม

ลกั ษณะการปรบั ตวั ของบุคคลทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ สังคม วัฒนธรรม การเรียนรู้ กรรมพันธุ์ เป็นสิ่ง

เฉพาะตวั ซ่งึ แตกต่างกันไปในแตล่ ะบคุ คล ท่ีไม่ ตายตัว เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา

29. ค ว า ม ฉ ล า ด ท า ง อ า ร ม ณ์ (Emotional เป็นความสามารถของบุคคลในการรับรู้และ

Intelligence) หมายถึง ความสามารถของ เข้าใจ ควบคุมพฤติกรรมการแสดงออกทางกาย

บุคคลในการมีความเข้าใจ สามารถแสดง วาจาและความรู้สึก แสดงออกทางพฤตกิ รรมได้

อารมณ์ออกมาได้อย่างมีปญั ญาและมีไหวพริบ เหมาะสม พร้อมทั้งสร้างความสัมพันธ์อันดี

ตลอดทั้งคว บคุมอารมณ์ตน เองไ ด ้ ทุก ระหว่างบุคคล ช่วยให้การดำเนินชีวิ ต

สถานการณ์ สร้างสรรค์ เปน็ ท่ียอมรับของบุคคลทัว่ ไป

30. ผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Portfolio) สื่อนำเสนอรูปแบบใหม่ น่าสนใจ นำมา

หมายถึง การเก็บรวบรวมผลงานของตนเอง ผสมผสานกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวกต่อ

หรือ หลักฐาน ที่แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ ความรู้ การใช้งานในการนำเสนอ เผยแพร่ บน

ความสามารถ ความพยายาม ความถนัดของ อินเทอร์เน็ต ผู้ชมสามารถชมได้ทุกช่วงเวลา มี

บุคคล ในรูปแบบไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ประสิทธิภาพในการเผยแพร่ผลงานและมีพื้นที่

หรือ แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ในขอ้ มลู มากมายปลอดภัย ประหยัดค่าใชจ้ า่ ย

31. Startup Take and Go หมายถึง ธุรกิจที่ถูก การสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ขับเคลื่อน

ขับเคลื่อนและท้าท้าย โดยคนรุ่นใหม่ และมี เศรษฐกิจสู่ Thailand 4.0 ให้ประชาชนได้

ความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ มีทรัพยากรท่ี ตระหนักความสำคัญเทคโนโ ลยีดิ จิ ทัล

จำกัดอย่างมาก แต่มีเทคโนโลยีและการตลาด เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมไทย

ที่เกีย่ วข้องแบบไดนามิก ต่อยอดอุตสาหกรรมเดิม ต่อยอดอุตสาหกรรม

ใหม่ หรือที่เรียกว่า New S-Curve)

32. การสรา้ งผปู้ ระกอบการใหม่ (New มมี ุง่ มัน่ ในความสำเรจ็ ทำงานเชิงรกุ มจี ริยธรรม

Entrepreneurs Creation) หมายถงึ ในการดำเนินงาน เผชิญหน้ากับความเสี่ยง

ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้านศักยภาพ การ เรียนรตู้ อ่ เน่อื ง การสร้างความไดเ้ ปรียบทางการ

ดำเนินธุรกิจ ยอมรับในคุณค่าผู้อื่น ด้านการมี แข่งขัน มีทฤษฎีเหตุผลสำคัญที่ผู้ประกอบการ

ปฏิสัมพันธ์สื่อสารระหว่างสังคมที่ส่งผลต่อ เข้าใจและดำเนินการอย่างถูกวิธี เพื่อใช้สร้าง

ความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจ ความได้เปรียบทางการแข่งขันในอนาคต

10

ใบนำเสนองาน สมรรถนะท่ี 1
การดำรงตนของรองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาอาชวี ศึกษา ยุคชีวิตวิถอี นาคต (Next Normal)
วทิ ยากรณพ์ ่เี ล้ยี ง วา่ ที่ ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชอื่ -สกุล นายยุทธพงษ์ จำปาแกว้ กลุ่มที่ 18 เลขที่ 8

องค์ความรู้ทไี่ ด้จากการศกึ ษาค้นคว้าเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาตนเองและการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ดังนี้
สมรรถนะย่อย 1.1 การเป็นรองผู้อำนวยการสถานศึกษาที่มีจิตวิญญาณ มีอุดมการณ์ รู้บทบาทหน้าที่ มี
วสิ ยั ทศั น์ มุง่ มั่นในการพัฒนา สถานศกึ ษา มกี รอบความคิดแบบเปิดกว้าง (Growth Mindset) ในการบริหาร
เชิงสร้างสรรค์ สอดคล้องกับชีวิตวถิ อี นาคต (Next Normal)

1.1.1 การพฒั นากรอบความคดิ แบบ ๔.๐ สำหรับองค์กรแหง่ การเรียน รศ.ดร.จฑุ าพรรธ์ ผดงุ ชวี ิต
การมองโลกแง่ดี กระตือรือล้น คิดต้ังคำถาม พัฒนาองค์กร รู้คุณค่าของตนเองและสิ่งจำเป็นในชีวติ
การรู้จักรับฟงั จากหัวใจของผู้อืน่ การช่วยเหลือผอู้ นื่ เป็นงานเร่งดว่ นทต่ี ้องกระทำ น่นั คอื ทศั นคติเชิงบวก
1.1.2 การพัฒนากรอบความคิด(Mindset) สู่ความสำเร็จ พีรศุษย์ บุญมาธรรม ปราโมทย์ ตงฉิน
และสกุ ญั ชลกิ า บุญมาธรรม
กรอบแนวคดิ เป็นการมองส่งิ ตา่ งๆ ดว้ ยวธิ ีคิดใหมเ่ มื่อใชห้ ลักการกรอบแนวคิดพัฒนา นัน่ หมายถงึ
การเปล่ียนแปลงกรอบการตดั สนิ และถกู ตัดสิน เป็นกรอบแหง่ การเรียนรแู้ ละช่วยให้เรยี นรู้
1.1.3 การสรา้ งความคดิ แบบเปดิ กว้าง (Growth Mindset) ปกรณ์ วงศร์ ัตนพบิ ูลย์
Growth Mindset คอื การสรา้ งความสำเร็จใหม่ ๆ การคิดวา่ “ทำอะไรได้อีกบา้ ง” ความท้าทายกับ
ผลลัพธ์ การสรา้ งนัตกรรมใหม่ ๆ การขยายขอบเขตความสามารถและการให้ความสำคัญกบั เปา้ หมาย
1.1.4 The Next Normal ส่งเทรนด์ “ความปกตถิ ดั ไป” หลงั โควิด ๑๙ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมในการใช้ชีวิต หลังการแพร่ระบาดของโควิด 19 บังคับให้พฤตกิ รรม
คนเราตอ้ งเปลย่ี นแปลง ต้องอยตู่ ิดบา้ นมากขน้ึ ทำให้บ้านกลายเปน็ ออฟฟศิ ห้องประชมุ ฟติ เนส
1.1.5 ทศิ ทางเศรษฐกิจ ตามวิถี Next Normal
การดำเนินชีวิตของคนในสังคมโลกหลังวิกฤต บรรทัดฐานจะต่างไปจากวิถีความปกติใหม่มากน้อย
เพียงใด การคาดการณ์ก้าวต่อไปของวิถีิความปกติใหม่ หรือ Next Normal จะสะท้อนถึง สถานการณ์ทาง
เศรษฐกิจและสังคมท่ีเปล่ียนไป มผี ลต่อการประกอบธุรกจิ ของผูป้ ระกอบการและโอกาสทางธรุ กจิ ที่
สมรรถนะย่อย 1.2 แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความเป็นผู้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
วิชาชีพในการปฏิบัติงานหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา การปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงานและ
ผ้เู ก่ยี วขอ้ ง นำไปสู่การทำงานรว่ มกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธิผล
1.2.1 พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗

บุคลากรทางการศกึ ษา หมายความว่า ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผู้บริหารการศกึ ษา รวมทัง้ ผสู้ นับสนนุ
การศกึ ษา ซ่งึ เปน็ ผทู้ ำหน้าทใ่ี หบ้ รกิ ารหรือปฏิบัติงานเกยี่ วเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนเิ ทศ
การบรหิ ารการศกึ ษาและปฏิบตั ิงานอน่ื ในหนว่ ยงานการศึกษา

1.2.2 พระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และแกไ้ ข
เพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ.๒๕๖๒

มาตรา ๑๐๒ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดซ่งึ ออกจากราชการอนั มิใช่เพราะเหตุตาย
มกี รณีถกู กล่าวหาเป็นหนงั สอื ก่อนออกจากราชการว่า ขณะรบั ราชการได้กระทำหรือละเว้นกระทำการใด อัน
เปน็ ความผดิ วนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรง

1.2.3 พระราชบญั ญัติขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐

11

ข้อมูลข่าวสารของราชการ หมายความว่า ขอ้ มูลข่าวสารที่อยูใ่ นความครอบครองหรอื ควบคุมดแู ลของ
หนว่ ยงานของรฐั ไม่ว่าจะเปน็ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรฐั หรอื ข้อมลู ขา่ วสารเก่ียวกับเอกชน

1.2.4 พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทำผิดเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐
แก้ไขเพิ่มเติมอัตราโทษปรับหรือจำคุกฐานส่งข้อมูล ก่อให้เกิดความเดอื ดร้อนรำคาญแกผ่ ู้รับหรือนำ
ข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ บิดเบือน ลามก ตัดต่อภาพผู้อื่น ให้เสียชื่อเสียง อับอาย รวมถึง
มาตรการบรรเทาความเสียหายทเ่ี กิดขนึ้ จากการกระทำความผดิ มผี ลบังคับใชเ้ มอ่ื วันที่ 24 พฤษภาคม 2560
1.2.5 พระราชบญั ญตั มิ าตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัตอิ ย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่ง
จะต้องประกอบด้วย ๑) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดีและ
รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ ๓) กล้าตดั สินใจและกระทำในสง่ิ ทีถ่ ูกตอ้ งชอบธรรม ๔) คิดถึงประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตัวและมีจิตสาธารณะ ๕) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๖) ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือก
ปฏิบตั ิ ๗) ดำรงตนเปน็ แบบอย่างทด่ี แี ละรกั ษาภาพลกั ษณ์ของทางราชการ
1.2.6 พระราชบัญญตั ิวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๓ วิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครองตามกฎหมายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามท่ีกำหนดในพระราชบัญญัติ
นี้เว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไว้โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑ์ท่ี
ประกันความเป็นธรรมหรือมมี าตรฐานในการปฏิบตั ิราชการไม่ต่ำกว่าหลักเกณฑ์ท่ีกำหนดในพระราชบัญญตั ิน้ี
1.2.7 ประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร ๖ แหง่ มาตรฐานทาง
จริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
ประพฤตปิ ฏิบัตติ น ดงั น้ี ๑) ยดึ ม่นั ในสถาบันหลกั ของประเทศ อนั ได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ๒) ซื่อสัตย์สุจรติ มีจิตสำนึกที่ดี มี
ความรบั ผิดชอบต่อหน้าท่ีและต่อผู้เกยี่ วข้องในฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) กล้าคิด กล้า
ตดั สินใจ กลา้ แสดงออกและกระทำในสง่ิ ที่ถูกตอ้ งชอบธรรม 4) มจี ติ อาสา จติ สาธารณะ มงุ่ ประโยชน์ส่วนรวม
มากกว่าประโยชน์ส่วนตัวหรือพวกพ้อง ๕) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน มุ่งมั่นในการปฏิบัติงานอย่างเต็มกำลัง
ความสามารถที่สะท้อนถึงคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการศกึ ษา ๖) ปฏิบัติหนา้ ทีอ่ ย่างเป็นธรรมและไม่เลือก
ปฏิบัติ ๗) ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 8)
เคารพในศกั ดิศ์ รคี วามเป็นมนุษย์ คำนึงถงึ สิทธเิ ด็กและยอมรบั ความแตกตา่ งของบคุ คล
1.2.8 ขอ้ บงั คบั คุรุสภาว่าด้วย จรรยาบรรณวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๖
จรรยาบรรณของวชิ าชีพ หมายความวา่ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตนที่กำหนดข้นึ เปน็ แบบแผนในการประพฤติตน
เพอ่ื รกั ษาและส่งเสรมิ เกียรติคุณชื่อเสยี ง และฐานะของผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาให้เปน็ ท่ีเชื่อถือศรัทธา
แกผ่ รู้ ับบรกิ ารและสังคม อันจะนาํ มาซ่งึ เกยี รตแิ ละศักดิ์ศรีแห่งวชิ าชพี
1.2.9 กฎ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยอำนาจการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือน พ.ศ. ๒๕๖๑
ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ามีอำนาจสั่งลงโทษ
ผูก้ ระทำผิดวนิ ัยไม่ร้ายแรงได้ ดงั ต่อไปน้ี ๑) ภาคทณั ฑ์ ๒) ตัดเงนิ เดอื นไดค้ ร้ังหนึง่ ในอตั รารอ้ ยละสองหรือร้อย
ละสี่ของเงินเดือนที่ผู้นั้นได้รับในวันท่ี มีคำสั่งลงโทษเป็นเวลาหนึ่งเดือน สองเดือน หรือสามเดือน ๓) ลด
เงินเดือนได้ครั้งหน่งึ ในอตั รารอ้ ยละสองหรือร้อยละส่ีของเงนิ เดือนที่ผูน้ ั้นไดร้ ับในวันท่ี มคี ำสั่งลงโทษ
1.2.10 ระเบยี บ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยการรายงานเกยี่ วกบั การดำเนนิ การทางวินยั และการออกจาก
ราชการของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

12

ขอ้ 10 การรายงานการสั่งใหอ้ อกจากราชการของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เมือ่ ผมู้ ี
อำนาจตามมาตรา 53 ได้สัง่ ให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดออกจากราชการ ตามมาตรา 49
มาตรา 56 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคหา้ มาตรา 110 (1) (3) และ (6) มาตรา 113 หรอื มาตรา 118
แล้ว ใหร้ ายงานไปยงั กศจ. เพือ่ ทราบ

1.2.11 ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยพนกั งานราชการ พ.ศ.๒๕๔๗
พนักงานราชการ หมายความวา บุคคลซึ่งได้รับการจางตามสัญญาจ้างโดยได้รับคาตอบแทนจาก
งบประมาณของสวนราชการ เพื่อเปน็ พนักงานของรฐั ในการปฏบิ ตั ิงานใหกับสวนราชการนัน้
1.2.12 ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๑๑ ให้กรมการศาสนาทำหน้าที่เป็นสำนกั งานเลขานุการของคณะกรรมการ โดยมีอำนาจหน้าท่ี
ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) จดั ทำแผนแมบ่ ทการส่งเสรมิ คุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทย ๒) สง่ เสริมจัดทำและประสาน
แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ๓) สนับสนุนการฝึกอบรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม ๔)
ประสานติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ๕) ปฏิบตั งิ านอนื่ ตามทค่ี ณะกรรมการมอบหมาย
1.2.13 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ย ลกู จ้างประจำของสว่ นราชการ พ.ศ. ๒๕๓๗
ข้อ 7 คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งของลูกจ้างประจำให้เป็นไปตามท่ี กระทรวงการคลังกำหนด
ในกรณที ม่ี เี หตุผลและความจําเป็นเพ่ือประโยชนแ์ กร่ าชการ
1.2.14 พระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทำผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
มาตรา ๙ ผู้ใดทำใหเสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่วาทั้งหมดหรือบางสวน ซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ จําคุกไม่เกินห้าป หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ
ชะลอ ขัดขวางหรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ จําคุก ไม่เกินห้าป หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
หรือทงั้ จำทัง้ ปรบั
สมรรถนะยอ่ ย 1.3 เป็นรองผู้อำนวยการสถานศึกษาท่ีปฏิบตั ิตน ปฏิบตั งิ านได้ สอดคล้องกบั ชีวติ วิถี อนาคต
(Next Normal) ดำรงตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี และเป็นผูน้ ำด้านความมวี นิ ัย การรักษาวนิ ัย ยดึ หลกั คุณธรรม
จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี อยา่ งราบรื่นและมีความสขุ
1.3.1 การพฒั นาภาวะผู้นำ ๓๖๐ องศา
ผู้นำ 360 องศา (The 360 Degree Leader) หมายถึง บุคลากรภายในองค์กร มีความปรารถนา
พฒั นาศักยภาพตนเองให้ดขี ึน้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (potential) ไปสู่พฤติกรรมทีด่ ี รว่ มสร้างผลการปฏิบัติงานร่วมกัน
(Team Performance)
1.3.2 หลักการทรงงาน คณุ ธรรมตาม พระราชดำรสั รัชกาลท่ี ๙ และพระบรมราโชบายของ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๑๐
พระราชดำรสั รัชกาลที่ ๙ ดงั น้ี 1) ศกึ ษาขอ้ มลู เปน็ ระบบ 2) ระเบดิ จากภายใน 3) แก้ปัญหาจากจุด
เลก็ 4) ทำตามลำดบั ข้นั ตอน 5) ภูมิสงั คม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ 6) ทำงานแบบองค์รวม 7) ไม่ติดตำรา 8)
รู้จักประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด 9) ทำให้ง่าย 10) การมีส่วนร่วม 11) ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม
12) บรกิ ารท่จี ุดเดียว 13) ใช้ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ 14) ใช้อธรรมปราบอธรรม 15) ปลูกปา่ ในใจคน 16)
ขาดทุนคือกำไร 17) การพึ่งพาตนเอง 18) พออยู่พอกิน 19) เศรษฐกิจพอเพียง 20) ความซื่อสัตย์สุจริต
จริงใจต่อกัน 21) ทำงานอย่างมีความสุข 22) ความเพียร 23) รู้รักสามัคคี และพระบรมราโชบายของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ การศึกษาต้องม่งุ สร้างพน้ื ฐานใหแ้ ก่ผู้เรยี น ๔ ด้าน ๑) มีทัศนคติที่
ถกู ตอ้ งต่อบ้านเมอื ง ๒) มีพ้ืนฐานชวี ิตที่ม่ันคง มีคณุ ธรรม ๓) มีงานทำ มอี าชพี ๔) เปน็ พลเมืองท่ีดี

13

ใบนำเสนองาน สมรรถนะที่ 2
ภาวะผนู้ ำทางวชิ าการและวิชาชพี อาชวี ศกึ ษา
วิทยากรณ์พ่เี ลยี้ ง วา่ ท่ี ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชือ่ -สกลุ นายยทุ ธพงษ์ จำปาแก้ว กลมุ่ ท่ี 18 เลขท่ี 8
องคค์ วามรทู้ ี่ได้จากการศึกษาคน้ คว้าเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาตนเองและการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ดงั น้ี
สมรรถนะย่อย 2.1 สามารถเป็นผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) สอดคล้องกับ
การบริหารและจัดการอาชีวศึกษาในสภาวะปกติใหม่ (New Normal) สู่ยุคชีวิต วิถีอนาคต (Next Normal)
เป็นนัก คิด นักประสานงาน นักพัฒนาที่ทันโลก ทันเทคโนโลยีใหม่ มีกลยุทธ์และเทคนิค วิธีการในการสร้าง
กระบวนการบริหาร การเปลี่ยนแปลง และสามารถ ขับเคลื่อนภารกิจให้ เป็นองค์กรการเปลี่ยนแปลงที่มี
คณุ ภาพ
2.1.1 ค่มู ือการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง เพื่อเสรมิ สรา้ งความเปน็ เลิศในการปฏบิ ัตริ าชการของ
หน่วยงานภาครัฐ
บคุ ลากรภาครฐั ในอนาคตเป็นผู้ทีม่ องภาพใหญแ่ ละเข้าใจภารกิจขององค์กร โดยเข้าใจบรบิ ทแวดล้อม
ทม่ี ผี ลตอ่ ภารกจิ งานขององค์กรภาครฐั และบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง (Big Picture Thinker) เปน็ นวตั กรท่ีเน้น
สร้างผลสัมฤทธิ์ ที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อส่วนรวมและประชาชน (Resultoriented Innovator) ยึดมั่นใน
มาตรฐานจริยธรรม และการทำงานเพ่ือประโยชนส์ ่วนรวม (Person of Integrity) และใหค้ วามสำคัญกับการ
ทำงานบูรณาการ และสร้างพันธมิตรกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียและ ประชาชนผู้รับบริการ (Professional
Collaborator) สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรภาครัฐเกดิ การเรยี นรูแ้ ละพฒั นาอย่างตอ่ เน่ืองและสามารถแสดงพฤติกรรม
ที่คาดหวัง ออกมาได้อย่างมีประสิทธิผล และสามารถดึงดูดและรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีศักยภาพในการ
ขับเคล่ือน การเปลีย่ นแปลง ตระหนักถึงมิตพิ ฤตกิ รรมทางด้านจริยธรรม ท่อี าจเปลีย่ นรปู ไปตามบรบิ ทของการ
เปลี่ยนแปลงและความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล
2.1.1.1 การสง่ เสรมิ การเรียนรู้และพัฒนาบุคลากรให้มีกรอบความคิด (Mindsets) และทักษะ
(Skillsets) ที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน ที่สอดรับกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงของโลกและบริบทประเทศ ใน
ปัจจุบนั และอนาคต เพือ่ ใหห้ นว่ ยงานสามารถร่วมกนั สร้างระบบนิเวศในการทำงาน (Ecosystem) ที่เหมาะสม
ในการส่งเสริมให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ มีประสิทธภิ าพในการทำงาน สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงและความ
คาดหวังของผู้รับบริการและประชาชน โดยมีเป้าหมายสุดท้ายคือหน่วยงานและบุคลากรภาครัฐได้รับความ
เชือ่ ถือไว้วางใจจากประชาชนในฐานะ ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ภาครัฐที่
ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยมี ขี นาดเล็กและโปร่งใสและสร้างผลผลิตและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศและ
ยกระดับชวี ติ ของประชาชน
2.1.1.2 การเข้าใจบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อภารกิจงานขององค์กรภาครัฐ และมีบทบาทหน้าท่ี
ของตนเอง (Big Picture Thinker) นั้นเป็นนวัตกรที่เน้นสร้างผลสัมฤทธิ์ ที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อส่วนรวม
และประชาชน (Resultoriented Innovator) ยึดมั่นในมาตรฐานจริยธรรม และการทำงานเพื่อประโยชน์
สว่ นรวม (Person of Integrity) และ ให้ความสำคญั กับการทำงานบรู ณาการ และสรา้ งพันธมิตรกับผู้ท่ีมีส่วน
ได้ส่วนเสีย และประชาชนผู้รับบริการ (Professional Collaborator) ตอบสนองการผสมผสานระหว่างการ
ทำงานและ การใช้ชีวิต ภายใต้บริบทความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑ และการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยี โดยกำหนดกรอบความคิดและกรอบทักษะที่ผสมผสาน ทักษะในการทำงานและการใช้ชีวิต
ทกั ษะดา้ นการเรยี นรู้ และสร้างนวตั กรรม และทกั ษะด้านขอ้ มลู สอ่ื และเทคโนโลยดี ิจิทัล เพอื่ เปน็ เคร่ืองมือให้
บุคลากรภาครัฐได้เรียนรู้ และพัฒนาตนเอง เป็นเครื่องมือให้หน่วยงานใช้ในการกำหนดแนวทางส่งเสริมให้

14

บุคลากรภาครัฐ เกิดการเรียนรู้และพัฒนาที่มีประสิทธิภาพต่อการสร้างประสบการณ์ที่ดีต่อการทำงานใน
หน่วยงานราชการ (Employee Experience) โดยคำนึงถึงตัวบุคลากรเป็นศูนย์กลาง มีการออกแบบการ
เรียนรู้ และพัฒนาที่คำนึงถึงความต้องการและความจำเป็นของแต่ละบุคคล ภายใต้กรอบการปฏิรูปภาครัฐ
และการพฒั นาระบบราชการ เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตรข์ องหน่วยงาน และอาศัยเทคโนโลยีดจิ ิทัลเป็นเคร่ืองมือ
ในการยกระดับขีดความสามารถของบคุ ลากรภาครฐั สอดคลอ้ ง ภารกิจหลักของภาครัฐมี ๔ ดา้ น ประกอบดว้ ย
๑) ภารกิจดา้ นการพฒั นานโยบาย ๒) ภารกิจด้านการให้บริการและการสร้างการมีสว่ นร่วมของประชาชน ๓)
ภารกิจด้านการบริหารสัญญาจ้าง และ ๔) ภารกิจในการบริหารเครือข่ายภายใต้แรงกดดันที่ต้องตอบสนอง
ความตอ้ งการของประชาชน และบรบิ ทความท้าทายและการเปล่ียนแปลง

2.1.1.3 การพฒั นาทกั ษะท่ีสง่ เสริมใหบ้ ุคลากรสามารถปฏิบัตงิ านภารกจิ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ (Professional Skills) ทักษะเชิงกลยุทธ์ (Strategic Skills) และทักษะเชิงนวัตกรรม
(Innovative Skills) และบุคลากรภาครัฐต้องมีทักษะที่จำเป็น ๓ กลุ่มทักษะ ประกอบด้วย ๑) ทักษะเชิง
ยุทธศาสตร์ (Strategic Skillset) ซึ่งเปน็ ทักษะทสี่ ำคัญ ในการตอบสนองต่อบรบิ ททเ่ี ปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว
ทั้งในมิติของการทำงานและการใช้ชีวิต รวมทั้งนำไปสู่การสร้างการนวตั กรรมและการเปลีย่ นในภาครัฐได้ ๒)
ทักษะด้านภาวะผู้นำ (Leadership Skillset) ซึ่งเป็นทักษะที่ ช่วยให้บุคลากรสามารถบริหารจัดการงานของ
ตนเองไดต้ ามบทบาทหน้าที่ รวมทงั้ เตรยี มความพรอ้ มตนเองในการ เติบโตตามเส้นทางอาชพี และ ๓) ทักษะ
ตามสายงาน (Functional Skillset) ซึง่ เป็นทกั ษะท่ีช่วยให้บุคลากรภาครัฐ สามารถทำงานของตนเองได้อย่าง
มืออาชีพตามบริบทของงานที่มีความเฉพาะและมีความแตกต่างกันไปตามสายงานที่บุคลากรและหน่วยงาน
ภาครฐั จะสามารถนำไปประยุกตใ์ ชร้ ่วมกนั ได้ ๒ กลุม่ ทกั ษะ คอื ๑) ทักษะเชงิ ยุทธศาสตร์ (Strategic Skillset)
จำนวน ๔ ทักษะ และ ๒) ทักษะดา้ นภาวะผนู้ ำ (Leadership Skillset) จำนวน ๖ ทักษะ เพื่อมองเห็นโอกาส
และเรียนรู้จากวิกฤตและข้อผิดพลาดที่เกิดขึน้ รับผิดชอบและบริหารการเรยี นรู้และพฒั นาของตนเอง (Self-
driven Learning) กล้าเผชิญและแก้ปัญหาและอุปสรรค เปิดกว้างและพร้อมรบั การเปลี่ยนแปลง รับผิดชอบ
ผลลัพธ์ พร้อมรับการตรวจสอบ ให้โอกาสในการเรียนรู้แก่ผู้อืน่ นำความรู้ประยุกต์ร่วมทำงานบนหลักสากล
หรือแนวปฏิบัติที่เป็นสากล เช่น หลักการพัฒนา อย่างยั่งยืน (Sustainable Development) หลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) หรือหลักสากลอื่น ๆ และทำงานภายใต้ความหลากหลายของ
วัฒนธรรม และความแตกต่างของบุคคลได้ เชน่ ทักษะเชงิ ยุทธศาสตร์ (Strategic Skillset) จำนวน ๔ ทักษะ
และ ๒) ทักษะด้านภาวะผู้นำ (Leadership Skillset) จำนวน ๖ ทักษะ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร
ในตัวขับเคลือ่ นการเรยี นรู้ พัฒนาบุคลากรมีความสอดรับกบั บริบท (Relevant) ไม่ซับซ้อน (Simple) และไม่
ซ้ำซ้อน (Focused)

2.1.1.4 ทักษะที่ขับเคลอื่ นสร้างผลลัพธ์เชงิ นวตั กรรมท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อองคก์ ร
ทักษะเชิงยทุ ธศาสตร(์ Strategic Skillset) จำนวน ๔ ทกั ษะ ได้แก่ ๑) ทักษะดจิ ทิ ลั (Digital Skill) ๒)
ทักษะการสื่อสารโน้มน้าว (Communicating and Influencing) ๓) ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบและ
สร้างสรรค์ (Systematic and Creative Thinking Skill) และ ๔) ทักษะการคิดวิเคราะห์และวิพากษ์
(Analytical and Critical Thinking Skill)
ทักษะด้านภาวะผู้นำ (Leadership Skillset) จำนวน ๖ ทักษะ ได้แก่ ๑) การยึดมั่นในมาตรฐาน
จริยธรรมและความเป็นมืออาชีพ (Demonstrating Integrity) ๒) การกำหนดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์
(Developing Vision and Strategy) ๓) การพัฒนาตนเองและผู้อื่น และสร้างการมีส่วนร่วมในองค์กร
(Developing and Engaging Others) ๔) การสรา้ งและส่งเสริมให้เกดิ การทำงานบูรณาการ และความรว่ มมือ
อย่างเต็มที่ (Facilitating Hypercollaboration) ๕) การผลักดันให้เกิดนวัตกรรม และการเปลี่ยนแปลง

15

(Driving Innovation and Change) ๖) การผลักดันให้เกิดการปฏิบัติและผลสัมฤทธ์ิ (Driving Execution
and Results) มุ่งเน้นทักษะในปริมาณที่มีความเหมาะสม สำคัญกับบทบาท การทำงานของแต่ละคน ซึ่ง
บุคลากรทุกคนทุกระดับมีหน้าทีต่ ้องประเมินตนเองร่วมกับผู้บังคับบญั ชา ระบุทักษะต้องพฒั นาตนเอง อย่าง
สม่ำเสมอ นอกจากนี้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ให้คำแนะนำ ให้ข้อมูลป้อนกลับและให้ทรัพยากรต่าง ๆ ในการ
สนบั สนนุ การพัฒนาของผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชา

2.1.2 การรดู้ ิจิทลั (Digital Literacy)
การเรียนรูด้ ิจิทัลจึงจำเป็นต่อการปฏบิ ัติงาน และเป็นกลไกที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการขับเคลือ่ น
ประเทศ ตามโมเดลการพัฒนาประเทศที่ต้องการเน้นการพัฒนากำลังคนให้เป็นผู้รู้ดิจิทัล (Digital literacy)
ตลอดจนการปลูกฝังให้มีทกั ษะการรดู้ ิจิทัลแกผ่ ู้ทป่ี ฏิบัตงิ านในทกุ องค์กร ซึ่งทกั ษะการรูด้ ิจิทลั คอื ทักษะความ
เข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และ
เทคโนโลยีดิจิทลั ที่มอี ยู่ในปัจจุบนั ซ่ึงประกอบดว้ ย คอมพิวเตอร์ โทรศพั ทม์ อื ถือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ
สื่อออนไลน์ต่าง ๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสื่อสาร การทำงาน และการปฏิบัติงานร่วมกัน เพ่ือ
สามารถพัฒนากระบวนการในการทำงานหรือระบบงานในองค์กรให้มีความ ทันสมัยและเกิดประสิทธิภาพ
อย่างสูงสุด ซึ่งทักษะจะสามารถครอบคลุมความสามารถได้ 4 มิติ อาทิเช่น การใช้ (Use) การเข้าใจ
(Understand) การสรา้ ง (Create) และการเขา้ ถงึ (Access) เทคโนโลยีดิจทิ ัลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

2.1.2.1 การร้ดู ิจทิ ัลในระดบั บคุ คล ประกอบดว้ ย องค์ประกอบทีส่ ำคัญ คือ การมีทักษะที่หลาย
หลาย รวมถึงกระบวนการคิดและเทคนิคที่จำเป็นต้องใช้ในการค้นหา การทำความเข้าใจ การประเมิน การ
สร้างและการสือ่ สารสารสนเทศดิจิทัล ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายและมีประสทิ ธิภาพ มี
ความเข้าใจในเทคโนโลยีและมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ความสามารถในการใช้ทักษะในการสื่อสารและการ
เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี และสามารถใช้ทักษะการรู้ดิจิทัลในการเข้ารว่ มกิจกรรมกบั ประชาคมโลก

2.1.2.2 การรู้และเข้าใจดิจิทัล ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ การรับรู้สารสนเทศและการ
ประมวลผลสารสนเทศ มีความปลอดภัยในการทำงานกับสารสนเทศดิจิทัล และมีความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงาน (Digital literacy in the workplace) ได้แก่ ทักษะการปฏิบัติงาน การค้นหาและจัดเก็บข้อมูล
สารสนเทศ การคดิ วเิ คราะห์และการประเมินผลสารสนเทศ ความปลอดภยั ในการทำงานกับ สารสนเทศดิจิทัล
ความตระหนักในวฒั นธรรมและสังคม การมีส่วนร่วม การสื่อสารกับผู้ร่วมงานและการมีความคิดสร้างสรรค์
ผู้ใช้สามารถการสร้างสรรค์งาน เช่น การออกแบบปรับปรุงและประยุกต์ใช้ การสร้างสรรค์ผลงานและการมี
จริยธรรมในการใช้งาน ที่มีกระบวนการพัฒนาบุคลากรหรือองคก์ รให้เตม็ ตามศกั ยภาพและทม่ี ่งุ สรา้ งนวัตกรรม
เปิดโลกทัศน์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและเปน็ ผูส้ ร้างผลผลิตขึน้ มา โดยรู้จักคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ คิด
สร้างสรรค์ ผลิตภาพ และมีความรบั ผิดชอบ สร้างผลงานได้ และมี ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม

2.1.2.3 การเข้าถึงเทคโนโลยีดจิ ิทลั และการสร้างเครือข่าย ประกอบดว้ ย 3 องค์ประกอบ คือ
การใชป้ ระโยชน์ในงาน การสือ่ สารทางดิจทิ ัลและการสร้างเครอื ขา่ ยดิจทิ ัล เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ องคป์ ระกอบ
การรู้ดิจทิ ัล คือ ความรู้ ความเขา้ ใจในการใช้เครอ่ื งมือทางเทคนคิ มคี วามรู้ความพื้นฐานในการใชใ้ ช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและเครอื ข่ายสารสนเทศ มที ักษะความคิด การออกแบบสบื ค้นและวางแผนการนำเสนอข้อมูล การ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงวิพากษ์ มีทักษะประยุกต์สื่อทีเ่ ก่ียวข้องในการนำเสนอผลงาน มีวุฒิภาวะทางดา้ นอารมณ์
และมีตรรกะความคิดที่ถูกต้อง มีเหตุผล สามารถให้ความสำคัญกับเนื้อหาที่ได้รับหรือนำเสนอ สามารถ
ประยุกตท์ ักษะการแกป้ ัญหาการสอ่ื สาร รว่ มมือกบั ผอู้ ื่น รวมถึงมกี ารตระหนกั ในด้านจริยธรรม และมมี ารยาท
บนอนิ เทอรเ์ น็ตและความรบั ผิดชอบ และกา้ วสรู่ ะดับสากลอย่างต่อเน่อื ง สง่ เสริมและพฒั นาทักษะบุคลากรให้
มีความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy and Skills) และองค์กรมภี าพลักษณ์ทด่ี ี

16

ใบนำเสนองาน สมรรถนะที่ 3
การบรหิ ารและการจดั การในสถานศึกษา
วทิ ยากรณ์พี่เล้ียง วา่ ท่ี ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชือ่ -สกุล นายยทุ ธพงษ์ จำปาแกว้ กลมุ่ ท่ี 18 เลขท่ี 8
องค์ความรูท้ ี่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่อื พัฒนาตนเองและการนำไปประยุกต์ใช้ ดงั น้ี
สมรรถนะย่อย 3.1 สามารถคิดวิเคราะหภ์ ารกจิ ในสถานศกึ ษา บทบาทหนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบในการจัดการ
บริหารสถานศึกษา รวมทั้งการนิเทศ การประสานงาน การกำกับติดตาม รวมถึงการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพอาชีวศกึ ษา เพ่อื การบริหารจดั การสถานศึกษาส่คู วามเป็นเลศิ
3.1.1 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาว่าดว้ ยการบรหิ ารสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒
มี 5 หมวด ได้แก่ หมวด 1 หน้าที่และการบริหารงานของสถานศึกษา หมวด 2 หน้าที่ของงานและ
แผนก หมวด 3 บุคลากรในสถานศึกษาและการบริหารงาน หมวด 4 คณะกรรมการในสถานศึกษา
หมวด 5 บทเฉพาะกาล
3.1.2 นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ
การทำงานรูปแบบ “TRUST” คือ การพัฒนาต่อยอดจากรูปแบบการทำงาน “MOE ONE
TEAM” หรือ “การทำงานร่วมกันเป็นหนึ่งเดียวของกระทรวงศึกษาธิการ” เป็นส่วนเสริมสนับสนุนให้
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านทุกคนดำเนนิ การตามภารกจิ ของตน
3.1.3 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
การผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาสู่สากล พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๙ ๑) ด้านการเพ่ิมปริมาณผู้เรยี น
สายอาชีพ ๒) ด้านการขยายโอกาสในการเรยี นอาชีวศึกษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี ๓) ยกระดับคุณภาพการ
จดั อาชีวศึกษา ๔) ด้านการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การ
3.1.4 มาตรฐานตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาตาม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ และมาตรฐาน
ตำแหนง่ และมาตรฐานวทิ ยฐานะของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาสายงานบริหารสถานศึกษา
ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการสถานศึกษาในการช่วยบริหารกิจการของ
สถานศกึ ษา และงานอ่นื ทเี่ ก่ยี วข้อง
3.1.5 ขอ้ บังคับครุ ุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกอบด้วย หมวด ๑ จรรยาบรรณต่อตนเอง หมวด ๒ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ หมวด ๓
จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ับบรกิ าร
3.1.6 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตาม
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๒
การเรยี นรสู้ ู่การปฏิบตั ิ เพือ่ พัฒนา สมรรถนะกำลังคนระดับฝีมือ
3.1.7 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตาม
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗
ยกระดับการศึกษาวิชาชีพของบุคคลให้สูงขึ้น การเรียนรู้สู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาสมรรถนะกำลังคน
ระดับเทคนคิ
3.1.8 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การจัดการศึกษาและการประเมินผลการศึกษา ระดับ
ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ ารของสถาบนั การอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖
การเรยี นรูส้ ู่การปฏิบัติ เพ่ือพฒั นาสมรรถนะกำลังคนระดับเทคโนโลยี มกี จิ นสิ ยั ท่ีเหมาะสม

17

3.1.9 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาว่าดว้ ย การจัดการศึกษาและการประเมินผล
การเรยี นตามหลักสูตรวชิ าชีพระยะส้นั พ.ศ. ๒๕๕๘

เป็นการศกึ ษานอกระบบ สถานศึกษากำหนดและอนุมัติหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นที่มีสมรรถนะอยา่ ง
นอ้ ยหน่งึ หนว่ ยสมรรถนะและมรี ะยะเวลาในการเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 ชัว่ โมง

3.1.10 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง กรอบคุณวฒุ ิอาชีวศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรหรือปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ
มาตรฐานอาชีพ หรือตามความต้องการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน การพัฒนาการจัดการเรยี น
การสอน การพัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา และเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองหลักสูตรและคุณวุฒิ
การศึกษาของผูส้ ำเรจ็ การศึกษา
3.1.11 ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒
สามารถปฏบิ ัตงิ าน ตามแบบแผน ปรับตวั กบั การเปลย่ี นแปลงท่ีไมซ่ ับซ้อน
3.1.12 ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง พ.ศ. ๒๕๖๒
สามารถปฏบิ ัติงาน ตามแบบแผน และปรบั ตวั ภายใต้ความเปลย่ี นแปลง สามารถแก้ปัญหาท่ีไม่ค้นุ เคย
หรอื ซบั ซอ้ น และเปน็ นามธรรมเป็นบางครั้ง
3.1.13 ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ระดับ
ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ. ๒๕๖๒
ความสามารถ ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สามารถริเริ่ม ปรับปรุง
วางแผนกลยุทธ์ ในการแก้ปญั หาท่ซี บั ซ้อนและเป็นนามธรรมในการปฏบิ ัติงาน รวมทั้งวางแผนการบริหารและ
การจัดการ ในสาขาอาชีพ
3.1.14 ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง กรอบมาตรฐานหลักสูตรวิชาชพี ระยะส้นั พ.ศ. ๒๕๕๑
กำหนดให้มีสมรรถนะสาขาอาชพี ไมน่ ้อยกวา่ หนึ่งหน่วยสมรรถนะจากมาตรฐานอาชพี หรือมาตรฐานสมรรถนะ
ตรงตามความต้องการของสาขาอาชีพ สถานประกอบการ ชุมชน
3.1.15 พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ีแก้ไข
เพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
ยึดหลักการกระจายอำนาจการบริหารงานบุคคลสู่ส่วนราชการที่บริหารและจัดการศึกษาเขตพื้นท่ี
การศึกษาและสถานศึกษาจึงเห็นควรกำหนดให้บคุ ลากรทท่ี ำหน้าทีด่ ้านการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา
สังกัดอยใู่ นองค์กรกลางบรหิ ารงานบคุ คลเดียวกัน
3.1.16 ระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ย พนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และแกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับ
ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
(6) ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกเพราะกระทำความผิดทางอาญา
เว้นแตเ่ ป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษหรอื เปน็ ผพู้ ้นโทษมาแล้วเกินหา้ ปี
3.1.17 มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สายงานการสอน
ช่ือตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ยและครู ชอื่ วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ ครชู ำนาญการพิเศษ ครูเช่ยี วชาญ และครู
เชย่ี วชาญพิเศษ
3.1.18 ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ย ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๓๗

18

ข้อ 7 คุณสมบัตเิ ฉพาะสำหรับตำแหน่งของลูกจ้างประจำใหเป็นไปตามที่กระทรวงการคลงั กำหนด
ในกรณทีมีเหตุผลและความจำเป็นเพือ่ ประโยชนแกราชการ

3.1.19 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเรื่อง การบริหารงานบุคคลลูกจ้างชั่วคราว (ว.๓๑/๒๕๕๒
กระทรวงการคลงั )

การจ้าง ใหจ้ า้ งในอัตราคา่ จ้างไมเ่ กินอัตราค่าจ้างข้ันตำ่ ของตำแหน่งและไม่มีการเล่อื นขัน้ ค่าจ้าง
3.1.20 พระราชบญั ญัติการจดั ซ้ือจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐
การบริหารพัสดุ หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การ
บำรงุ รกั ษา และการจำหน่ายพสั ดุ
3.1.21 พระราชบัญญตั ิวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรา ๖ การจัดทำงบประมาณ การบริหารงบประมาณรายจ่าย การควบคุมงบประมาณ และการ
ประเมินผลและการรายงาน ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีและสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงนิ
การคลังของรัฐ
3.1.22 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บ
รักษา เงนิ และการนำเงนิ ส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
เงินทั้งปวงท่ีหน่วยงานของรฐั จัดเกบ็ หรือไดร้ บั ไว้ เปน็ กรรมสิทธ์ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ หรือ
จากนิติกรรมหรือนิติเหตุและกฎหมายว่าด้วย เงินคงคลัง และกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
บญั ญัติไม่ให้หน่วยงานของรัฐนน้ั นำไปใช้จ่ายหรอื หักไว้เพอื่ การใด ๆ
3.1.23 พระราชบัญญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมิดของเจา้ หน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๖ ถา้ การกระทำละเมิดของเจ้าหน้าทมี่ ิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าท่ี เจ้าหน้าท่ีต้องรับผิด
ใน การนน้ั เปน็ การเฉพาะตวั ในกรณนี ้ผี ูเ้ สยี หายอาจฟอ้ งเจ้าหน้าท่ีไดโ้ ดยตรงแตจ่ ะฟอ้ งหน่วยงานของรัฐไมไ่ ด้
3.1.24 ระเบียบสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาว่าด้วยการส่งเสริมผลิตผลในสถานศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีประสบการณ์การทำธุรกิจทั้งในและนอกสถานศึกษา นำความรู้
และประสบการณ์ตอ่ ยอดไปเปน็ ผปู้ ระกอบการ ซึ่งเปน็ แนวทางในการสร้างอาชีพ สรา้ งรายไดต้ อ่ ไปในอนาคต
3.1.25 ระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ย งานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และท่ีแก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับ
ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ และ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
งานสารบรรณ หมายความวา งานท่เี กีย่ วกบั การบรหิ ารงานเอกสาร เร่มิ ตัง้ แตก่ ารจัดทำ การรับ การ
สง่ การเกบ็ รกั ษา การยืม จนถงึ การทำลาย
3.1.26 พระราชบัญญัติค้มุ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
เดก็ หมายความว่า บุคคลมอี ายุต่ำกวา่ สิบแปดปบี รบิ รู ณ์ แตไ่ ม่รวมถึงผู้ทบ่ี รรลุนติ ิภาวะดว้ ยการสมรส
3.1.27 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วย องค์การนักวชิ าชีพในอนาคตแหง่
ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ (แก้ไขปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) แนวปฏิบัติขององค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) และแก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ. ๒๕๖๐ และแนวปฏบิ ตั ขิ ององคก์ าร
เกษตรกรในอนาคต แห่งประเทศไทยใน พระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร
ข้อ ๒๘ ให้คณะกรรมการบรหิ ารและคณะกรรมการดำเนินงานขององค์การนกั วิชาชีพในอนาคตแห่ง
ประเทศไทยจัดประชุมวิชาการระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับชาติ อย่างน้อยปี
การศึกษาละ ๑ ครั้ง โดยให้มีการประกวด แสดง แข่งขันหรือเสนอผลงานของสมาชิกเกี่ยวกับกิจกรรม
หลกั กิจกรรมอื่น ๆ เพือ่ เปน็ การพฒั นาหรือสง่ เสรมิ ความกา้ วหน้าของสมาชกิ

19

3.1.28 คู่มือการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคน
อาชีวศกึ ษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)

เป็นการพัฒนาสถานศึกษาตามโมเดลการบริหารจัดการศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนา
กำลังคนอาชวี ศกึ ษา (Center of Vocational Manpower Networking Management)

3.1.29 คู่มือการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ
กระทรวงศึกษาธิการ จงั หวัด (Career & Entrepreneurship Center, Ministry of Education : MOE CEC)

เปน็ ศูนยพ์ ัฒนาอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการ สาขาวชิ าทม่ี ีความเปน็ เลิศ ให้กับนักเรยี น นักศึกษา
ประชาชนและกำลังแรงงาน

3.1.30 แนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษาสคู่ วามเปน็ เลิศ (Excellent Center)
การสร้างกระบวน New Skill, Up Skill และ Re Skill พัฒนาสถานศึกษา ต้นแบบเพื่อการขยายผล
การผลติ และพัฒนากำลงั คนอย่างมีกรอบและทิศทางที่เหมาะสม
สมรรถนะย่อย 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์นโยบาย ตามบทบาทหน้าที่ของรองผู้อำนวยการ
สถานศึกษา สร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื กับหนว่ ยงาน ท้งั ในและตา่ งประเทศ เพ่อื นำไปสู่การยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3.2.1 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวฯ รัชกาลท่ี ๑๐
การศึกษาต้องมุ่งสรา้ งพื้นฐานใหแ้ ก่ผูเ้ รียน ๔ ด้าน ๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบา้ นเมือง ๒. มีพื้นฐาน
ชีวติ ทมี่ น่ั คง-มีคณุ ธรรม ๓. มีงานทำ-มอี าชีพ ๔. เปน็ พลเมืองท่ีดี
3.2.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐–๒๕๖๔)
แผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ( Sustainable
Development Goals : SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย ๔.๐ ตลอดจน
ประเด็นการปฏิรูปประเทศ
3.2.3 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙)
เพื่อวางกรอบเป้าหมายและทศิ ทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษา ให้คนไทยทุก
คนสามารถเขา้ ถงึ โอกาสและความเสมอภาคในการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ พฒั นาระบบ การบริหารจดั การศกึ ษาที่มี
ประสิทธิภาพ พัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคลอ้ ง กับความต้องการของตลาดงานและการ
พฒั นาประเทศ
3.2.4 แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ท่ี ๑๒ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)
โดยไดน้ ้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เปน็ กรอบในการดำเนินงาน เพ่ือสร้าง
ผลผลิต ผลลพั ธใ์ หเ้ กดิ กับผเู้ รียนได้อย่างมีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศในชว่ งของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) และยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ซึ่งไดร้ ะบุ
สาระสำคญั เกี่ยวกับวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่สามารถตอบสนอง
ต่อเป้าหมายของการพัฒนาประเทศได้ทั้งมิติความมั่นคง มติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติการบริหารจัดการ
ภาครัฐ ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม
3.2.5 แผนพฒั นาพน้ื ที่ (จังหวัด กลุม่ จังหวัด เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ)
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจของประเทศไทยเพื่อประโยชน์ต่อการส่งเสริม สนับสนุน และอำนวยความ
สะดวก รวมทั้งใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษบางประการในการดำเนินกิจการต่างๆ เช่น การประกอบอุตสาหกรรม การพาณิช
ยกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นใดที่เป็นประโยชน์ แก่เศรษฐกิจของประเทศ เพื่อดึงดูดการลงทุนโดยตรง
จากตา่ งชาตแิ ละยกระดับรายได้ของประชากรใน ประเทศ โดยพฒั นาระบบโครงสร้างพนื้ ฐานและเตรียมความ

20

พร้อมด้านต่าง ๆ เพื่อให้เศรษฐกิจและการค้าใน พื้นที่มีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งยังส่งเสริมการ
ทอ่ งเที่ยวเชงิ วัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาคและสร้างรายได้ ให้กับประชาชนในแต่ละพื้นท่ี

3.2.6 แผนพฒั นาการอาชีวศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙
เพื่อใหหน่วยงานที่เกี่ยวของและสถานศึกษาใชเป็นแนวทางในการพัฒนาและขับเคลื่อนการจัด
การศึกษาอาชีวศึกษาของประเทศ ใหสอดคลองกับเป้าหมายและทิศทางของการพัฒนากําลังคนตาม
ยทุ ธศาสตร์ชาติ การสร้างความสามารถในการแขงขัน การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน
สมรรถนะย่อย 3.3 สามารถจัดระบบงาน การมอบหมายงาน การสอนงาน (Coaching) และการสื่อสาร
องค์กร โดยการพัฒนาและใช้ประโยชน์สูงสุดจาก ศักยภาพของบุคลากรในองค์กรในการปฏิบัติงานให้บรรลุ
เปา้ หมาย และสามารถส่อื สารกบั บุคลากรภายในและภายนอกองคก์ รทุกระดับไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
3.3.1 การจัดระบบงาน
การใหสิทธิและผลประโยชนต่าง ๆ เป็นสิ่งสำคัญและมีความจำเป็นเพราะเป็นการจูงใจในการ
ปฏบิ ัตงิ านเพราะบุคคลจะทมุ เทในการปฏิบัติงานใหกับองคกร ถ้าเขารบั รูวาผลตอบแทนท่ีตัวเองได้รบั จากองค
กรกับสงิ่ ทเ่ี ขาทุมเทใหกับองคการเทากับผลตอบแทนทผี่ ู้อ่ืนได้รับจากองคกรกับสิ่งทผ่ี ู้อ่นื ทุมเทใหกับองคกร ซงึ่
ผลตอบแทนที่ได้รับ เชน คาจ้าง เงินเดือน การเลื่อนชั้นตําแหนง เป็นตน นอกจากนั้น เงินเดือนหรือคาจ้าง
รวมถึง ผลประโยชนเกือ้ กูลตา่ ง ๆ เป็นกลไกทส่ี ำคัญในการสรรหาบุคคลากรเขาสู่องคกร โดยเฉพาะบุคคลากร
ท่ีมีความรู มีความสามารถสงู ซง่ึ จะทำใหพนักงานพึงพอใจ ลดการลาออก ลดการรองเรียน รกั ษาพนักงานให
ลาออกน้อยที่สุด โดยองคกรตองสร้างหลักประกันความพึงพอใจ ความมั่นใจใหแกบุคลากร โดยการให
สวัสดกิ ารที่ดี ซึง่ จะช่วยใหบุคลากรละทง้ิ ความกังวลในเรือ่ งต่าง ๆ และทุมเท ใหแกงาน รวมถงึ ลดความขัดแย้ง
ระหว่างบุคลากรในองคการ ดังนั้น หากองคกรใดสามารถจัดสวัสดิการและใหสิทธิ หรือผลประโยชนเกื้อกูล
ต่าง ๆ ไดด้ จี ะนํามาซึง่ ความผกู พันและความจงรักภักดีตอองคกร
3.3.2 การสอนงาน (coaching)
เพอ่ื การรูค้ ดิ (cognitive coaching) เปน็ ศักยภาพของผ้สู อนในโลกแหง่ การเรียนรยู้ คุ ใหม่ ทพี่ ัฒนามา
จากบทบาทการสอน (teaching) โดยทำหน้าที่เปน็ โค้ช ดงึ ศกั ยภาพของผู้เรียนด้านความรู้ความสามารถ การ
คิด ตลอดจน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามทก่ี ำหนด การโค้ชเปน็ กลไกการ เสรมิ สรา้ งและพฒั นาผเู้ รยี น ให้มี
ความรู้ ความสามารถ การคิดขัน้ สูง (higher-order thinking) มีวิธกี ารเรยี นรู้ (learning how to learn) โดย
ใช้เทคนิควิธีการตา่ ง ๆ เช่น การตั้งคำถาม การให้ข้อมูลย้อนกลับ การให้คำแนะนำ การชี้แนะการคดิ วิธีการ
คิด การเรียนรูก้ ระตุ้นผ้เู รยี น ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจในการเรยี นรู้ (inspiration) ซง่ึ จะนำไปสู่ การแสวงหาความรู้
การฝกึ ฝนทกั ษะ และการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม คุณธรรมจรยิ ธรรมของผเู้ รยี น
3.3.3 การส่อื สาร
การสื่อสารหมายถึง การแลกเปลี่ยนสัญญาณข่าวสาร ระหว่างบุคคลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของ
ความสัมพันธ์ระหว่างมนษุ ย์ การติดต่อส่อื สารเปน็ การที่บคุ คลตั้งแต่สองคนขึ้นไป มีสว่ นรว่ มในการ แลกเปลีย่ น
ข่าวสาร ความคดิ หรอื ทัศนคติ เพื่อสร้างความเข้าใจตอ่ กัน การสอื่ สารเป็นกจิ กรรมสำคัญทม่ี นษุ ย์ ตอ้ งการบอก
ผู้อน่ื ใหร้ ู้ว่าตนเองตอ้ งการอะไร ทำอย่างไรโดยผ่านส่ือหรือช่องทางต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมให้เข้าใจตรงกนั ระหว่าง
ผู้ส่งสารกับผู้รับสาร การอยู่ร่วมกันของมนุษย์เป็นหมู่เป็นพวกในสังคม ทุกคนจะมีหน้าที่ต่าง ๆ ในการอยู่
รว่ มกัน ทำงานพรอ้ มกนั มกี ารตดิ ตอ่ กนั ซึง่ ต้องอาศัยศาสตรแ์ ละศลิ ป์ในการส่อื สาร เพ่อื ให้เกิดความ เขา้ ใจอัน
ดีต่อกันส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน การสื่อสารที่ขาดประสิทธิภาพจะก่อให้เกิด ความ
ล้มเหลวของงาน อิทธิพลของการสื่อสารส่งผลในการทำลายความสามัคคี หรือก่อให้เกิดความเข้าใจอันดี ได้
ประกอบด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ 1) แหล่งข้อมูล (Information Source) คือ แหล่งที่มาของข่าวสาร

21

(Message ) 2) ข่าวสาร (Message) คือ เนื้อหาที่จะต้องนำไปส่ง 3) ผู้ส่ง (Transmitter) คือ บุคคลที่จะเป็น
ผู้ดำเนินการส่งข่าวสารน่ันเอง 4) สื่อหรือช่องทาง (Media) คือ สิ่งที่จะช่วยนำพาข่าวสารได้ดี หรือเร็วย่งิ ขึ้น
5) ผู้รบั (Receiver) คอื ผู้เป็นเป้าหมายในการรับข่าวสาร

3.3.4 การจูงใจ
การจูงใจมนุษย์เป็นปรากฏการณ์ที่สลับ ซับซ้อน ดังนั้น จึงไม่อาจจะหาคำ จำกัดความที่เป็นสูตร
สำเร็จตายตัวง่าย ๆ ได้นอกจากนั้นผลของการจูงใจก็ยังยากแก่การวัด อาทิเมื่อบุคคลมีความ พึงพอใจสูงนั้น
ไม่ได้หมายความว่า ระดับการจูงใจจะต้องสูงตามไปด้วยเสมอ อย่างไรก็ตามสำหรับศัพท์ของการจูงใจ
(Motivation) นั้นเป็นคำที่มาจากภาษาละตินว่า Movere หมายถึง การเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นเรื่องราวของ
ความรู้สึกซ่ึงไม่หยุดนิ่ง หรือเป็นผลให้เกิดพฤติกรรม หรือการกระทำของบคุ คลแต่ละคน มีความแตกต่างกัน
ในการแสดงออกซ่ึงพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ภายใต้สถานการณ์เดียวกันไม่ใช่ เป็น
เพราะมีความรูค้ วามสามารถ มีสตปิ ัญญาตลอดจนประสบการณท์ ่ีแตกต่างกันเท่านั้น แต่ปจั จัยท่ีสำคัญย่ิงกว่า
อีกประการหน่ึง คือ การที่บุคคลได้รับการจูงใจในการปฏบิ ัติงานที่แตกต่าง เป็นเหตุใหแ้ ตล่ ะคนเต็มใจท่ีจะใช้
พลังความสามารถในการปฏิบัติมากน้อยแตกต่างกันไปด้วยการจูงใจจึงเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง แต่ละบุคคลแสดง
พฤติกรรมแตกต่างกันเพราะอะไร โดยใช้ความคิดรวบยอด สมมติฐาน ที่เรียกว่า การจูงใจ ซ่ึงหมายถึง
องค์ประกอบที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่มีจดุ หมาย แต่เนื่องจากเราไมส่ ามารถสังเกตแรงจูงใจได้โดยตรง จึง
ตอ้ งอธิบาย พฤตกิ รรมทส่ี ังเกตได้เปน็ ส่ิงอ้างองิ
สมรรถนะยอ่ ย 3.4 สามารถสร้างพลังร่วมของทมี งาน (Synergy Teamwork) ในสถานศึกษา เพอ่ื ขับเคล่ือน
การทำงานไปสู่ เปา้ หมายเดียวกัน สรา้ งกระบวนการมี สว่ นรว่ มของทมี งานและเกิดผลสัมฤทธิ์ ในภาพรวม
3.4.1 การทำงานเปน็ ทีม
เมือ่ บุคคลมารว่ มกนั ทำงาน ต่างกม็ ีความตอ้ งการและผลประโยชน์ท่ีอาจจะแตกต่างกันไป โดยเฉพาะ
ผลประโยชน์ส่วนบุคคลจะต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับผลประโยชน์ของส่วนรวม การสร้างศักยภาพ มี
การตดั สินใจรว่ มกนั สมาชิกทุกคนควรท่ีจะได้มีส่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจด้วย โครงสรา้ งของทีม พฤติกรรมของ
หวั หน้าทีม กระบวนการทำงานเปน็ ทีม การสนบั สนุนทางสงั คม ปจั จยั ด้านตา่ ง ๆ เหล่านี้ ก่อให้เกิดพฤติกรรม
การทำงานเปน็ ทีมที่มีประสทิ ธภิ าพ มกี ารแบ่งขอบเขตอำนาจ หนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบ หวั หนา้ งานเปิดโอกาสให้
พนักงานใช้ความสามารถในการทำงานอย่างเต็มท่ี เป็นขั้นตอนที่สำคัญต่อการปฏิบัติงานร่วมกัน ประสบ
ความสำเร็จ และมีกระบวนการทำงานเปน็ ทีมทีด่ ี คือ สมาชิกในทมี มีบทบาทในการสรา้ งสมั พันธ์ให้เกดิ ข้นึ ใน
ทมี งาน เป็นการลดปญั หาและอุปสรรคในการปฏบิ ัติงานได้ 2 ประการ ดังน้ี
1) มกี ารจดั ทีมงาน มีลกั ษณะสำคัญ คือ การกำหนดเปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์ท่ตี อ้ งการ ต้องกำหนด
หนา้ ที่และความรบั ผิดชอบไว้อย่างชดั เจน มรี ะบบการสอ่ื สารทด่ี ี รวดเร็ว และถกู ตอ้ ง การทำงานเป็นระบบ มี
ระเบียบ ตามกติกาที่กำหนด มีความจริงใจ เปิดเผยต่อกัน มีบรรยากาศของการทำงานที่ดี มีการประสาน
สมั พันธ์แสวงหาแนวทางทีเ่ หมาะสม
2) มีขั้นตอนในการทำงาน มีลักษณะสำคัญ คือ กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ปฏิบตั ิงาน เป็นเครื่องมอื ในการรวมพลังในการทำงานและวัดความสำเรจ็ ในการทำงาน มีการวางแผนงานเพื่อ
ทำความเข้าใจในวตั ถุประสงค์ของการทำงานเปน็ ทมี มกี ารปฏิบตั งิ านตามแผน เชน่ มีการตดิ ตามผลงาน การ
เสรมิ สร้างความรู้ความสามารถให้สมาชิก มกี ารให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ มีการ
ใหก้ ำลังใจและสร้างความร่วมมอื ใน การทำงาน มกี ารประเมนิ และปรบั ปรุงเปน็ ระยะ ๆ โดยการเปรียบเทียบ
กับเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ หรือประเมนิ ความพึงพอใจของสมาชกิ

22

ใบนำเสนอผังมโนทศั น์ (Mind Map) สมรรถนะท่ี 1
การดำรงตนของรองผู้อำนวยการสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา ยุคชีวิตวิถีอนาคต (Next Normal)
วทิ ยากรณพ์ ่เี ลีย้ ง ว่าท่ี ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชื่อ-สกลุ นายยทุ ธพงษ์ จำปาแกว้
กลุ่มที่ 18 เลขท่ี 8

ภาพที่ 1 สมรรถนะท่ี 1 ยุคชีวิตวิถีอนาคต (Next Normal)
23

ใบนำเสนอผังมโนทศั น์ (Mind Map) สมรรถนะท่ี 2
ภาวะผู้นำทางวิชาการและวิชาชพี อาชวี ศึกษา

วทิ ยากรณพ์ เี่ ลยี้ ง วา่ ที่ ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ช่ือ-สกลุ นายยทุ ธพงษ์ จำปาแก้ว
กลมุ่ ท่ี 18 เลขที่ 8

ภาพท่ี 2 ภาวะผ้นู ำทางวิชาการและวชิ าชีพอาชีวศกึ ษา

24

ใบนำเสนอผังมโนทศั น์ (Mind Map) สมรรถนะที่ 3
การบรหิ ารและการจัดการในสถานศกึ ษา

วทิ ยากรณพ์ เี่ ลยี้ ง วา่ ที่ ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ช่ือ-สกลุ นายยทุ ธพงษ์ จำปาแก้ว
กลมุ่ ท่ี 18 เลขที่ 8

ภาพที่ 3 การบริหารและการจดั การในสถานศกึ ษา
25

บรรณานุกรม

กมล แสงองศรีกมล. (2552). คิดแลว้ รวย Think and Grow Rich THE 21ST-CENTURY EDITION.
กรงุ เทพฯ : บริษัทซีเอด็ ยูเคช่ันจำกดั (มหาชน).

บรรเจิด ชวลติ เรอื งฤทธิ์. (2546). คิดแบบยวิ ทำแบบญป่ี ุ่น. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทอมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์จำกัด.
โยซุเกะ. (2549). คิดแบบยวิ ทำแบบญป่ี นุ่ Book 2 : บรหิ ารเงนิ สไตลน์ ายธนาคารยิว. กรุงเทพฯ : บริษทั

อมรินทรบ์ ุค๊ เซ็นเตอรจ์ ำกดั .
สำนักพฒั นาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา. 2565. คมู่ อื ผูร้ ับการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังให้ดำรงตำแหน่งรองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สอศ.

ภาคผนวก

ภาพท่ี 4 ใบงานที่ 1 การอ่านหรือฟงั เพือ่ ปรบั กรอบความคิด (Mindset)

ภาพที่ 5 ใบงานท่ี 2 ความหมายคำสำคญั คำนยิ ามศพั ท์

28

ภาพท่ี 6 คดิ แลว้ รวย Think and Grow Rich THE 21ST - CENTURY EDITION

ภาพท่ี 7 คิดแบบยวิ ทำแบบญี่ปนุ่ Honda Ken (ฮอนดะ เคน) เลม่ 1 และ เล่ม 2
29

ภาพท่ี 8 Infographic กจิ กรรมท่ี 1

30


Click to View FlipBook Version