The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แก้ญี่ปุ่น(ฟี)

แก้ญี่ปุ่น(ฟี)

ฮริ ะงะนะ

ฮริ ะงะนะ (平仮名) คือ อักษรในภาษาญี่ป่ ุน ซ่ึงเป็นหน่ึงในสามของอกั ษรญป่ี ่ ุนท่ใี ชใ้ นปัจจบุ นั
ควบคกู่ บั คะตะคะนะ และ คนั จิ ซ่ึง ฮิระงะนะ และ คะตะคะนะ ท้งั คู่เป็นระบบคะนะท่ีตวั อกั ษรหน่ึงตวั แสดง
ถงึ หน่ึงเสียง ในแตล่ ะ"คะนะ"สามารถเป็นไดท้ ้งั ในรูปสระและวรรณยกุ ต์หรือตวั สะกด
ทีม่ า
ฮิระงะนะพัฒนามาจากอกั ษรจีน เร่ิมแรกเรียก onnade หรือ มอื ของผหู้ ญิง เพราะใช้เขยี นโดยผหู้ ญงิ เป็ นส่วน
ใหญ่ ผชู้ ายจะเขยี นโดยใชค้ นั จิและคะตะคะนะ ประมาณ พ.ศ. 1500 ฮริ ะงะนะจงึ ใชโ้ ดยทว่ั ไป คาวา่ ฮริ ะงะ
นะ หมายถงึ อักษรพยางคส์ ามญั รูปแบบแรกๆของฮิระงะนะ มสี ัญลักษณ์หลายตวั ที่ออกเสียงเหมอื นกนั
ระบบการเขียนมคี วามแตกตา่ งกนั ข้ึนกบั ผูเ้ ขยี นแต่ละคน รฐั บาลญปี่ ่ ุนเขา้ มาจดั รูปแบบเม่อื พ.ศ. 2489 จงึ
กลายเป็นอกั ษรทใ่ี ช้ในปัจจบุ นั
ลกั ษณะและการใช้ฮริ ะงะนะ
ฮริ ะงะนะมีสัญลกั ษณ์ 48 ตวั และมักใช้ในการลงทา้ ยคา (okurigana) ในภาษาญีป่ ่ นุ ใชส้ าหรับคาท่ไี มม่ ีใน
ตวั อกั ษรคันจิ หรือใช้ในส่วนทา้ ยของคากริยาหรือใช้เป็นคาช่วย ใช้โดยทว่ั ไปในส่ือสาหรบั เดก็ ตาราเรียน
และหนังสือการ์ตนู และฮริ ะงะนะใช้สาหรบั เป็ นคาอ่านสาหรับตวั อักษรคันจิ เพื่อช่วยให้ผอู้ ่านได้ ซ่ึงเรียกวา่
ฟรุ ิงะนะ ในหนงั สือพิมพ์เป็นกฎทต่ี ้องใส่ฟรุ ิงะนะคู่กบั คนั จิ ที่นอกเหนือไปจากคนั จิท่ีทางราชการรับรองว่า
เป็นคนั จทิ ใ่ี ชบ้ ่อย 1,945 ตวั หนงั สือพิมพส์ ่วนใหญ่ จะไม่ใชค้ นั จิ นอกเหนือไปจากคนั จิกลุ่มน้ี

ในปัจจุบนั มีระบบฮริ ะงะนะ 2 แบบคือ อโิ ระฮะ ฮริ ะงะนะแบบเกา่ และแบบ โกะจูโอ็ง แบบใหม่

あ อะ สระ และ พยญั ชนะ お โอะ (ยะ) yōon
か คะ い อิ う อุ え เอะ (ยุ) (โยะ)

き คิ く คุ け เคะ こ โคะ きゃ เคยี ะ きゅ คิว きょ เคียว

さ สะ し ชิ す สุ せ เสะ そ โสะ しゃ ชะ しゅ ชึ,ชุ しょ โชะ

た ทะ, ตะ ち ฉิ つ ทสึ て เทะ, เตะ と โทะ, ちゃ ฉะ ちゅ ฉึ,ฉุ ちょ โฉะ
な นะ に นิ ぬ นุ ね เนะ โตะ

の โนะ にゃ เนยี ะ にゅ นิว にょ เนียว

は ฮะ ひ ฮิ ふ ฟุ へ เฮะ ほ โฮะ ひゃ เฮียะ ひゅ ฮิว ひょ เฮียว

ま มะ み มิ む มุ め เมะ も โมะ みゃ เมยี ะ みゅ มิว みょ เมยี ว

や ยะ ゆ ยุ よ โยะ

ら ระ り ริ る รุ れ เระ ろ โระ りゃ เรียะ りゅ ริว りょ เรียว

わ วะ ゐ*** วิ ゑ*** เวะ を
**** โอะ
が งะ, กะ ぎ งิ, กิ ぐ งุ, กุ げ เงะ, เกะ
ざ ซะ じ จิ* ず ซึ** ぜ เซะ ん -น

ご โงะ, ぎゃ กงิ ぎゅ กงิ ยึ ぎょ กงิ

โกะ ยะ โยะ

ぞ โซะ じゃ จะ じゅ จึ,จุ じょ โจะ

だ ดะ ぢ จิ* づ ทซึ** で เดะ ど โดะ ぢゃ (จะ) ぢ ぢょ (โจะ)
ば บะ び บิ ぶ บึ べ เบะ ゅ (จึ,จ)ุ

ぼ โบะ びゃ บิ ยะ びゅ บิ ยึ びょ บิ โยะ

ぱ พะ ぴ พิ ぷ พึ ぺ เพะ ぽ โพะ ぴゃ เพยี ะ ぴゅ พิ ยึ ぴょ พิ โยะ

รูปแบบตวั เลขของญ่ปี ่ นุ [แก]้
ตวั เลขญ่ีป่ นุ น้นั สามารถเขียนไดส้ องลกั ษณะคอื ตวั เลขแบบฮินดอู ารบกิ และตวั เลขแบบญป่ี ่ ุน

เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขแบบ เสียงอง (On-yomi) เสียงคนุ (Kun-yomi)
ญ่ีป่ นุ

0 ゼロ, 〇 れい [rei, เรย]์ ゼロ [zero, เซโระ]

1 一 いち [ichi, อิชิ] ひと [hito, ฮโิ ตะ]

2 二 に [ni, น]ิ , じ [ji, จ]ิ ふた [futa, ฮตุ ะ]

3 三 さん [san, ซงั ] み [mi, มิ], みっ [mit, มิท]

4 四 し [shi, ฉิ] よん [yon, โยง], よ [yo, โยะ], よっ
[yot, โยท]

5 五 ご [go, โกะ] いつ [itsu, อทิ สึ]

6 六 ろく [roku, โรค]ุ む [mu, มุ], むっ [mut, มุท]

7 七 しち [shichi, ฉิช]ิ なな [nana, นะนะ]

8 八 はち [hachi, ฮะช]ิ や [ya, ยะ], やっ [yat, ยทั ]

9 九 きゅう [kyū, ควิ ], く ここの [kokono, โคะโคะโนะ]
[ku, คุ]

10 十 じゅう [jū, จวู ] とお [tō ,โทว]

20 二十 にじゅう [nijū, นจิ วู ] はた [hata ,ฮะตะ]

30 三十 さんじゅう [sanjū, みそ [miso, มโิ สะ]
ซังจวู ]

100 百 ひゃく [hyaku, ฮยะคุ] もも [momo, โมะโมะ]

1,000 千 せん [sen, เซง] ち [chi, ชิ]

10,000 万 まん [man, มงั ] よろず [yorozu, โยะโระซึ]

100,000,000 億 おく [oku, โอคุ] -

ตามปกติแลว้ การนับเลขของญ่ีป่ นุ จะใชเ้ สียงอง (音読み) ในการนับ แต่กม็ บี างคร้งั ท่ีจะอา่ นออกเสยี งคนุ (訓読
み) หรือบางคร้งั ก็จะออกเสียงตา่ งจากระบบตวั เลขออกไป เช่น วนั ท่ีหน่งึ ในภาษาญี่ป่ นุ ถึงแมว้ า่ จะเขยี นเป็น 一日 แตค่ า
อ่านน้นั กจ็ ะเป็น ついたち [tsuitachi, สึอทิ ะชิ] แทน หรือการนับสิ่งของในภาษาญปี่ ่ ุน ก็จะนับเป็น 一つ
[hitotsu, ฮโิ ตะทสึ]、二つ [futatsu, ฮุตะทสึ]、... แทน

คาศพั ทก์ ารนบั วนั ที่/วนั เดือนปี ของญี่ป่ นุ

เรม่ิ แรกเราจะมาฝึกจาคาศพั ทก์ ารนบั วนั ที่ของญ่ปี ่นุ กนั

การนับวันที่ ついたち ส-ึ อิ-ตา-จิ
วันท่ี 1 ふつか ฟุ-สึ-กะ
みっか มิก-กะ
วันท่ี 2 よっか
ยก-กะ
วันที่ 3

วันที่ 4

วนั ท่ี 5 いつか อิ-ส-ึ กะ
วนั ท่ี 6 むいか มุ-อิ-กะ

วนั ท่ี 7 なのか นะ-โนะ-กะ
วนั ท่ี 8 ようか โย-กะ

วันที่ 9 ここのか โค-โคะ-โนะ-กะ
วันที่ 10 とおか โท-กะ
วนั ท่ี 11 じゅういちにち
วนั ที่ 12 じゅうににち จู-อิ-จิ-นิ-จิ
วนั ที่ 13 じゅうさんにち จู-นิ-นิ-จิ
วันที่ 14 じゅうよっか จู-ซงั -นิ-จิ
วันที่ 15 じゅうごにち จู-ยก-กะ
วนั ท่ี 16 じゅうろくにち จู-โกะ-นิ-จิ

จู-โล-ก-ุ นิ-จิ

วันที่ 17 じゅうしちにち จู-ชิ-จิ-นิ-จิ
วันท่ี 18 じゅうはちにち จู-ฮา-จิ-นิ-จิ
วนั ท่ี 19 じゅうくにち
วนั ที่ 20 はつか จู-ค-ุ นิ-จิ
วนั ท่ี 21 にじゅういちにち ฮา-ส-ึ กะ
วันที่ 22 にじゅうににち นิ-จู-อิ-จิ-นิ-จิ
วนั ที่ 23 にじゅうさんにち นิ-จู-นิ-นิ-จิ
วันที่ 24 にじゅうよっか นิ-จู-ซงั -นิ-จิ
วันที่ 25 にじゅうごにち นิ-จู-ยก-กะ
วนั ท่ี 26 にじゅうろくにち นิ-จู-โกะ-นิ-จิ
วนั ท่ี 27 にじゅうしちにち นิ-จู-โล-ก-ุ นิ-จิ
วนั ที่ 28 にじゅうはちにち นิ-จู-ชิ-จิ-ฮา-จิ
วนั ท่ี 29 さにじゅうくにち นิ-จู-ฮา-จิ-นิ-จิ
วันที่ 30 さんじゅうにち นิ-จู-ค-ุ นิ-จิ
วันที่ 31 さんじゅういちにち ซงั -จู-นิ-จิ
ซงั -จู-อิ-จิ-นิ-จิ

วัน (โยอบุ /ิ นจิ ิ) ようび/日

วนั อาทติ ย์ にちようび นิ-จิ-โย่-บิ
เก็ท-ส-ึ โย่-บิ
วันจันทร์ げつようび

วนั อังคาร かようび คะ-โย่-บิ
วันพธุ すいようび ซุย-โย-บิ
วนั พฤหัสบดี もくようび โม-ก-ุ โย่-บิ
วันศุกร์ きんようび คนิ -โย่-บิ
วันเสาร์ どようび โดะ-โย่-บิ

เดือน (เกซึ/ซึกิ) がつ/月

มกราคม いちがつ(一月) อิ-จิ-เก-ซึ
นิ-เก-ซึ
กุมภาพนั ธ์ にがつ(二月) ซนั -เก-ซึ
ชิ-เก-ซึ
มนี าคม さんがつ(三月) โก-เก-ซึ
โร-กุ-เก-ซึ
เมษายน しがつ(四月) ชิ-จิ-เก-ซึ
ฮะ-เก-ซึ
พฤษภาคม ごがつ(五月)
ค-ุ เก-ซึ
มถิ ุนายน ろくがつ(六月) จู-เก-ซึ
จู-อิ-ชิ-เก-ซึ
กรกฎาคม しちがつ(七月) จู-นิ-เก-ซึ

สงิ หาคม はちがつ(八月)

กนั ยายน くがつ(九月)

ตลุ าคม じゅうがつ(十月)

พฤศจิกายน じゅういちがつ(十一月)

ธันวาคม じゅうにがつ(十二月)

ประโยคบอกวนั เวลา มีรูปแบบการใช้งาน คือ

「สรรพนามบอกวนั เวลา」+ は +「วนั เวลา」+ です。

① 今 は 10時 10分 で
す。
Ima wa juuji juppun desu
ขณะน้ีเวลา 10 นาฬิกา 10 นาทีครบั /
คะ่

② 今日 は 日曜日 です。
Kyou wa nichiyoubi desu
วนั น้วี นั อาทติ ยค์ รับ/ค่ะ

③ 今日 は 24日 です。
Kyou wa nijuuyokka desu
วนั น้วี นั ท่ี 24 ครบั /คะ่

④ 明日 は 12月 25日 です

Ashita wa juunigatsu nijuugonichi
desu
พรุ่งน้วี นั ที่ 25 เดอื นธนั วาคมครับ/คะ่

ช่วั โมง นาที วนิ าที

一 ตีหน่ึง, 1 一 ippun 1 一 ichibyou
時 บ่ายโมง นาที 分 วนิ าที 秒
ichiji
2 2
นาที 二 nifun วินาที 二 nibyou
分 秒

二 ตสี อง, 3 三 sanpun 3 三 sanbyou
時 บา่ ยสอง นาที 分 วินาที 秒
niji โมง
4 4
นาที 四 yonpun วินาที 四 yonbyou
分 秒

5 五 gofun 5 五 gobyou
นาที 分 วนิ าที 秒

三 sanji ตสี าม, 6 六 roppun 6 六 rokubyou
時 บา่ ยสาม นาที 分 วินาที 秒
โมง
7 七 nanafun 7 七 nanabyou
นาที 分 วินาที 秒
四 ตีสี่, ส่ีโมง
時 yoji เยน็ 8 八 happun 8 八 hachibyou
นาที 分 วนิ าที 秒

五 goji ตหี า้ , หา้ 9 九 kyuufun 9 九 kyuubyou
時 โมงเยน็ นาที 分 วินาที 秒

10 十 juppun 10 十 juubyou
นาที 分 วินาที 秒
หกโมงเชา้
六 rokuji , หกโมง ก่ี 何 nanpun ก่ี 何 nanbyou
時 เยน็ นาที 分 วนิ าที 秒

七 shichiji เจ็ดโมงเช้า
時 , หน่ึงทมุ่

八 แปดโมง

hachiji เช้า, สอง
ทุ่ม

九 kuji เกา้ โมง,
時 สามท่มุ

十 juuji สิบโมง, สี่
時 ทมุ่

十 สิบเอ็ด
一 juuichiji โมง, ห้า

時 ทุม่

十 juuniji เทยี่ ง,
二 เทย่ี งคืน


何 nanji ก่ีโมง


สใี นภาษาญป่ี ่ นุ (色)
มาเรยี นรู้คาศพั ท์จากภาษาญ่ปี ่ นุ กันเถอะ

หมวดสตี า่ งๆ (色)(iro) = สี

1. 青 (あお)(ao) = สนี ้ำเงนิ
2. 赤い(あか)(aka) = สแี ดง
3. 黄色(きいろ)(kiiro) = สเี หลอื ง
4. 紫(むらさき)(murasaki) = สมี ว่ ง
5. 緑色(みどり)(midori) = สเี ขยี ว
6. 茶色(ちゃいろ)(chairo) = สนี ้ำตำล

7. 黒(くろ)(kuro) = สดี ำ
8. 白(しろ)(shiro) = สขี ำว
9. グレー (gure) หรอื 灰色(はいいろ)(haiiro) = สเี ทำ
10. ピンク (pinku) = สชี มพู
11. 桃色(ももいろ)(momoiro) = สพี ชี
12. ベージュ (beju) = สเี นอื้
13. ゴールド (gorudo) = สที อง
14. オレンジ (orenji) = สสี ม้
15. 水色(みずいろ)(mizuiro) = สฟี ้ำออ่ น
16. 黄緑(きみどり)(kimiiro) = สเี ขยี วอ่อน

ผลไม้ (ภาษาญปี่ ่ นุ )

苺 (ichigo) = สตรอเบอร์รี่
木苺 (kiichigo) = ราสเบอรร่ี
桜んぼ (sakuranbo) = ลูกเชอร์ร่ี
柿 (kaki) = ลกู พลบั
李 (sumomo) = ลกู พลมั
吊るし柿 (tsurushigaki) = ลูกพลบั แหง้
桃 (momo = ลูกพีช
蜜柑 (mikan) = สม้
西瓜 (suika) = แตงโม
林檎 (ringo) = แอปเป้ิล
葡萄 (budou) = องนุ่
梨 (nashi) = สาล่ี

หมวดรา่ งกาย

• 1. 体 (からだ) อ่ำนวำ่ คะ-ระ-ดะ แปลว่ำรำ่ งกำย
• 2. 髪 (かみ) อ่ำนว่ำ คะ-มิ แปลวำ่ ผม
• 3. 髪の毛 (かみのけ) อ่ำนวำ่ คะ-ม-ิ โนะ-เคะ แปลว่ำเสน้ ผม
• 4. 頭 (あたま) อ่ำนวำ่ อะ-ทะ-มะ แปลว่ำศีรษะ
• 5. 顔 (かお) อ่ำนวำ่ คะ-โอะ แปลว่ำหนำ้ , ใบหนำ้
• 6. 眉毛 (まゆげ) อำ่ นว่ำ มะ-ยุ-เกะ แปลว่ำคว้ิ

7. 目 (め) อ่านว่า เมะ แปลว่าตา, ดวงตา

• 8. 耳 (みみ) อ่ำนว่ำ ม-ิ มิ แปลว่ำหู
• 9. 鼻 (はな) อ่ำนวำ่ ฮำ-นะ แปลวำ่ จมกู
• 10. 髭 (ひげ) อำ่ นว่ำ ฮ-ิ เกะ แปลว่ำหนวด,เครำ
• 11. 口 (くち) อำ่ นว่ำ คุ-จิ แปลวำ่ ปำก
• 12. 歯 (は) อ่ำนว่ำ ฮะ แปลวำ่ ฟัน
• 13. 舌 (した) อ่ำนวำ่ ช-ิ ตะ แปลวำ่ ลิน้
• 14. 首 (くび) อ่ำนว่ำ คุ-บิ แปลว่ำคอ
• 15. 鎖骨 (さこつ) อ่ำนว่ำ ซะ-โคะ-สึ แปลวำ่ ไหปลำรำ้
• 16. 肩 (かた) อ่ำนว่ำ คะ-ตะ แปลวำ่ ไหล่, หัวไหล่

• 17. 胸 (むね) อำ่ นว่ำ มุ-เนะ แปลวำ่ หนำ้ อก
• 18. 背中 (せなか) อำ่ นว่ำ เซะ-นะ-กะ แปลวำ่ หลัง, แผน่ หลงั
• 19. 腕 (うで) อำ่ นว่ำ อุ-เดะ แปลว่ำแขน
• 20. 肘 (ひじ) อำ่ นวำ่ ฮ-ิ จิ แปลว่ำขอ้ ศอก
• 21. 手 (て) อำ่ นว่ำ เทะ แปลวำมอื
• 22. お腹 (おなか) อำ่ นว่ำ โอะ-นะ-คะ แปลว่ำทอ้ ง
• 23. 脚 (あし ) อ่ำนวำ่ อะ-ชิ แปลว่ำขำ
• 24. 膝 (ひざ) อ่ำนว่ำ ฮ-ิ ซะ แปลว่ำหัวเขำ่
• 25. 足 (あし) อำ่ นว่ำ อะ-ชิ แปลวำ่ เทำ้

ตวั อยา่ งประโยคคาถาม
田中 : マリさんの髪の色はなんですか?
[ทะนะกะ : มะล-ิ ซงั -โนะ-คะม-ิ โนะ-อโิ ละ-วะ-นั่น-เดส-กะ]
ทะนะกะ : สผี มของคณุ มะลเิ ป็ นสอี ะไร?

ตวั อยา่ งประโยคบอกเลา่
吉田 : 茶色だと思います。
[โยชดิ ะ : ชะ-อิโละ-โตะ-โอะ-โมย่ -มสั ]
โยชดิ ะ : ฉันคิดว่ำน่ำจะเป็ นสนี ้ำตำล (สชี ำ) นะ

ตวั อยา่ งประโยคปฏเิ สธ
マリ : 茶色じゃない, 私の髪の色はチョコレートです
มะลิ : ชะ-อโิ ละ-จำ-ไน่ , วะตำช-ิ โนะ-คะม-ิ โนะ-อโิ ละ-วะ-ช็อคโกแลต-เดส
มะลิ : ไมใ่ ชส่ นี ้ำตำลนะคะ ผมของฉันเป็ นสชี อ็ คโกแลตค่ะ

คาทักทายกล่าวสวสั ดี

สวัสดีตอนเช้า (อรุณสวัสดิ์)

おはようございます (Ohayo gozaimasu)

• เสยี งอา่ น: โอฮาโย โกะไซมัส
• ความหมาย: อรุณสวสั ด์ิ (Good Morning)

คำแนะนำในกำรใช้

「おはようございます」(Ohayo (gozaimasu)) เป็นประโยคสวสั ดตี อนเชำ้ หรอื “อรณุ
สวสั ด”์ิ นั่นเองค่ะ ซง่ึ ใชพ้ ดู กบั ผใู ้ หญห่ รือพูดแบบสุภำพ ถำ้ ใชก้ ับเพื่อนทสี่ นทิ หรอื คนในครอบครวั
จะพดู กนั สนั้ ๆ แค่ 「おはよう」 (Ohayo)

รู้หรือไม!่ ?

คำวำ่ 「おはよう」(Ohayo) นนั้ ไม่ใชค่ ำย่อของ 「おはようございます」(Ohayo
gozaimasu) เป็ นคำทเ่ี รำคำดไม่ถงึ เลยใชม่ ยั้ คะ โดยปกตคิ ดิ ว่ำเป็นคำเดยี วกนั แตเ่ รยี กยอ่ ๆ จรงิ ๆ
แลว้ 「おはよう」 (Ohayo) นัน้ ยอ่ มำจำกคำพวกนี้ “ถำ้ ตน่ื เชำ้ ๆ มนั ดตี ่อสขุ ภำพนะ”, “นเี่ ชำ้ แลว้
เนอ๊ ะ” หรือ “มำแตเ่ ชำ้ เลย รบกวนดว้ ยนะ” อะไรประมำณนี้มำกกว่ำ สำหรบั กำรใช ้ 「おはよう」
(Ohayo) นัน้ สำมำรถใชไ้ ดก้ บั คนในครอบครวั เพ่อื นสนิท อยำ่ ใชก้ ับผูใ้ หญ่ หรอื คนทไ่ี มส่ นทิ
เดด็ ขำดเลย (แปลโดย: Tcin Chadin-san)

สวสั ดตี อนเทีย่ ง/ตอนบ่าย

こんにちは (Konnichiwa)

• เสยี งอ่าน: คอนนจิ ิวะ
• ความหมาย: สวสั ดีตอนเท่ียงหรือตอนบ่าย (Good Afternoon)

คำแนะนำในกำรใช้

「こんにちは」(Konnichiwa) เป็ นคำทใ่ี ชส้ วสั ดตี อนเทยี่ งหรือตอนบ่ำย โดยสว่ นตัวผเู ้ ขยี นแลว้
กำรทักทำยภำษำญปี่ ่ นุ มกั จะมสี ำเนียงทแี่ ตกต่ำงกนั อยำ่ งละนดิ ละหนอ่ ย หำกใครสนใสส่ ำเนียงญปี่ ่ ุน
หนอ่ ยก็ลองออกเสยี งสนั้ ๆประมำณวำ่ “คนนจิ วิ ะ” เสยี งตน้ จะรวบเสยี ง “อ” จนแทบจะไม่ไดย้ นิ เสยี ง
และเสยี งลงทำ้ ยทำ้ ยตรง “วะ” ใหล้ งดว้ ยโทนต่ำ จำกทเ่ี คยไดย้ นิ มำคนญป่ี ่ นุ จะออกเสยี งประมำณนี้
ละ่ คะ่ แตก่ ม็ สี ำวๆ ทมี่ ักจะม๊งุ ม๊งิ เวลำพดู กจ็ ะไม่ลำกเสยี งตำ่ แต่จะใชเ้ สยี งโทนกลำง หรือสูงนดิ
หน่อยใหด้ เู ป็ นสำวนอ้ ย

สวัสดตี อนเย็น

こんばんは (Kombanwa)

• เสยี งอา่ น: คอมบงั วะ
• ความหมาย: สวสั ดีตอนเย็น (Good Evening)

คำแนะนำในกำรใช้

「こんばんは」 (Kombanwa) เป็ นคำสวดั ตี อนเยน็ กำรออกสยี งเท่ำทเ่ี รำจับใจควำมไดก้ ็จะ
คลำ้ ยดำ้ นบนคอื “คมบังวะ” ลงดว้ ยเสยี งตำ่ ถำ้ สำวนอ้ ยหนอ่ ยขนึ้ โทนสูง แตถ่ ำ้ สำวเหลอื นอ้ ยนกี่ ็
อำจจะเพมิ่ อำกำรส่นั ในเสยี งไปดว้ ยก็ไม่ว่ำกนั (ฮำ~)

สวสั ดีตอนกลางคืน (ราตรีสวสั ดิ์)

おやすみ(なさい) (Oyasumi (nasai))

• เสยี งอ่าน: โอยาสมุ ิ (นาไซ)
• ความหมาย: ราตรสี วสั ด์ิ (Good Night)

คำแนะนำในกำรใช้

「おやすみなさい」 (Oyasuminasai) เป็นคำสวัสดตี อนกลำงคนื ใชพ้ ูดก่อนนอนแปลวำ่
“รำตรสี วัสด”์ิ นน่ั เอง ถำ้ เป็ นคนสนิทกันมำกๆ จะพดู กันสัน้ ๆ แค่ 「おやすみ」 (Oyasumi) ก็ได ้
นะคะ ทงั้ นขี้ นึ้ อย่กู บั ระดับควำมสมั พันธข์ องคนพูดกบั คนทพ่ี ดู ดว้ ย

เกร็ดความรู้คากล่าวสวสั ดี

การออกเสียง

แมใ้ นตวั เขยี นแบบญ่ปี ่นุ คาขา้ งหนา้ จะเขียน 「こん」(Kon) เหมอื นกันแตก่ ารออกเสียงใน 「こんにちは」
(Konnichiwa) ออกเสียงด้วยตวั “น” ส่วน 「こんばんは」(Kombanwa) น้นั จะออกเสียงดว้ ย “ม” ท้งั น้เี นื่องจาก
เสียงลงทา้ ยอกั ษรตวั 「ん」 น้นั ไม่ได้จาเพาะตวั อกั ษรตวั สะกดเพราะสามารถออกเสียงไดท้ ้งั “ง ,น, ม” ซ่งึ จะผนั ไปตามการประสมคา

おはよう (Ohayo) VS こんにちは (Konnichiwa)

ถา้ เป็นเวลาสายๆ สัก 10 หรือ 11 โมง เราจะใช้สวสั ดีตอนเชา้ (ก็ไม่เช้าแลว้ นะ) หรือจะใช้ สวสั ดีตอนกลางวนั (กย็ งั ไมเ่ ท่ียงอกี นะ่ แหละ) ดีละ่
คะ? จริงๆ แลว้ การทกั ทายภาษาญป่ี ่นุ น้ันจะใช้พระอาทิตยเ์ ป็นเกณฑ์ แต่กน็ น่ั แหละ คงไม่มีใครมาน่ังดแู ดดในยคุ น้กี นั แลว้ อกี ท้งั ประเทศญี่ป่นุ ยงั มี
หลายฤดทู ่ีพระอาทิตยจ์ ะข้นึ จะลงก็ไมเ่ ท่ากัน และเพ่ือความสะดวกสบายของเราท้งั หลายจงึ ไดม้ ีการกาหนดชว่ งเวลาของการพูดทกั ทายกันเอาไวต้ ามน้ี
เลยจ้า

• กอ่ น 11.00 น. ใช้ 「おはようございます」(Ohayo (gozaimasu))

• ระหวา่ ง 11.00 – 17.00 น. ใช้ 「こんにちは」(Konnichiwa)

• ตงั้ แต่ 17.00 น. ใช้ 「こんばんは」(Kombanwa)


Click to View FlipBook Version