The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-06 07:46:00

รวมงานเซฟตี้

รวมงานเซฟตี้

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 1

1.จงอธบิ ายความหมายของคําศพั ท์ตอ่ ไปน้ี
1.1.อบุ ตั กิ ารณ์ (Incident)

หมายถึงเหตกุ ารณท์ ่ีไมพ่ ึงประสงค์แตเ่ ม่ือเกดิ ข้นึ แลว้ มผี ลให้เกดิ อบุ ตั ิเหตุหรอื อาจหมายถงึ เกอื บ
เกดิ อุบัตเิ หตุ
1.2.อุบัตเิ หตุ ( Accidents )
หมายถงึ เหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ เกดิ ขน้ึ โดยไมไ่ ดค้ าดคิดและไม่ได้ควบคุมไว้ก่อนเม่อื เกดิ ขนึ้
แล้วมผี ลทาํ ให้เกิดการบาดเจ็บ พกิ ารหรอื ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย
1.3.เหตกุ ารณ์เกอื บเกิดอุบัตเิ หตุ (Near Miss )
หมายถงึ เหตกุ ารณผ์ ดิ ปกติ เมอ่ื เกิดข้ึนแล้วมีแนวโนม้ ทีจ่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ัตเิ หตุ
1.4.อนั ตราย (Hazard)
หมายถงึ แหลง่ หรือสภาพการที่มโี อกาสทาํ ให้เกดิ อนั ตรายตอ่ คนเราในลักษณะของการบาดเจบ็
เจ็บป่วย ความเสียหายตอ่ ทรัพยส์ ิน สภาพแวดล้อมในการ
ทาํ งานหรอื ท้ังหมดทกี่ ล่าวมา
1.5.Learning Experience:LE
หมายถงึ อบุ ตั เิ หตุเลก็ น้อยท่ไี ม่กระทบ Performance
1.6.Potential Serious Incident
หมายถึง อบุ ตั ิเหตุทีเ่ กดิ ขึน้ โดยมรี ะดบั ความรุนแรงนอ้ ยแต่มโี อกาสทจี่ ะขยายเปน็ เหตุการณท์ มี่ รี ะดบั
ความรนุ แรงมาก
1.7.First Aid Treatment (FAT)
หมายถึง การรกั ษาเป็นการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้

1.8.PERSONAL INJURY ACCIDENT

อุบตั เิ หตุจากการท างานทีม่ ผี ลทําให้
- Day Away from Work Cases (DAWC) หมายถงึ การบาดเจ็บถึงขั้นสญู เสียวันทํางาน
- Restricted Work Cases (RWC) หมายถึง การบาดเจบ็ ถงึ ขนั้ เปลย่ี นไปท าหนา้ ทีอ่ ่นื แทนชัว่ คราว
- Medical Treatment Cases (MTC) หมายถงึ การบาดเจบ็ ถึงขัน้ ต้องรักษาพยาบาล

1.9. Day Away from Work Cases (DAWC)

หมายถึง เป็นสถานการณ์ท่พี นักงานประสบอุบตั ิเหตใุ นท่ีทํางานและต้องอยบู่ ้านมากกวา่ หน่งึ วันเนอ่ื งจาก
ได้รับบาดเจบ็ การนับวันท่หี ยดุ งานจะเรม่ิ ในวนั ถัดจากวันทไ่ี ด้รบั บาดเจ็บ

1.10.Restricted Work Cases (RWC)

หมายถงึ อุบตั ิเหตุท่ีทาํ ให้ เกิดการบาดเจ็บและสง่ ผลใหผ้ ู้บาดเจ็บไมส่ ามารถปฏิบตั ิงานเดมิ ในวนั ทาํ งาน
ถัดไป หรอื กะถัดไปได้ แตย่ ังสามารถ ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมายแทนได้ หรืออาจตอ้ งเปลีย่ นงานใหมใ่ ห้
ผบู้ าดเจ็บปฏิบตั ิงานแทนชั่วคราว

1.11.Medical Treatment Cases (MTC)

หมายถงึ อุบตั ิเหตุจากการทาํ งาน ซึ่งทําใหผ้ ูป้ ระสบเหตุบาดเจ็บหรอื เจบ็ ปว่ ย ตอ้ งไดร้ บั การรักษาทาง
การแพทยโ์ ดยแพทยผ์ ู้เช่ยี วชาญและ สามารถกลบั มาท างานไดต้ ามปกตโิ ดยไม่ไดห้ ยุดงาน และไม่ถกู จํากดั
ลกั ษณะการทาํ งาน ตัวอย่างกรณีการ รับการรักษาทางการแพทย์

1.12.CHEMICALS SPILL INCIDENT

มาตรการควบคมุ การหกเลอะหรอื รว่ั ไหลของวัตถุอันตราย จะมีองค์ประกอบหลกั ท่ีสาํ คญั 2 ส่วนคอื

การเตรียมความพร้อมรับมอื เหตุหกร่ัวไหล (Spill Response Preparation) และขัน้ ตอนดําเนินการรบั มือเหตุ
หกรั่วไหล (Spill Response Procedures) อุบัตเิ หตทุ เี่ กิดขน้ึ ภายในเขตบริเวณโรงงานแลว้ มีการหกรวั่ ไหล
ของสารเคมี

1.13.MOTOR VEHICLE ACCIDENT

อุบตั เิ หตุท่เี กิดขน้ึ กับยานพาหนะของบริษทั ทใี่ ช้ในงาน

1.14.PROCESS SAFETY
เหตุการณไ์ ฟไหม้ หรอื การระเบิด หรอื เกดิ ปฏิกิริยาทางเคมี ที่เกิดข้ึนในเขต กระบวนการผลติ

1.15. DISTRIBUTION
อบุ ัติเหตุท่เี กิดขน้ึ แล้วมกี ารหกร่วั ไหลของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ในระหว่างการขนส่ง

1.16.REGULATORY COMPLIANCE
การท่บี ริษัทฯ ไมป่ ฏิบตั ิตามทก่ี ฎหมายกาํ หนดในการดาํ เนินกจิ การของบริษัทฯ

1.17.FIRE ACCIDENT
เหตุการณ์ไฟไหม้ และ/หรือการระเบิดที่เกิดข้นึ ในบรเิ วณพ้นื ทบ่ี รษิ ทั

1.18.OUTSIDE ENVIRONMENTAL COMPLAINT
กรณีทบี่ รษิ ัท / องคก์ ร / ชมุ ชน ไดท้ าหนงั สอื ข้อรอ้ งเรยี นด้านสิ่งแวดล้อม

1.19. OFF THE JOP SAFETY
หมายถงึ การสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความปลอดภัยในการทาํ งานและอนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ข้นึ รอบตวั เรา

1.20.Occupational Health
หมายถึง การควบคมุ ดแู ลสขุ ภาพอนามัยของ ผูป้ ระกอบอาชพี ดว้ ยการปอ้ งกนั และสง่ เสริมสขุ ภาพ
อนามัยเพื่อให้คงไว้ ซึง่ สภาพรา่ งกายและจิตใจทสี่ มบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพ

2. จากขอ้ 1 จงบอกว่าข้อใดเปน็ อุบตั เิ หตุระดับความรุนแรงน้อยและข้อใดเปน็ อุบตั เิ หตุระดับความรนุ แรงมาก

อุบัติเหตุระดับความรนุ แรงน้อย (Learning Experience:LE) (Non reportable Case Accident)

- Potential Serious Incident (PSI)

- First Aid Treatment (FAT)

อุบัติเหตุระดบั ความรนุ แรงมากรายงานระดับบรหิ ารจดั การ (Reportable Case Accident)

- Potential Serious Incident (PSI) - First Aid Treatment (FAT)

- Personal Injury Accident - Chemical Spill Accident

- Motor Vehicle Accident (MVA) - Process Safety Accident

- Distribution Accident - Outside Environmental Complaint

- Regulatory Compliance - Fire Accident

- OUTSIDE ENVIRONMENTAL COMPLAINT

3. จงยกตัวอย่างสภาพแวดล้อมในการทํางานที่เป็นอันตรายต่อไปนี้

3.1. ทางกายภาพ

แสง เสยี ง ความร้อน ฝนุ่

3.2. ทางเคมี

ป๋ยุ เคมี สี ควัน แกส๊ ไอสาร ละออง

3.3. ทางชวี ภาพ

เชื้อไวรสั เช้อื แบคทเี รยี ปรสติ

3.4. ทางการยศาสตร์

เครื่องมอื โต๊ะ เก้าอี้ เครือ่ งจกั ร การสนั่ สะเทือน อณุ หภูมิ อากาศ

4. จงเขยี นแผนภาพวงจรการเกิดอบุ ัตเิ หตุ

หาย

คนปกติ การเจบ็ ปว่ ยหรือเกิดอบุ ัตเิ หตุจากการทาํ งาน อาการ พิการ/เร้ือรัง

อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทํางาน การปอ้ งกัน ตาย

-ทางกายภาพ

-ทางเคมี

-ทางชวี ภาพทีเ่ ป็นอนั ตราย

-ทางจิตวทิ ยาสงั คม & การยศาสตร์

5. จงอธิบายสาเหตขุ องการเกิดอุบตั เิ หตุต่อไปนี้
5.1. สภาพการทํางานทไี่ ม่ปลอดภัย (unsafe condition)

สภาพการทํางาน หรอื สภาวะแวดลอ้ มทเ่ี ป็นอนั ตราย ซึง่ อาจจะท าใหเ้ กิดอบุ ตั เิ หตไุ ด้ เชน่
- เครอื งมือ เครอื่ งจกั รกล หรือ อปุ กรณช์ ารุดบกพรอ่ ง ,ระบบเตอื นภยั ไมม่ ีเสยี งดัง
- ไมม่ อี ุปกรณ์ปอ้ งกันจุดทม่ี ีการหมนุ ของเครอื่ งจักร
- ขาดการซ่อมแซมหรอื บํารงุ รกั ษาอยา่ งเหมาะสม
- สภาพแวดลอ้ มในการท างานไมเ่ หมาะสม เชน่
แสงสวา่ งไม่เพยี งพอ เสียงดังเกินควร ความร้อนสงู ฝนุ่ ละออง ไอระเหยของสารเคมีทเ่ี ป็นพษิ เป็นตน้
5.2. การกระทาํ ที่ไมป่ ลอดภัย (unsafe act)

หมายถงึ พฤติกรรมการทาํ งานของผู้ปฏบิ ตั ทิ ีไ่ ม่ปลอดภยั จนอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตุได้ เช่น
Reactions of People : พฤตกิ รรมทจี่ งใจไมป่ ฏิบตั ิตามกฎความปลอดภยั
Positions of People : อาจตกจากท่สี ูง

Personal Protective Equipment : ไม่สวมอุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตราย
Tools & Equipment : ใช้เครอ่ื งมือหรืออุปกรณผ์ ิดประเภท
Procedures : ไม่ปฏิบัติตามขน้ั ตอนความปลอดภัย
Orderliness Standards : ไม่ปฏบิ ัติตามกฎ 5 ส.

6. จงอธิบายและยกตวั อย่างการป้องกนั อบุ ัตเิ หตโุ ดยใชห้ ลกั 3E ตอ่ ไปน้ี
6.1. Engineering

ตดิ ต้งั การ์ดทเ่ี หมาะสม เช่น ติดตั้งระบบระบายอากาศ ออกแบบ/ปรบั พ้นื ท่ีงานให้เหมาะสม ซ่อมบาํ รงุ /
เปลี่ยนอุปกรณ์ /ติดต้งั เพม่ิ เติม
6.2. Enforcement
การกาํ หนดวิธกี ารทํางาน หรือ วิธกี ารปฏบิ ตั เิ พ่อื ความปลอดภยั การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายขึ้นมาเปน็ มาตรฐาน

กฎความปลอดภยั
1. ประกาศให้ทกุ คนรบั ทราบและถอื ปฏิบตั ิ
2. มกี ารมอบหมายบุคคลใหก้ ํากบั ดูแลให้ปฏิบตั ิชัดเจน
3. มกี ารบังคบั ใช้อย่างจริงจงั
6.3. Education
ให้ความรใู้ นดา้ นตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง กฎระเบยี บกฎหมาย กฎความปลอดภัย
สร้างจติ สํานกึ / ปรบั เปลีย่ นทัศนคติ เพ่ิมทกั ษะ
การจัดทําคูม่ ือมาตรฐานวิธกี ารทํางานอย่างปลอดภัยและอบรมวิธกี ารปฏิบตั ิงาน
เชน่ การอบรมพนกั งานกอ่ นการปฏบิ ัติงานจรงิ ใหแ้ นช่ ัด และปฏบิ ตั อิ ย่างเคร่งครัด

นายชนิ พัฒน์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขที่ 3







การบริหารงานความปลอดภยั อาชีวอนามัย

TIS/OHSAS 18001 คืออะไร?

ระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภยั / (Occupational Health Safety System)คอื ระบบที่ใช้
สาหรับการบรหิ าร จัดการภายในองคก์ ร เพอื่ ลดความเสย่ี งตอ่ อนั ตรายและความปลอดภัยของพนกั งาน
ปรับปรุงการดาเนินการขององคก์ รใหเ้ กดิ ความปลอดภัยและชว่ ยสร้างภาพพจน์

ISO 45001 คอื อะไร?

มาตรฐาน ISO 45001 เป็นทย่ี อมรับในระดับสากลวา่ เป็นวธิ ีการประเมินและตรวจสอบระบบการจดั การอาชี
วอนามัยและความปลอดภัย พฒั นาโดยองคก์ รการคา้ และมาตรฐานสากลชน้ั นาจัดทากรอบสาหรบั องค์กรเพือ่
สรา้ งการจดั การด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยท่ีเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพในสถานทท่ี างาน
มาตรฐานปัจจบุ ันของ OHSAS 18001 จะถูกแก้ไขและรวมเขา้ กบั ISO

PSM คอื อะไร?

“การจดั การความปลอดภัยกระบวนการผลติ ” (Process Safety Management: PSM) หมายความว่า การ
จัดการให้เกิดความปลอดภยั การป้องกันการเกดิ อุบัติการณแ์ ละการบาดเจบ็ ที่เก่ยี วเน่ืองกับกระบวนการผลติ ที่
มกี ารใช้สารเคมีอนั ตรายรา้ ยแรง โดยใช้มาตรการทางการจดั การและพื้นฐานทางด้านวศิ วกรรมในการชบี้ ง่
ประเมิน และควบคมุ อันตรายจากกระบวนการผลติ และให้หมายความรวมถึงการจดั เก็บ การออกแบบ การใช้
การผลติ การบารงุ รกั ษา การตรวจสอบ การทดสอบ และการขนสง่ หรอื เคลือ่ นยา้ ยสารเคมีอนั ตรายร้ายแรงใน
เขตนิคมอตุ สาหกรรม

เหตกุ ารณ์ : โศกนาฏกรรมกา๊ ซพษิ ทโ่ี บพาล (The Bhopal Gas Tragedy)
สรุปรายละเอียดของเหตกุ ารณ์ : เหตกุ ารณเ์ กดิ ขนึ้ เมื่อวนั ที่ 3 ธนั วาคม พ.ศ. 2527 หรอื เมอ่ื ราว 24 ปมี าแลว้ ทีย่ ูเนี่ยนคาร์
ไบด์ (Union Carbide) โรงงานผลติ ยาปราบศตั รูพืช (Pesticide) ซ่งึ ตง้ั อยใู่ นเมอื งโบพาล ประเทศอินเดยี มีสาเหตุมาจาก
ความบกพรอ่ งของระบบบรหิ ารจดั การต่าง ๆ (Management Systems) ทร่ี วมไปถึงการเลอื กใช้วัสดุกอ่ สร้างคุณภาพต่า
การใชม้ าตรการความปลอดภยั ที่ไม่เหมาะสม ทา่ ใหค้ วามรนุ แรงของอนั ตรายเกิดการพัฒนาขนึ้ อย่างตอ่ เน่อื งในระหวา่ ง
ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน และนา่ ไปส่ผู ลลพั ธ์เลวรา้ ยในทา้ ยท่ีสดุ ท่าให้มกี ารรว่ั ไหลของกา๊ ซพษิ เมทลิ ไอโซไซยาเนต (Methyl
Isocyanate: MIC) จ่านวนกวา่ 42 ตัน ซึ่งแพรก่ ระจายปนเปือ้ นในอากาศ และกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายกับผ้สู มั ผัสกา๊ ซพิษดังกล่าว
มากกว่า 500,000 คน โดยมีผู้เสียชีวิตในทันที จ่านวน 2,259 คน และอกี กวา่ 8,000 คน ภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์ มีการ
คาดการณ์กนั วา่ ยอด รวมของผู้เสยี ชวี ติ สงู กว่า 15,000 คน นอกจากนีย้ งั มผี ู้ประสบเหตุอกี จา่ นวนมาก ทีต่ อ้ งทนทุกข์ทรมาน
จากผลกระทบในระยะยาวจากการสัมผสั กบั ก๊าซพิษในคร้ังน้นั

การวเิ คราะหส์ าเหตุ : ขอ้ เสนอแนะ :
สาเหตุขณะนน้ั -ใหพ้ นกั งานมคี วามเข้าใจปฏิกริ ยิ าเคมีของ
-มีความบกพร่องของระบบบริหารจัดการตา่ ง ๆ สารเคมใี นกระบวนการผลิต อา่ นและเขา้ ใจถงึ
-การเลือกใชว้ สั ดกุ ่อสรา้ งคณุ ภาพต่าและไมป่ รับปรงุ การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีและเข้าใจถงึ ระบบความ
เปลย่ี นแปลง ปลอดภยั ในกระบวนการผลติ วาระบบมีการ
-การใช้มาตรการความปลอดภัยทไ่ี มเ่ หมาะสมเมอ่ื ทา่ งานอย่างไร
เกนิ เหตฉุ กุ เฉิน -ใหม้ ีความเข้าใจแผนฉุกเฉนิ ในกรณสี ารเคมีที่อยู่
สาเหตุพ้นื ฐาน ในถงั เกบ็ มีอุณหภูมิหรือความดนั เพิม่ ขนึ้ อย่าง
-ขาดการประเมินอันตรายในกระบวนการ การ รวดเรว็ โดยเฉพาะสารเคมีทเ่ี กดิ ปฏิกริ ยิ าอยา่ ง
วิเคราะหอ์ นั ตรายฯ รวดเร็ว
-ไม่มีระเบยี บวธิ ีเมอื่ เกิดเหตรุ ้ายแรงเกินควบคมุ -มีการฝกึ อบรมในกรณอี ุบัตเิ หตรุ า้ ยแรงทอี่ าจจะ
-พนักงานขาดความเข้าใจปฏกิ ริ ยิ าเคมีของสารเคมี เกดิ ขึ้นในโรงงานและพิจารณาทีร่ ะบบป้องกันที่
ในกระบวนการผลติ ใชป้ ้องกันไม่ใหเ้ กิดอุบัติเหตรุ ้ายแรงแบบนัน้ อีก
-ระบบการรักษาความปลอดภยั ไมม่ ีประสิทธิภาพ สิง่ ที่ได้เรียนรู้ :

1.กระบวนการ (Process) กิจกรรมตา่ งๆเราควรศึกษาสถานที่ท่เี กย่ี วข้องกบั สารเคมอี นั ตราย การจดั เกบ็ การผลติ การจัดการ

การเคล่อื นย้าย ตลอดไปจนถงึ ถังบรรจุหรือทอ่ ส่งที่อาจเกดิ การร่ัวไหลของสารเคมอี ันตรายด้วย

2. แผนงาน ฯ บรหิ ารงานความปลอดภยั ในกระบวนการ (Process Safety Management Program: PSM)

3. การวิเคราะหห์ รอื ประเมนิ อันตรายในกระบวนการ (Process Hazard Analysis: PHA)

4. การฝึกอบรม (Training) ใหค้ วามรู้แก่ ผปู้ ฏิบตั ิงานทกุ เกี่ยวข้องกับกระบวนการทีม่ ีสารเคมีอันตราย

5. การทบทวนความปลอดภัยก่อนเร่ิมต้นกระบวนการ (Pre–Startup Safety Review: PSSR)

6. ในการท่างานเราควรมคี วมรู้เกย่ี วกบั สารเคมที เี่ ราใชร้ วมไปถงึ การเกดิ ปฏิกิรยิ าของสารนนั้ ด้วย

7. ความเทีย่ งตรงของกลไกการทา่ งาน (Mechanical Integrity) อุปกรณต์ า่ ง ๆ ท่ถี ูกใช้งานในกระบวนการจ่าเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การ

ออกแบบ สร้าง ติดต้ัง และบา่ รงุ รกั ษาอยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมเพอ่ื ที่จะสามารถลดความเสีย่ งท่ีจะเกิดการรวั่ ไหลของสารเคมีอนั ตราย

8. การบริหารความเปลีย่ นแปลง (Management of Change: MOC) การบรหิ ารความเปลย่ี นแปลงได้อยา่ งเหมาะสมกับส่วนท่ี

เก่ยี วขอ้ งกบั กระบวนการ ไมว่ ่าจะเปน็ สารเคมี ภาชนะบรรจุ เทคโนโลยี อุปกรณ์ หรืออาคาร
จดั ท่าโดย นายชินพฒั น์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขที่ 3

ถังเก็บสารเคมีระเบิดทีร่ ะยอง ในนคิ มมาบตาพดุ

เหตุการณ์ สาเหตุ
บริษัท มาบตาพุด แทงค์ เทอร์มินัล จากัด ส่วนทเี่ กิดเหตุเปน็ จดุ ถังเก็บวตั ถดุ ิบ แนฟทา 401c
บรษิ ทั ฯ ได้ซอ่ มบารุงถังเก็บวตั ถดุ ิบ จนกระทง่ั เวลา ขนาดความจุ 90,000 ลกู บาศกเ์ มตร แต่ขา้ งในไม่มสี าร
15.00 น. ไดเ้ กดิ ประกายไฟจากการซอ่ มบารงุ สง่ ผล ดังกลา่ วอยู่แลว้ ซ่งึ กอ่ นเกดิ เหตุคนงานบริษทั รบั เหมา 5
ให้เกดิ เสียงดังและมเี ปลวไฟ หลังเกดิ เหตบุ รษิ ทั ฯ คน ไดเ้ ขา้ ไปเก็บสารแนฟทา ท่ตี กคา้ งภายในถงั
สามารถควบคมุ เปลวไฟไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยไม่เกดิ ระหวา่ งนน้ั เกดิ เพลงิ ลกุ ไหมต้ ามด้วยเสียงดงั และกล่มุ
ผลกระทบกบั โรงงานใกล้เคยี งและชมุ ชน พร้อมมีการ ควนั พวยพุ่งข้ึนมา
ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศในพืน้ ที่ พบวา่ อยู่ในเกณฑ์
ปกติ

ความเสียหายโดยตรง
สง่ ผลใหเ้ กดิ เสียงดังและมเี ปลวไฟ
ผปู้ ฏบิ ตั ิงานบริเวณดังกล่าว บาดเจบ็ 5 คน
แต่ขณะนาตัวสง่ โรงพยาบาล ในจานวนนี้ 2
คน เสยี ชีวติ

ความเสียหายทางออ้ ม
โดยไม่เกดิ ผลกระทบกับโรงงานใกล้เคยี งและชุมชน
พร้อมทง้ั ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศในพ้ืนท่พี บว่าอยู่
ในเกณฑป์ กติ

สงิ่ ทไี่ ด้เรยี นรจู้ ากเหตุการณ์
- เหตกุ ารณ์ไฟไหม้ หรือการระเบดิ หรือเกิดปฏิกิรยิ าทางเคมี ท่ีเกิดข้นึ ในเขต กระบวนการผลติ PROCESS SAFETY
- สภาพการทางานท่ีไมป่ ลอดภยั (unsafe condition)
- การสรา้ งความตระหนกั ถึงความปลอดภัยในการทางานและอนั ตรายทอี่ าจเกิดขึ้นรอบตัวเรา OFF THE JOP SAFETY

จัดทาโดย นายชนิ พัฒน์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขท่ี 3

เตอื น
บงั คบั ให้ปฏิบตั
สภาวะ

อนั ตรายจากเปลวไฟ
ระวงั ผวิ วสั ดรุ ้อน

ติ สวมรองเท้านิรภยั
ต้องสวมใสท่ ี่คลมุ หวั

ปฐมพยาบาล
จดุ รวมพล



หา้ ม

บงั คบั ให

หป้ ฏิบตั ิ

เตอื

อน

สภ

ภาวะ

อุปกรณ
นายชินพฒั น์ ใสไธสง สปต

ณเ์ กีย่ วกบั อคั คภี ัย
ต.1/2 เลขที่3

1. ชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดและมีความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย
2. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขสภาพการณท์ ่ีไมป่ ลอดภัย
3. ปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาอย่างเครง่ ครดั
4. รายงานการบาดเจ็บและการปฐมพยาบาล
5. ใช้เครอื่ งมอื หรืออุปกรณ์ใหถ้ ูกต้องปลอดภัย
6. การใช้ การปรับ ซอ่ มแซมอปุ กรณ์ต่างๆ ต้องเปน็ หนา้ ท่ขี องผูเ้ ก่ยี วขอ้ งเท่านน้ั
7. การยกสง่ิ ของหนักควรช่วยกนั ยกหลายๆ คน
8. ห้ามหยอกล้อหรือเลน่ กันในขณะทางาน
9. ใชอ้ ุปกรณป์ ้องกันอันตรายในการปฏิบัตงิ านใหเ้ หมาะสม
10. ปฏิบัตติ ามกฎหรอื สญั ลกั ษณข์ องความปลอดภยั

นายชินพฒั น์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขท3ี่

Mathanol เมทานอล

ผู้จดั ทา
นายจริ พงศ์ เอกจะโปะ สปต.1/1 เลขท่ี 3
นายชนิ พัฒน์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขที่ 3

สารประกอบท่เี ป็นอนั ตราย

ชื่อสารเคมี : เมทลิ แอลกอฮอล์ (methyl alcohol)

PROTECTIVE EQUIPMENT REQUIRED ข้อมลู ทัว่ ไปของสารเคมี
จุดเดือด : 64.7 °C, 148.4 °F (338.8 K)
จุดหลอมเหลว : –97 °C, -142.9 °F (176 K)
ความเสถยี รและความว่องไวต่อปฏกิ ริ ิยาทางเคมี :
ระเหียง่าย สลายตวั ได้ในคาร์บอนไดออกไซด์และนา้
คาแนะนา : การได้รบั เมทานอลโดยการกลนื กนิ หรือหายใจเมทา
นอลอาจมอี าการปรากฏขึน้ หลังจาก 40 นาที ถึง 72 ชวั่ โมง อาการ
ทีป่ รากฏมกเกยี่ วกับระบบปราสาทสว่ นกลาง ตา ทางเดนอาหาร
เช่น ปวดศีรษะ มึนงง หนา้ มดื ตาพรา่ มวั ไวตอ่ แสง ถงึ ตาย

การปฐมพยาบาล
เม่ือสดู ดมสาร : ให้เคล่อื นท่ีออกไปในท่อี ากาศบรสิ ทุ ธิ์ พักหายใจใหส้ ะดวก
เมื่อสัมผัสสาร : ใหฉ้ ดี ล้างผวิ หนังทันทดี ว้ ยนาํ สะอาดปรมิ าณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พรอ้ มถอดเสอื ผา้ และรองเทา้ ที่

เปรอะเปือนสารเคมีออก
เมอื่ สารเขา้ ตา : ให้ฉดี ล้างตาทันทีดว้ ยนาํ สะอาดปรมิ าณมากๆ อยา่ งนอ้ ย 10 นาที พร้อมกระพรบิ ตาถีๆ ขณะทําการล้าง

นําส่งแพทย์
เมอื่ กลืนกนิ : ให้รับอากาศบริสุทธ์ิ บว้ นปาก ทาํ ให้อาเจียน ให้ ดืม่ เอทานอล นําส่งแพทยแ์ ละระบวุ า่ กลืนกินเมทานอลเข้าไป

เมื่อสารเกิดการรั่ว วิธีปอ้ งกันภยั ของบคุ คล : จาํ กดั การเขา้ ถงึ พนื้ ที่จนกว่าจะเสร็จสนการทาความสะอาด
ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ การลา้ งทําความสะอาดดาํ เนนิ การโดยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรม
เท่านน้ั สวมอุปกรณป์ ้องกันสวนบคคลทเพยงพอและกาํ จัดกกําเนิดประกายไฟและความรอ้ น
วิธีการทาความสะอาดหลงั การปนเปอ้ื น หรือรวั่ ไหล : การใชวสั ดดุ ดู ซบั ฟลูออโรโฟมทน
แอลกอฮอลอ์ าจจะนาไปใชเพือ่ ลดไอระเหยและการติดไฟ

การจัดเก็บ เกบ็ ในทเ่ี ย็น ในภาชนะท่ีปดิ สนิท และเกบ็ รักษาในท่ีทม่ี ีอากาศถา่ ยเทได้ดี

1.จงบอกความหมายของสัญลกั ษณ์ดงั รปู ท่ี 1

30 หมายถงึ ของเหลวไวไฟ (จดุ วาบไฟ
ระหวา่ ง 23 ° C ถงึ 60 ° C โดยประมาณ)
หรือของเหลวไวไฟหรอื ของแข็งในสถานะ
หลอมเหลวที่มจี ดุ วาบไฟเกิน 60 ° C ได้รับ
ความร้อนเท่ากับหรอื สงู กวา่ จุดวาบไฟของ
ตวั เองหรือของเหลวท่ีรอ้ นข้นึ ได้ดว้ ยตวั เอง

1202 หมายถงึ นา้่ มันเชือ้ เพลิง หรอื น่้ามนั
ดเี ซล หรอื น้่ามนั รอ้ น

Flammable ก๊าซไวไฟ 3 หมายถงึ ของเหลวหรอื ของเหลวผสมท่มี ีจดุ วาบไฟ
(Flash Point) ไม่เกนิ 60.5°C จากการทดสอบด้วยวิธถี ้วยปิด หรือไมเ่ กิน 65.6°C
จากการทดสอบดว้ ยวิธีถว้ ยเปดิ ไอของเหลวไวไฟพรอ้ มลุกตดิ ไฟเมือ่ มีแหล่ง
ประกายไฟ เช่น แอซโี ตน นา้่ มันเชือ้ เพลงิ ทินเนอร์ เปน็ ตน้

2.จงบอกความหมายของสญั ลกั ษณด์ งั รปู ที่ 2

23 หมายถึง แกส๊ ไวไฟ

1049 หมายถงึ ไฮโดรเจนภายใต้การอัดความดัน

นายชินพฒั น์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขท่ี 3

33 หมายถึง ของเหลวท่มี คี วามไวไฟสงู จดุ
วาบไฟต่าต่ากว่า 23 ° C

1203 หมายถงึ นา้่ มนั เช้ือเพลงิ เติมรถยนต์

วตั ถทุ ่ีเป็นอนั ตรายต่อสิง่ แวดลอ้ ม
(dangerous for environment)
สารเมอื่ ปล่อยสู่สภาพแวดลอ้ ม จะท่าไห้เกดิ
ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม

C

2.1 แกส๊ ไวไฟ (Flammable Gases) หมายถงึ แก๊ส
ทีอ่ ุณหภูมิ 20°C และมีความดัน 101.3 kP สามารถ
ตดิ ไฟได้เม่ือผสมกบั อากาศ 13% หรือต่ากวา่ โดย
ปรมิ าตร หรอื มีชว่ งกว้างทสี่ ามารถตดิ ไฟได้ 12% ขึ้น
ไป เมื่อผสมกับอากาศโดยไมค่ า่ นงึ ถงึ ความเขม้ ขน้
ต่าสุดของการผสม โดยปกติแก๊สไวไฟ หนกั กว่าอากาศ
ตวั อยา่ งของแก๊สกล่มุ นี้ เช่น อะเซทิลนี กา๊ ซหุงต้มหรอื
ก๊าซแอลพีจี เปน็ ตน้

นายชนิ พฒั น์ ใสไธสง
3 สปต.1/2

อันตรายตอ่
ส่ิงแวดล้อม
สารไวไฟ

วัตถรุ ะเบิด

สารกัดกร่อน

พิษเฉียบพลนั

การใช้ถุงมือให้เหมาะสมกับงาน !

การเลือกใช้ถุงมือ
1. ถุงมือที่ใช้งานต้องพอดีไม่คับหรือหลวมเกินไป
2. ถุงมือต้องยาวพอที่จะปกปิดผิวหนังส่วนที่พ้นเสื้อผ้าออกมาทั้งหมด ไม่มีที่ว่างระหว่างถุงมือและแขนเสื้อ
3. ห้ามใส่ถุงมอืที่มีส่วนประกอบของโลหะใกล้อุปกรณ์ หรือส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า
4. ห้ามใช้ถุงมือทีชำรุดหรือขาด
5. ห้ามใช้ถุงมือทำงานกับส่วนที่เคลื่อนที่ หรือหมุนได้ของเครื่องจักร เพราะถุงมืออาจถูกเกี่ยวเข้าไปในเครื่องได้
6. ถุงมือที่ใช้กับงานสารเคมีต้องล้างให้สะอาดก่อนถอดออก
7. ตรวจและทดสอบหาส่วนที่ชำรุดเสียหายของถุงมือก่อนใช้
8. ทดสอบหาจุดรั่วของถุงมือยางโดยการเป่าลมเข้าไป

ประเภทของถุงมือและการนำไปใช้งาน

ถุงมือผ้า
มีให้เลือกใช้หลายประเภททั้งผ้าฝ้ายหรือผ้าสังเคราะห์ ใช้กับการทำงานช่างทั่วไป
ทั้งงานหนักและงานเบา งานซ่อมแซม งานทาสี รวมถึงงานในสวนเน้นป้องกันสิ่ง
สกปรก ฝุ่น เสี้ยนไม้ เป็นต้น แต่ไม่นิยมนำไปใช้กับงานที่มีอุณหภูมิสูงและงานที่
เกี่ยวข้องกับสารเคมีหรือน้ำ เพราะถุงมือผ้าจะไม่สามารถป้องกันอันตรายและ
ของเหลวได้ ถุงมือผ้าควรเลือกจากรูปแบบของความหนาของผ้า

ถุงมือยาง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
- ถุงมือยางธรรมชาติ ซึ่งเหมาะกับงานซักล้างทั่วไปในครัวเรือน งานเกษตร รวมถึงงาน
ช่างที่ต้องเจอกับเคมีภัณฑ์ต่างๆ ถ้าต้องการเลือกซื้อถุงมือสำหรับการใช้งานในบ้านหรือ
งานเกษตร ควรเลือกซื้อถุงมือยางที่มีความหนาแบบชนิดพิเศษ
- ถุงมือยางสังเคราะห์ เหมาะสำหรับงานที่ต้องใกล้ชิดกับสารเคมีอันตราย กรด น้ำมัน
ถุงมือที่ใช้ในการแพทย์ ซึ่งมีให้เลือกใช้หลายเกรด เพื่อให้เหมาะกับงาน

ถุงมือเคลือบ PU (ถุงมือเซฟตี้)

ใชส้ ำหรับป้องกันอันตรายจากสิ่งมีคม หรือวัสดุแหลมคม ถุงมือนิรภัยนี้จะช่วยป้องกันการ
ขีดข่วนจากการหยิบจับวัสดุต่างๆ การเลือกใช้ถุงมือเซฟตี้ที่เหมาะสมจะต้องคำนึงถึงความ
ต้องการใช้งาน สภาพการทำงาน ตลอดจนสถานที่ที่ปฏิบัติงานเพราะถุงมือแต่ละชนิดผลิต
จากวัสดุที่มีคุณสมบัติในการทนทานต่ออันตรายและต้านทานสารพิษต่างกัน

ถุงมือหนังหรือถุงมือเชื่อม
มีหลากหลายแบบผลิตจากหนังสัตว์หรือหนังฟอก ถือว่าเป็นถุงมืออีกประเภทที่ได้
รับความนิยมในการใช้งาน เหมาะกับงานที่ต้องใกล้ชิดกับความร้อน ประกายไฟ
อย่างงานเชื่อมต่างๆ อีกทั้งความหนาของถุงมือยังช่วยปกป้องจากของมีคม
นอกจากนี้ยังเหมาะกับงานไฟฟ้าอีกด้วย

นายชินพัฒน์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขที่ 3

1.ปริมาณออกซิเจนเท่าไหร่ ท่ีทาให้ร่างกายแสดงอาการผดิ ปกตชิ ดั เจน ?
นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 23.5
2.ข้อใดคอื คนคนเดยี วกบั ผเู้ ฝ้าระวัง (Hole wathman)
ผชู้ ว่ ยเหลือ
3.ข้อใดตอ่ ไปนคี้ อื มาตรการเขา้ ทางานในที่ "ทไี่ มใ่ ช่อบั อากาศแต่มแี นวโน้มอันตราย"
ก.ตรวจวดั อากาศกอ่ นเขา้ ทางานทกุ ครง้ั
ข.ตรวจวัดอากาศทกุ ๆ 2 ชั่วโมง ขณะปฏิบตั งิ าน
ถูกทั้งขอ้ ก และ ข
4.การทางานในท่ีอับอากาศต้องตรวจวัดปรมิ าณออกซเิ จนใหไ้ มต่ ่ากวา่ ก่%ี vol
19.5
5.ข้อใดถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั การตดิ ต้ังอปุ กรณ์การระบายอากาศ

ไม่มีข้อถูก

6.ขอ้ ใดกล่าวผดิ เก่ยี วกบั นิยามพ้ืนท่ีอับอากาศ
ออกแบบมาเพือ่ ให้ปฏบิ ัติงานอย่างต่อเน่อื ง
7.ขอ้ ใดคอื หนา้ ทขี่ องผู้ช่วยเหลอื
ดแู ลไม่ใหผ้ ู้ไมเ่ กย่ี วข้องเข้าพืน้ ท่ี
ตรวจสอบรายชือ่ และจานวนผ้เู ข้าปฏิบตั งิ าน
ตรวจสอบอปุ กรณ์ช่วยชีวิตให้พรอ้ มใชง้ าน
ถูกทุกข้อ

8.ข้อใดคืออุปกรณ์สาหรับทางานในพน้ื ท่อี ับอากาศ

9.ขอ้ ใดหมายถงึ พืน้ ทอี่ ับอากาศ
Confined Space
10.ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ หน้าทีข่ องผู้ควบคมุ
ออกหนังสอื อนุญาตทางานอนมุ ัตใิ หม้ ีการทางานในทีอ่ ับอากาศ
11.ข้อใดไม่ใช่อปุ กรณค์ วามปลอดภัยหรือเครอ่ื งมอื สาหรับทางานในทอ่ี ับอากาศ
หลอดไฟแสงสว่างต้องเปน็ ชนดิ 220 Volt
12.ข้อใดไม่ใช่อาการของผ้รู บั บรรยากาศทมี่ อี อกซิเจนมากเกินไป ?
เกิดการลุกตดิ ไฟไดย้ าก
13.ขอ้ ใดต่อไปนค้ี อื มาตรการเขา้ ทางานในที่ "ที่ไม่ใช่อับอากาศแต่มีแนวโนม้ อนั ตราย"
ก.ตรวจวดั อากาศก่อนเข้าทางานทกุ คร้งั
ข.ตรวจวัดอากาศทุกๆ 2 ชว่ั โมง ขณะปฏิบตั งิ าน
ถกู ทงั้ ขอ้ ก และ ข
14.สภาพอันตราย คือ?
ก.มีออกซเิ จน ร้อยละ 21

ค.มสี ภาพทอ่ี าจทาให้ตก ถูกกกั หรอื ติดอยู่ภายใน
คาตอบข้อ ข และ ค ถูกตอ้ ง
15.ขอ้ ใดถกู ตอ้ งเก่ียวกบั การติดตั้งอุปกรณ์การระบายอากาศ

16.ข้อใดไม่ใชบ่ รรยากาศอันตราย ?
มีกา๊ ซ ไอ ละอองท่ีตดิ ไฟหรือระเบดิ ได้ เท่ากบั LEL
17.ข้นั ตอน A ตรงกับข้อใด

ตรวจวดั ปริมาณไฮโดรคารบ์ อน และ %LEL

18.ข้อใดถูกตอ้ งเกย่ี วกบั การตดั แยกระบบ
การตัดแยกแหล่งพลังงานไฟฟ้า อปุ กรณ์ท่สี ามารถหมุนหรือเคล่อื นทีไ่ ด้
การต้องตัดแยกสารเคมี หรือ วตั ถุอนั ตราย
ทาความสะอาดสารท่ีตกค้างภายในพ้ืนทอี่ บั อากาศ
ถูกทุกข้อ
19.ข้อใดไมใ่ ช่ผูเ้ ก่ียวขอ้ งกบั งานอับอากาศ
ผสู้ ั่งการ
20.กา๊ ซข้อใดหนกั กวา่ อากาศ
H2S
21.ตามกฎกระทรวง ต้องทาการตรวจวัดเพ่ือหาค่าอะไรบ้าง ?
ปริมาณกา๊ ซออกซิเจน
ปรมิ าณกา๊ ซติดไฟ
ปริมาณความเข้มขน้ ของสารเคมีในบรรยากาศ
ถูกทุกข้อ
22.ข้อใดถกู ต้องเก่ียวกบั การติดต้งั อุปกรณก์ ารระบายอากาศ

ถูกทุกข้อ

23.ข้อใดลาดบั ขน้ั ตอนการทางานในท่อี ับอากาศได้ถกู ตอ้ ง
เขียน Work permit>LOTO/LB>เตรียมงานสาหรบั งานอบั อากาศ>ทา JSA และ Rescue Plan>ตรวจวดั
GAS>อนุญาตทางาน>เขา้ ทางาน/ตรวจวัด Gas เปน็ ระยะ>ปดิ Work permit
24.ภาพใดแสดงงาน Line break

25.ภาพใดแสดงงาน Line break

ถูกทกุ ขอ้
26.สถานประกอบกิจการทมี่ ที ี่อับอากาศ ตอ้ งดาเนนิ การอยา่ งไร?
จดั ทาแผ่นป้าย “ทอี่ ับอากาศ อนั ตราย ห้ามเขา้ ”
27.บคุ ลากรในข้อใดไมต่ ้องผ่านการอบรมการทางานในท่ีอบั อากาศ
พนักงานปฏบิ ัติการผลติ
28.ข้อใดไม่เขา้ ข่ายงานในท่อี ับอากาศ
มขี นาดใหญไ่ ม่พอทีจ่ ะใหท้ ัง้ รา่ งกายเข้าได้

29.ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกยี่ วกับการเขา้ ทางานในท่อี บั อากาศ
ต้องมกี ารบันทกึ ช่อื กรณีเข้า-ออกทอ่ี ับอากาศทุกคร้งั
30.อันตรายทางกายภาพ ในทอ่ี บั อากาศ ได้แก่ขอ้ ใด?
เสยี งดงั ความร้อนสงู
ความสน่ั สะเทอื น แสงสว่างไม่เพียงพอ
สะดุด หกลม้ กระแทก
ถูกทุกข้อ
31.ขอ้ ใดถูกตอ้ งเก่ียวกับมาตการบรหิ ารจัดการความปลอดภยั ในการทางานบนทส่ี งู
ติดตั้งอปุ กรณ์ป้องกันการตก เพื่อลดความเส่ยี ง
พ้นื ท่ที างานปราศจากปจั จยั ทท่ี าให้สะดุด ลื่น
กั้น หรือปิดชอ่ งเปดิ บนพื้นให้แขง็ แรง พรอ้ มป้ายเตือนอันตราย
ถูกทุกข้อ
32.ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

33.ขอ้ ใดถกู ต้องเก่ยี วกบั อปุ กรณล์ ดแรงกระแทก(Shock absorber)เมอื่ ใส่แล้วตกจากทสี่ งู
หา้ มคลอ้ งหรือพาดผา่ นจุดทมี่ ีความคม

34.ข้อใดถกู ต้อง

35.ขอ้ ใดถูกตอ้ งเกี่ยวกบั ระยะในรปู

E= ระยะเผอื่ เพือ่ ความปลอดภยั = 1 เมตร
36.ให้มีน่งั รา้ นมาตรฐาน เข็มขัดนิรภยั เชือกนริ ภัย สาหรบั ท่ีลาดชันเกินก่ีองศา
30 องศา

37.จากรูปข้อใดมชี ื่อวา่ D – ring

5
38.ขอ้ ใดถกู ต้องเก่ียวกบั ทางเดนิ ชวั่ คราว ในการทางานบนที่สูงทนี่ ายจ้างต้องจดั สรา้ ง
รับน้าหนกั บรรทกุ ไม่น้อยกวา่ 250 กิโลกรมั ต่อตารางเมตร
มีความกวา้ งไมน่ ้อยกวา่ 45 เซนติเมตร
มรี าวก้นั หรือรว้ั กันตก
ถูกทุกข้อ
39.ขอ้ ใดคืออุปกรณป์ ้องกนั การตกจากทีส่ งู
PFAS
40.ขอ้ ใดคอื อนั ตรายจากการทางานบนที่สงู
ก.การตกจากทส่ี งู
ข.การทาของตกจากท่ีสงู
ง.ถูกท้ังขอ้ ก.และ ข.

41.ข้อใดเป็นการกระทาท่ีปลอดภยั

42.การทางานบนถงั บ่อ เสา ตอม่อ ปล่อง หรอื คานท่มี ีความสงู ตั้งแต่ 4 เมตร ข้นึ ไป ขอ้ ใดนายจ้างไม่
จาเปน็ ตอ้ งจดั เตรยี ม
ขาหยง่ั และม้ายนื
43.ขอ้ ใดคือ Full body harness

44.หา้ มทางานบนท่ีสงู ในกรณใี ด
ลมพายุพัดแรง
45.ลูกจา้ งต้องทางานบนพ้ืนตา่ งระดับทมี่ คี วามสูงตามข้อใดใหน้ ายจ้างจัดให้มีบนั ไดทีม่ น่ั คงเพื่อความปลอดภยั
ตง้ั แต่ 1.5 เมตรขน้ึ ไป

46.ขอ้ ใดเปน็ การกระทาทีไ่ มป่ ลอดภยั

47.ขอ้ ใดคือสง่ิ ทน่ี ายจ้างต้องเตรยี มเพอ่ื ป้องกนั การกระเด็นหรอื ตกหลน่ ของวสั ดุ
ผา้ ใบ หรอื ตาข่าย
ราง หรือปลอ่ งลาเลียงวัสดุ
สายพาน หรอื เชือกทม่ี นั่ คงแข็งแรง
ถูกทุกข้อ
48.จากรปู ขอ้ ใดมีชือ่ ว่า Lanyard

1

49.ขอ้ ใดถูกต้อง

ถูกทุกข้อ
50.ข้อใดคอื อปุ กรณ์ป้องกนั การตกจากที่สงู เมอ่ื ตกจากที่สงู สามารถทนไดแ้ ค่ 90 วนิ าที เนอื่ งจากมีการดึงรัด
กระบังลม ชอ่ งทอ้ งของผูส้ วมใส่ ถ้าใชต้ ้องช่วยเหลอื กอ่ น 90 วนิ าที
Safety Belt

นายชนิ พฒั น์ ใสไธสง สปต.1/2 เลขท่ี 3


Click to View FlipBook Version