The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุประบบประสาท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rinrasa.bata, 2022-07-03 13:40:21

สรุประบบประสาท

สรุประบบประสาท

Keywords: สรุประบบประสาท

ระบบประสาท

ระบบประสาทเกดิ จากเซลลป์ ระสาททงั้ หมดในรา่ งกาย โดยทำหนา้ ทเี่ ป็ นศนู ย์
รวบรวมขอ้ มลู จากสง่ิ แวดลอ้ มภายนอกผา่ นทางประสาทสมั ผัสตา่ ง ๆ จากนัน้ จะ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู แลว้ สง่ั การใหอ้ วยั วะตา่ ง ๆ ในขณะเดยี วกนั เสน้ ประสาทกจ็ ะสง่
สญั ญาณความเจ็บปวดไปยงั สมองดว้ ย

ระบบประสาทแบง่ ออกเป็ น 2 สว่ นตามตำแหนง่ ในรา่ งกาย คอื
• ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central Nervous System) ประกอบไปดว้ ยสมอง

ไขสนั หลงั และเซลลป์ ระสาท
โดยสมองแบง่ ออกเป็ น 3 สว่ น คอื สว่ นหนา้ กลาง และทา้ ย
- สมองสว่ นหนา้ ประกอบดว้ ย ซรี บี รัม ทาลามสั ไฮโพทาลามสั
- สมองสว่ นกลาง จะเกย่ี วกบั การเคลอื่ นไหวของลกู ตาและมา่ นตา
- สมองสว่ นทา้ ย ประกอบดว้ ย ซรี เี บลลมั พอนส์ เมดลั ลา ออบลองกาตา
• ระบบประสาทสว่ นปลาย (Peripheral Nervous System) ประกอบดว้ ย
เซลลป์ ระสาทอนื่ ๆ ทไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นระบบประสาทสว่ นกลาง โดยประกอบดว้ ย
เสน้ ประสาทสมองและเสน้ ประสาทไขสนั หลงั
คนเรายงั มรี ะบบประสาทอตั โนมตั ดิ ว้ ย ดงั น้ี
1) ระบบประสาทพาราซมิ พาเทตกิ จะควบคมุ การทำงานของรา่ งกายใหเ้ ป็ นปกติ
2) ระบบประสาทซมิ พาเทตกิ จะเป็ นระบบทพ่ี รอ้ มสำหรับอนั ตรายหรอื เผชญิ
ภาวะฉุกเฉนิ

ระบบประสาททำงานอยา่ งไร ?
การทำงานของระบบประสาทขนึ้ อยกู่ บั เซลลป์ ระสาท ซงึ่ มอี ยหู่ ลายพันลา้ นเซลล์
และมหี นา้ ทแี่ ตกตา่ งกนั ไป เชน่ เซลลป์ ระสาทรับความรสู ้ กึ จะทำหนา้ ทร่ี ับขอ้ มลู
จากตา หู จมกู ลนิ้ และผวิ หนังไปยงั สมอง

วธิ ดี แู ลรกั ษาระบบประสาทใหท้ ำงานเป็ นปกติ
1. ออกกำลงั กายอยา่ งสม่ำเสมอ และอาจปรกึ ษาแพทยเ์ พอื่ ใหช้ ว่ ยวางแผน
การออกกำลงั กายทเี่ หมาะสม
2. รับประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชนใ์ นปรมิ าณพอดี โดยเฉพาะอาหารไขมนั ต่ำ
อาหารทอี่ ดุ มไปดว้ ยวติ ามนิ บี 6 วติ ามนิ บี 12 และโฟเลต ซง่ึ อาจชว่ ยบำรงุ ระบบ
ประสาทใหท้ ำงานไดต้ ามปกติ
3. ดม่ื น้ำใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของรา่ งกาย เพอื่ ป้องกนั ภาวะขาดน้ำ
ทเ่ี ป็ นสาเหตทุ ำใหร้ สู ้ กึ สบั สน มนึ งง และอาจมปี ัญหาเกยี่ วกบั ความจำได ้
นอนหลบั พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอ เพอ่ื ลดความเสย่ี งปัญหาสขุ ภาพและโรคตา่ ง ๆ
4. งดสบู บหุ รแ่ี ละไมด่ ม่ื แอลกอฮอล์
5. ขา้ รับการตรวจวดั สายตาและการไดย้ นิ หากมองเห็นไมช่ ดั หรอื มปี ัญหา
ในการไดย้ นิ เสยี ง
6. ไมค่ วรทำหลาย ๆ สงิ่ ในเวลาเดยี วกนั แตใ่ หจ้ ัดลำดบั ความสำคญั
โดยเรยี งสงิ่ ทตี่ อ้ งทำกอ่ นเป็ นอนั ดบั ตน้ ๆ
7. ฝึกคดิ บวกหรอื มองโลกในแงด่ ี

การสรา้ งเสรมิ การทำงานของระบบประสาท
การฝึกสมองหรอื การเลน่ เกมงา่ ยๆ เชน่ การปิดไฟ ใชม้ อื คลำทาง การเปลย่ี น
เสน้ ทางในการกลบั บา้ น การเลน่ ตอ่ บล็อกไมห้ รอื เกมกระดาน และวธิ ที เ่ี ขา้ ถงึ
ไดง้ า่ ยมากในปัจจบุ นั คอื การเลน่ เกมในโทรศพั ทก์ ส็ ามารถฝึกสมองได ้

รายชอื่ สมาชกิ

นางสาวชนสิ รา มชี ยั เลขที่ 15 ม.6/5

นางสาวณภทั ร ศรอี กั ษร เลขที่ 17 ม.6/5

นางสาวสธุ าชลี อรณุ พลู ทรัพย์ เลขท่ี 18 ม.6/5

นางสาวรดาณัฐ บษุ บา เลขท่ี 25 ม.6/5

นางสาวรนิ รสา นอ้ ยกลาง เลขที่ 26 ม.6/5

นางสาวอภญิ ญา สขุ สวสั ด์ิ เลขที่ 31 ม.6/5


Click to View FlipBook Version