The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัญญาและบันทึกข้อตกลงโดยสมาคมประกันวินาศภัยไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rinxy roxy, 2019-05-17 00:59:39

หนังสือสัญญาและบันทึกข้อตกลงโดยสมาคมประกันวินาศภัยไทย

หนังสือสัญญาและบันทึกข้อตกลงโดยสมาคมประกันวินาศภัยไทย

51

52

53

54

55

56

ข้อตกลงการชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน
การประกนั ภยั ยานยนตร์ ะหว่างบรษิ ทั ประกนั ภยั

แบบ MOTOR FAST – TRACK

ความเป็นมา
เม่ือปี 2548 ทางคณะอนุกรรมการประกันภัยยานยนต์ ได้เร่ิมวางระบบการเรียกร้องค่าสินไหม

ทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัยแบบ Fast–Track (Motor Fast–Track Recovery System) ขึ้น เพ่ือ
ช่วยลดเอกสารและช่วยให้การดาเนินการเรียกร้องเป็นไปอย่างรวดเร็ว ประหยัดเวลาและบุคลากรท่ีมา
ดาเนนิ งานลดการดาเนินงานในขั้นอนุญาโตตุลาการ ซึ่งช่วยให้บริษัทลดต้นทุนในการประกอบธุรกิจ โดย
ได้มีการกาหนดข้นั ตอนการปฏิบตั ิและกาหนดแบบฟอร์มใบแจง้ หนี้เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนระหว่างกัน
ทงั้ การประกันภยั รถยนตภ์ าคบงั คับและภาคสมคั รใจ เพอื่ ถอื ปฏิบตั ขิ องทง้ั สองฝ่าย หลังจากได้มีการหารือ
แลกเปลี่ยน และทดลองใช้ระบบดังกล่าวมาระยะหน่ึง และสมาชิกได้เห็นพ้องร่วมกันว่าควรมีการลงนาม
ในบันทึกข้อตกลงดังกล่าวด้วย สมาคมฯ จึงได้จัดทาบันทึกข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการ
ประกันภัยยานยนต์ระหว่างบริษัทประกันภัยแบบ MOTOR FAST–TRACK โดยยึดหลักพื้นฐานของสัญญา
ดังกล่าวอยู่ภายใต้หลักความสุจริตใจต่อกันอย่างยิ่ง และหลักความเช่ือมั่นและให้เกียรติต่อกัน และได้จัด
พิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัย แบบ Motor Fast –
Track ข้ึน เม่ือวันท่ี 1 มีนาคม 2549 ณ สมาคมประกันวินาศภัยไทย โดยมีนายชัย โสภณพนิช นายก
สมาคมฯ ณ ขณะน้ันเป็นประธานในพิธีลงนาม มีบริษัทสมาชิกลงนาม 41 บริษัท และทยอยลงนาม
เพิ่มเติมจนถึงปจั จบุ ัน 48 บริษัท

57

ข้อตกลงการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน
การประกนั ภัยยานยนต์ระหว่างบรษิ ทั ประกนั ภัย

แบบ MOTOR FAST - TRACK

ทาที่ สมาคมประกนั วินาศภยั
วนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2549

บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ กระทาข้ึนระหว่างบริษัทประกันภัย ซ่ึงปรากฏนามท้ายบันทึกข้อตกลงนี้
เพ่ือให้การดาเนินการเรียกร้องและชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทเป็นไปด้วยความรวดเร็ว บน
หลักความสุจริตใจต่อกันอย่างยิ่ง รวมทั้งหลักความเช่ือม่ันและให้เกียรติต่อกัน โดยให้ถือว่าบันทึก
ขอ้ ตกลงน้ีมผี ลผกู พันบรษิ ัทผูเ้ ขา้ รว่ มลงนาม นบั ต้ังแต่วนั ท่บี รษิ ัทดังกลา่ วเข้ารว่ มลงนามในบันทึกข้อตกลง
นี้ ซง่ึ ผลผูกพนั ตามขอ้ ตกลงดังกล่าวใหม้ ีผลผูกพันต่อบริษัทท่ีเข้าร่วมลงนามอยู่ก่อนแล้ว และที่จะเข้าร่วม
ลงนามในภายหลัง ดังมรี ายละเอียดดงั ต่อไปนี้

ข้อ 1. จานวนค่าสินไหมทดแทนทเ่ี รยี กร้อง
- ภาคสมัครใจ : จานวนค่าสินไหมทดแทนที่เรียกร้องแต่ละอุบัติเหตุไม่เกิน 15,000

บาท (หนึ่งหม่ืนหา้ พนั บาท)
- ภาคบงั คับ : จานวนค่าสินไหมทดแทนที่เรียกร้องแต่ละอุบัติเหตุต่อผู้ประสบภัยต่อ

รายไม่เกินจานวนคา่ เสยี หายเบื้องตน้

ข้อ 2. การตดั สินว่าฝ่ายใดเปน็ ฝา่ ยผิด
ให้ถือเอาการออกหลักฐานรับผิดของบริษัท หรือผู้สารวจภัยแทนบริษัท หรือหลักฐานใดท่ีแสดงว่าผู้ขับข่ี
ฝ่ายนัน้ เปน็ ฝา่ ยผดิ เป็นเกณฑ์การตัดสนิ

ข้อ 3. วิธีการปฏบิ ตั แิ ละเอกสารที่ใช้ในการเรียกร้องระหวา่ งกนั
ข้ันตอนและวธิ ีการปฏบิ ัตติ ามบันทึกข้อตกลงนี้ ใหเ้ ป็นไปตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบ MOTOR FAST–
TRACK (ตามเอกสารแนบทา้ ยข้อตกลง) และกาหนดใหบ้ ริษัทฝ่ายถูกจะต้องแสดงหลักฐานและเอกสารที่
ประกอบการเรยี กร้องคา่ เสยี หายดังนี้
3.1 ใบแจง้ หนีเ้ รียกร้องคา่ สนิ ไหมทดแทนรถยนตแ์ บบ MOTOR FAST – TRACK
3.2 สาเนาใบเสร็จรบั เงินของอู่ซอ่ ม หรอื หลักฐานการรบั เงินของผูเ้ อาประกัน หรือสาเนาใบเสร็จรับเงินค่า
รกั ษาพยาบาล

58

ขอ้ 4. การส่งเอกสาร
คสู่ ัญญาตกลงใหม้ กี ารสง่ เอกสารทางเครื่องโทรสาร (Fax) หรือ E-Mail

ข้อ 5. ระยะเวลาในการพจิ ารณาและการชดใช้
เม่ือได้รับเอกสารเรียกร้อง บริษัทฝ่ายผิด จะแจ้งผลการพิจารณาให้แก่บริษัทฝ่ายถูกทราบภายใน
กาหนดเวลาไม่เกิน 15 วัน และจะชดใช้ค่าเสียหายให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วัน นับแต่วันที่รับเอกสาร
โดยไมต่ อ้ งมกี ารวางบลิ หรอื วางใบแจง้ หนอี้ กี

ข้อ 6. การไม่ยกข้อต่อสู้
คู่สญั ญาตกลงทจ่ี ะไม่ยกเอาสาเหตุการยังไม่ได้รับการชาระเบ้ียประกันภัยหรือยังไม่ได้รับชาระค่าเสียหาย
ส่วนแรกมาปฏิเสธหรอื ประวงิ การชดใช้คา่ เสียหายซ่ึงกันและกนั

ข้อ 7. จานวนเงนิ ชดใช้
คู่สัญญาตกลงชดใช้เตม็ จานวนตามรายการความเสียหายทเ่ี กิดข้ึนจริงและไดจ้ ่ายไปจรงิ

ขอ้ 8. อายคุ วาม
คู่สัญญาตกลงใหใ้ ช้อายุความประกนั ภยั ค้าจนุ 2 ปี นบั แต่วันเกิดเหตุ

ข้อ 9. การจดั การขอ้ พพิ าท
กรณที ่ีมีปัญหาข้อพิพาทเกี่ยวกับเรื่องบันทึกข้อตกลงน้ี คู่สัญญาตกลงเสนอข้อพิพาทต่อ

อนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัย หรือหากคู่สัญญาประสงค์ให้คณะอนุกรรมการประกันภัยยาน
ยนต์เป็นผู้พิจารณาไกล่เกล่ียก็ได้ โดยให้บริษัทคู่พิพาททาหนังสือมายัง คณะอนุกรรมการประกันภัยยาน
ยนตเ์ พือ่ เจรจาไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท คาวินิจฉัยของอนุกรรมการประกันภัยยานยนต์ให้บริษัท
คู่พพิ าทยึดถอื ปฏิบตั ติ ามน้นั

59

60

61

62

63

สัญญาสละสทิ ธิเรียกรอ้ งค่าเสยี หายซ่ึงกันและกนั
ตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพ่ิมเติมการประกันภยั ค่ารกั ษาพยาบาล (ร.ย.02)

ความเป็นมา
ตามท่ีบริษัทประกันวินาศภัย ที่เป็นบริษัทผู้ประกอบการรับประกันภัยรถยนต์ โดยได้มีการร่วม

กันลงนามในสญั ญาสละสทิ ธเิ รยี กรอ้ งค่าเสียหายซง่ึ กนั และกนั ตามกรมธรรมป์ ระกนั ภยั รถยนต์ โดยสัญญา
ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อลดข้อพิพาทในการเรียกร้องค่าเสียหายระหว่างบริษัทประกันภัยรวมทั้งลด
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเรยี กร้องระหว่างกนั นนั้ จากความร่วมมือของบริษัทประกันภัยในเร่ืองดังกล่าว
สง่ ผลใหจ้ านวนขอ้ พพิ าทและค่าใชจ้ า่ ยของบรษิ ัทประกันภยั ลดลงเปน็ อยา่ งมาก รวมท้งั เปน็ การเสริมสร้าง
ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับธุรกิจประกันวินาศภัย แต่ทั้งนี้สัญญาสละสิทธิฯ ดังกล่าวครอบคลุมเฉพาะความ
คุ้มครองหลักตามกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์เท่าน้ัน ยังไม่ได้รวมถึงความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้าย
โดยเฉพาะความคุ้มครอง ตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพ่ิมเติม การประกันภัยค่ารักษาพยาบาล
(ร.ย.02) ท่ซี ึง่ บริษทั ประกันภยั สามารถรบั ช่วงสทิ ธิจากผู้เอาประกันภัยในการเรียกร้องให้คู่กรณีท่ีเป็นฝ่าย
ผิด (รวมถึงบริษัทประกันภัยที่รับประกันภัยฝ่ายผิด) ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนคืนได้ ถึงแม้ว่าในทางปฎิบัติ
ส่วนใหญ่ บริษัทประกันภัยจะไม่ได้ดาเนินการเรียกร้องค่าเสียหายระหว่างบริษัทประกันภัยด้วยกัน ใน
ส่วนของค่ารักษาพยาบาลตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพิ่มเติมการประกันภัยค่ารักษาพยาบาล
(ร.ย.02) ก็ตาม แต่เน่ืองจากว่าธุรกิจประกันภัยรถยนต์มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว รวมท้ังบริษัท
ประกันภัย จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย หรือกฎระเบียบต่างๆ อย่างเคร่งครัด เพื่อการเป็นบริษัทท่ีมีธรร
มาภิบาล และการเป็นบริษัทมหาชน ดังน้ัน จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่บริษัทประกันภัยที่ประกอบการรับ
ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ จะต้องปฏิบัติตามสิทธิตามกฎหมาย โดยทาการรับช่วงสิทธิผู้เอ า
ประกันภัยเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลตามความคุ้มครองเอกสารแนบท้าย ร.ย. 02 ต่อบริษัทประกันภัยที่
รับประกันภัยคู่กรณีที่เป็นฝ่ายผิด ทาให้การเรียกร้องดังกล่าวขยายวงกว้างข้ึน ส่งผลให้บริษัทประกันภัย
จะต้องเพ่ิมขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพิ่มบุคลากรผู้รับผิดชอบ และกรณีท่ีไม่สามารถเจรจาตกลงกันได้ ก็
จะต้องมีการยื่นฟอ้ งต่อศาล หรอื อนญุ าโตตุลาการ ของสมาคมประกนั วินาศภัยไทย

ดังน้ันสมาคมประกันวินาศภัยไทย จึงได้จัดทาสัญญาสละสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกัน
ตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพิ่มเติมการประกันภัยค่ารักษาพยาบาล (ร.ย.02) ขึ้นเพ่ือให้บริษัท
ประกันภัยท่ีประกอบการรับประกันภัยรถยนต์ สละสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายซ่ึงกันและกัน สาหรับ
ค่าเสียหายท่ีได้จ่ายไปตามความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพิ่มเติมการประกันภัยค่า
รกั ษาพยาบาล (ร.ย.02) ซึ่งจะสะดวกในการปฏิบัติงาน และบริษัทประกันภัยปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย
กฎระเบียบ รวมทั้งสญั ญา หรือขอ้ บงั คับตา่ งๆ ที่ผูกพันกับบริษัท โดยได้มีการลงนามร่วมกัน เม่ือวันที่ 26
เมษายน 2555 โดยมีนายประเวช องอาจสิทธิกุล เป็นประธานในพิธีลงนาม มีบริษัทสมาชิกลงนามจนถึง
ปัจจบุ นั 42 บริษทั

64

สญั ญาสละสิทธิเรยี กร้องคา่ เสียหายซ่ึงกันและกัน
ตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพ่ิมเติมการประกนั ภยั คา่ รกั ษาพยาบาล (ร.ย.02)

สัญญาฉบับนี้ทาท่ีสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
(คปภ.) ระหว่างบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งปรากฎนามท้ายสัญญาน้ี เพ่ือตกลงสละสิทธิเรียกร้องค่า
รักษาพยาบาลซง่ึ กนั และกัน ดงั มรี ายละเอยี ดต่อไปนี้

ขอ้ 1. ในสญั ญาฉบบั นี้
1.1 รถ หมายความว่า รถยนต์ รถจักรยานยนต์และรถอื่นๆ ท่ีมีความคุ้มครองการ

ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจและมีความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพ่ิมเติมการ
ประกนั ภยั ค่ารักษาพยาบาล (ร.ย.02) ไว้กับผเู้ ขา้ ร่วมสญั ญาแตล่ ะฝา่ ย

1.2 ค่ารักษาพยาบาล หมายความเฉพาะ ความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายความ
คุ้มครองเพ่ิมเติมการประกันภัยค่ารักษาพยาบาล (ร.ย.02) ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ค่าบริการทาง
การแพทย์ ค่าผ่าตัด และค่าบริการอื่น ๆ ตามท่ีจ่ายจริง ซึ่งได้เกิดขึ้นภายใน 12 เดือน นับแต่วันเกิด
อุบัติเหตุเพื่อบุคคลใดซ่ึงได้รับความบาดเจ็บทางร่างกาย เนื่องจากอุบัติเหตุในขณะอยู่ใน หรือกาลังข้ึน
หรอื กาลังลงจากรถ

ข้อ 2. ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงสละสิทธิเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลซึ่งกันและกัน กรณีรถตามข้อ
1.1 ชนกัน หรือพยายามหลีกเล่ียงการชน หรือเกิดจากการใช้รถ จนเป็นเหตุให้บุคคลซ่ึงขณะอยู่ในหรือ
กาลังข้นึ หรือกาลงั ลงจากรถ ไดร้ ับบาดเจ็บต้องเขา้ รับการรกั ษาพยาบาล ผเู้ ข้าร่วมสัญญาแต่ละฝ่ายตกลง
จะรับผิดชอบจ่ายค่ารักษาพยาบาลดังกล่าว ตามความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครอง
เพิ่มเติมการประกันภัยค่ารักษาพยาบาล (ร.ย.02) ภายใต้จานวนเงินเอาประกันภัยที่กาหนดไว้ใน
กรมธรรม์ประกนั ภัย โดยไม่คานงึ ว่าเป็นความประมาทของฝา่ ยใด

กรณผี ้บู าดเจ็บในรถคนั เอาประกันภัยฝ่ายถูก ไปใช้สิทธิเรียกร้องจากผู้เข้าร่วมสัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
ซ่ึงเป็นฝ่ายผิด และฝ่ายผิดน้ันได้จ่ายค่ารักษาพยาบาลตามใบเสร็จรับเงินฉบับจริง โดยผู้เข้าร่วมสัญญา
(ฝ่ายถูก) ยังมิได้จ่ายค่ารักษาพยาบาลไปตามความคุ้มครองพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
และเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพิ่มเติมการประกันภัยค่ารักษาพยาบาล (ร.ย.02) ผู้เข้าร่วมสัญญา
ฝ่ายถูกยินยอมจ่ายคืนเฉพาะค่ารักษาพยาบาลส่วนท่ีเกินจากความคุ้มครองตาม พ.ร.บ. ตาม
ใบเสร็จรับเงินฉบับจริง ภายใต้ความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพ่ิมเติมการประกันภัย
คา่ รักษาพยาบาล (ร.ย.02) ของฝา่ ยถกู

การสละสทิ ธิเรยี กร้องคา่ รกั ษาพยาบาลซง่ึ กันและกนั ตามความในวรรคแรก ให้หมายความรวมถึง
การสละสิทธิเรียกร้องต่อผู้เอาประกันภัยของผู้เข้าร่วมสัญญา และบุคคลซ่ึงต้องรับผิดต่อเหตุละเมิด
ดังกล่าวด้วย ภายใต้ความคุ้มครองและจานวนเงินเอาประกันภัยความคุ้มครองความรับผิดต่อ
บคุ คลภายนอก ทก่ี าหนดไวใ้ นกรมธรรมป์ ระกนั ภัยของผเู้ ข้าร่วมสัญญาฝ่ายท่ีต้องรบั ผิด

65

ข้อ 3. ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงว่า สิทธิของผู้บาดเจ็บในการเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลส่วนเกิน
จานวนเงินเอาประกนั ภัยกบั ผ้เู ข้ารว่ มสญั ญาอีกฝา่ ยหน่ึง ให้เปน็ ไปตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณชิ ย์

ข้อ 4. สัญญาน้ีไม่มีผลบังคับ หากความเสียหายที่เกิดข้ึนไม่อยู่ในเง่ือนไขและความคุ้มครองตาม
กรมธรรม์ประกันภัยของผู้เข้าร่วมสัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ในกรณีเช่นนี้การเรียกร้องค่าเสียหายให้เป็นไป
ตามประมวลกฏหมายแพง่ และพาณชิ ย์

ข้อ 5. ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงจะแสดงหลักฐานการรับประกันภัยและเอกสารใดๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ
อบุ ตั เิ หตทุ ี่เกิดข้ึน เมอื่ ได้รับการร้องขอจากผเู้ ข้ารว่ มสัญญาอีกฝ่ายหน่ึง

ข้อ 6. เมื่อเกิดกรณีพิพาทจากสัญญาฉบับนี้ ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงกันว่า ให้เสนอข้อพิพาทต่อ
สานกั งานอนญุ าโตตุลาการ ของสมาคมประกันวินาศภัย

ขอ้ 7. ผู้เข้าร่วมสัญญาอาจบอกเลิกสัญญาน้ีก็ได้ โดยมีหนังสือบอกกล่าวการบอกเลิกสัญญาแจ้ง
ใหน้ ายกสมาคมประกนั วินาศภัยทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่างน้อย 60 วัน ก่อนวันท่ีการบอกเลิกสัญญามี
ผลบงั คับ และผลของการบอกเลกิ สญั ญาน้ไี มก่ ระทบถึงเรอื่ งท่เี กิดขึน้ ก่อนการบอกเลกิ สญั ญาจะมผี ล

ข้อ 8. ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงให้สัญญาสละสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายซ่ึงกันและกันฉบับน้ีเริ่มมีผล
ใช้บังคับกับค่ารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นแล้วหรือท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต เว้นแต่ค่า
รักษาพยาบาลน้ันได้มีการเรียกร้องจนมีการตกลงชดใช้หรือมีคาช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการ หรือคา
พพิ ากษาศาล กอ่ นวันลงนามในสัญญาฉบับน้ี ถือว่าไม่อยู่ในบังคับของสัญญาฉบับนี้

ผู้เข้าร่วมสัญญาทุกฝ่ายได้อ่านและเข้าใจข้อความท้ังหมดแล้ว เห็นว่าตรงตามเจตนาของทุกฝ่าย
จึงลงลายมอื ชอื่ ไว้เป็นสาคัญ

66

67

68

69

สัญญาสละสิทธิเรียกรอ้ งคา่ เสยี หายซึ่งกันและกัน
ตามกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์

ภาคสมัครใจประเภท 1 สาหรบั รถยนตท์ กุ ประเภท

ความเปน็ มา

ตามที่บริษัทประกันภัยได้ร่วมลงนามในสัญญาสละสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายซ่ึงกันและ
กันตามกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2539 และมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน
2539 สาหรับรถยนต์ชนิด 4 ล้อ ทุกประเภทตามกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสียหายรวม
(ประเภท1) ที่มีน้าหนักไม่เกิน 3 ตัน และรถนั่งโดยสารท่ีจดทะเบียนไม่เกิน 15 คน และในปี พ.ศ. 2545
ได้มีการขยายบันทึกข้อตกลงเพ่ิมเติมแนบท้ายสัญญาสละสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายซ่ึงกันและกัน จาก
รถบรรทกุ ท่ีมีนา้ หนกั ไมเ่ กิน 3 ตัน รถน่ังโดยสารที่จดทะเบียนไม่เกิน 15 คน เป็นรถบรรทุกท่ีมีน้าหนักไม่
เกิน 4 ตัน รถนั่งโดยสารท่ีจดทะเบียนไม่เกิน 20 คน นั้นจากการร่วมลงนามในสัญญาข้างต้น พบว่า
จานวนเร่ืองเรียกร้องระหว่างบริษัทประกันภัยลดลงเป็นจานวนมาก ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ
ในการเรียกรอ้ งค่าสินไหมทดแทนลดลงเช่นกัน ดังน้ันคณะกรรมการประกันภัยยานยนต์ จึงได้ดาเนินการ
จดั ทาสัญญาสละสทิ ธิเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกัน ตามกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ เพ่ิมเติม เพ่ือให้
จะครอบคลุมถึงรถยนต์ทุกประเภทท่ีทาประกันภัยประเภท 1 โดยมีบริษัทสมาชิกที่ลงนามเพิ่มเติม
จานวน 14 บริษัท

70

สัญญาสละสิทธเิ รียกรอ้ งคา่ เสยี หายซงึ่ กันและกนั
ตามกรมธรรม์ประกันภยั รถยนต์

ภาคสมัครใจประเภท 1 สาหรับรถยนตท์ กุ ประเภท

สัญญาฉบับนี้ทาขึ้นระหว่างบริษัทประกันวินาศภัยซึ่งปรากฏนามท้ายสัญญานี้ เพ่ือตกลงสละ
สทิ ธเิ รียกร้องคา่ เสยี หายซ่งึ กนั และกัน และให้ถอื ว่าสัญญานี้มีผลผูกพัน บริษัทผู้เข้าร่วมลงนามนับแต่วันที่
บรษิ ทั ดงั กล่าวเขา้ ร่วมลงนามในสัญญาน้ี ซง่ึ ผลผกู พันตามสัญญาดังกล่าวให้มีผลผูกพันต่อบริษัทท่ีเข้าร่วม
ลงนามอยู่กอ่ นแล้ว และท่จี ะเข้ารว่ มลงนามในภายหลงั ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

ข้อ 1. ในสญั ญาฉบบั น้ี
รถยนต์ หมายความว่า รถยนต์ทุกประเภท ท่ีเอาประกันภัยไว้กับผู้เข้าร่วมสัญญาแต่ละฝ่าย
รวมทง้ั อุปกรณ์ ส่วนควบ ข้อความ ตรา เคร่อื งหมาย เคร่ืองตกแต่ง และเครอ่ื งอานวยประโยชน์ติดประจา
อยู่
ค่าเสียหาย หมายความว่า ความเสียหายเฉพาะต่อรถยนต์ท่ีได้รับความคุ้มครองตามกรมธรรม์
ประกันภยั ประเภท 1 ของผู้รว่ มสญั ญาเท่านน้ั
คา่ เสียหายสว่ นแรก หมายความว่า จานวนเงินท่ีผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบเป็นส่วนแรก
ของความเสียหาย
ข้อ 2. ผู้ร่วมสัญญาตกลงสละสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกันต่อรถยนต์ ซ่ึงเกิดจากการ
ชนหรือความพยายามหลีกเลี่ยงการชน หรือเกิดจากการใช้รถ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อรถยนต์ท่ีเอา
ประกนั ภยั ไวก้ บั ผูร้ ว่ มสญั ญา โดยผ้รู ว่ มสญั ญาแตล่ ะฝ่ายจะรบั ผดิ ชอบในความเสียหายของรถยนต์ที่ตนรับ
ประกันภัยไว้ภายใต้จานวนเงินเอาประกันภัยท่ีกาหนดไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยโดยไม่คานึงว่าจะเป็น
ความประมาทของฝ่ายใด
การสละสทิ ธเิ รียกร้องคา่ เสยี หายซงึ่ กันและกันตามความในวรรคแรกให้หมายความรวมถึงการ
สละสิทธิเรียกร้องต่อผู้เอาประกันภัยของผู้ร่วมสัญญา และบุคคลซึ่งต้องรับผิดต่อเหตุละเมิดดังกล่าวด้วย
เพียงเท่าจานวนเงินเอาประกันภัย คุ้มครองความรับผิดต่อบุคคลภายนอกท่ีกาหนดไว้ในกรมธรรม์ของผู้
รว่ มสัญญาฝ่ายที่ต้องรบั ผดิ เท่านนั้
ขอ้ 3. ผรู้ ว่ มสญั ญาตกลงว่าสทิ ธขิ องผ้เู อาประกันภัย ในการเรียกรอ้ งค่าเสียหายส่วนเกินจานวน
เงินเอาประกันภยั กบั ผรู้ ่วมสญั ญาอกี ฝา่ ยหนึง่ ใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
ข้อ 4. ค่าเสียหายส่วนแรกท่ีกาหนดไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยของผู้เอาประกันภัยแต่ละฝ่าย ผู้
ร่วมสัญญาตกลงว่าไมต่ อ้ งนามาชดใช้ให้ผรู้ ่วมสญั ญาอกี ฝ่ายหนึ่ง
ข้อ 5. สญั ญาน้ไี ม่มีผลบังคับ หากความเสียหายท่ีเกิดขึ้นไม่อยู่ในเง่ือนไขและความคุ้มครองตาม
กรมธรรมป์ ระกนั ภยั ของผรู้ ่วมสญั ญาฝา่ ยใดฝ่ายหนึ่ง ในกรณีเช่นนี้ การเรียกร้องค่าเสียหายให้เป็นไปตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ข้อ 6. ผู้ร่วมสัญญาตกลงจะแสดงหลักฐาน การรับประกันภัยและเอกสารใดๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ
อุบตั ิเหตทุ ีเ่ กดิ ขน้ึ เมือ่ ได้รบั การรอ้ งขอจากผูร้ ่วมสญั ญาอีกฝ่ายหนงึ่

71

ข้อ 7. เมื่อเกิดกรณีพิพาทจากสัญญาฉบับน้ี ผู้ร่วมสัญญาตกลงกันว่า ให้เสนอข้อพิพาทต่อ
สานกั งานอนญุ าโตตลุ าการของสมาคมประกนั วินาศภัยไทย

ข้อ 8. ผู้ร่วมสัญญาอาจบอกเลิกสัญญาน้ีก็ได้ โดยมีหนังสือบอกกล่าวการบอกเลิกสัญญาแจ้งให้
นายกสมาคมประกันวินาศภยั ไทย ทราบล่วงหนา้ เป็นเวลาอย่างน้อย 60 วัน ก่อนวันท่ีการบอกเลิกสัญญา
มผี ลบังคับและผลของการบอกเลกิ สญั ญาน้ี ไมก่ ระทบถงึ เรอื่ งท่เี กิดขนึ้ ก่อนการบอกเลกิ สญั ญาจะมผี ล

ขอ้ 9. ผ้รู ว่ มสัญญาตกลงให้สญั ญาสละสิทธิเรียกรอ้ งคา่ เสยี หายซึง่ กันและกันนี้ เร่ิมมีผลใช้บังคับ
ต้งั แต่ วนั จันทรท์ ี่ 23 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2557 เปน็ ตน้ ไป

ผู้ร่วมสัญญาทุกฝ่ายได้อ่านและเข้าใจข้อความทั้งหมดแล้ว เห็นว่าตรงตามเจตนาของทุกฝ่าย จึง
ลงลายมือช่อื ไว้เป็นสาคัญ

72

73

บันทึกขอ้ ตกลงเพ่ิมเติมแนบท้ายข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
การประกนั ภัยยานยนตร์ ะหว่างบริษทั ประกันภยั
แบบ MOTOR FAST-TRACK

ความเป็นมา
ตามที่บริษัทประกันภัยได้ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการ

ประกันภัยยานยนต์ระหว่างบริษัทประกันภัย (Motor Fast-Track) เมื่อวันท่ี 1 มีนาคม 2549 โดย
วัตถุประสงค์เพ่ือลดข้อพิพาทระหว่างบริษัทประกันภัย เพ่ือให้การดาเนินการเรียกร้องเป็นไปอย่าง
รวดเรว็ และเพื่อเป็นการลดต้นทุนในการประกอบธุรกิจให้กับบริษัทประกันภัย รวมถึงเพ่ือเป็นการสร้าง
ภาพพจน์ท่ีดีของธุรกิจประกันภัยนั้น จากสภาวะการในปัจจุบันท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ต้นทุน
การบริหารจัดการต่างๆ ปรับขึ้น เช่น ค่าจ้างพนักงาน ค่าอะไหล่ ค่าแรงการซ่อม รวมท้ังค่า
รักษาพยาบาล และค่าบริการทางแพทย์ ส่งผลกระทบให้บริษัทประกันภัยมีจานวนเงินในการจ่ายค่า
สนิ ไหมทดแทน และการเรียกรอ้ งระหวา่ งกันเพ่ิมขึ้น เป็นต้น ดังนั้นคณะกรรมการประกันภัยยานยนต์จึง
ดาเนินการแก้ไขบนั ทกึ ข้อตกลงเพม่ิ เตมิ แนบท้ายข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการประกันภัยยาน
ยนตร์ ะหวา่ งบริษัทประกันภัยแบบ MOTOR FAST-TRACK โดยมีบริษัทสมาชิกท่ีลงนามเพ่ิมเติม จานวน
29 บริษัท

74

บนั ทกึ ข้อตกลงเพิ่มเติมแนบทา้ ยข้อตกลงการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน
การประกันภยั ยานยนต์ระหว่างบริษัทประกนั ภยั
แบบ MOTOR FAST-TRACK

ทาท่ี สมาคมประกันวนิ าศภัยไทย
วนั ที่ .........................................

บันทึกข้อตกลงเพิ่มเติมฉบับน้ี ทาข้ึนเพ่ือแสดงข้อตกลงเพิ่มเติมระหว่างบริษัทประกันวินาศภัย
ซ่ึงปรากฎนามท้ายข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการประกันภัยยานยนต์ระหว่างบริษัทประกันภัย
แบบ MOTOR FAST–TRACK ซึ่งทาท่ี สมาคมประกันวินาศภัยไทย ฉบับลงวันที่ 1 มีนาคม 2549 มีผล
ใช้บงั คบั ต้งั แต่วันลงนามเปน็ ตน้ มา ดังมีรายละเอียดข้อตกลงเพ่ิมเติม ดังต่อไปน้ี

ข้อ 1. ให้ยกเลิกข้อความในข้อ 1 วรรค 1 ของข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการ
ประกันภัยยานยนต์ระหว่างบริษัทประกันภัยแบบ MOTOR FAST–TRACK ฉบับข้างต้น และให้ใช้
ข้อความต่อไปนีแ้ ทน

(ข้อ 1 วรรค 1 ) “ภาคสมัครใจ: จานวนค่าสินไหมทดแทนท่ีเรียกร้องแต่ละอุบัติเหตุไม่เกิน
50,000.-บาท (ห้าหมน่ื บาทถ้วน)”

ข้อ 2. บันทึกข้อตกลงเพิ่มเตมิ ฉบับน้ี มีผลบังคับตงั้ แต่วนั ทล่ี งนาม เป็นต้นไป

ผรู้ ่วมลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงเพิม่ เตมิ แนบท้ายข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการประกันภัย
ยานยนต์ระหว่างบริษัทประกันภัยแบบ MOTOR FAST–TRACK ทุกฝ่ายได้อ่าน และเข้าใจข้อความทั้ง
หมดแลว้ เห็นว่าตรงตามเจตนาของทุกฝา่ ย จงึ ไดล้ งลายมอื ชือ่ ไวเ้ ปน็ สาคัญ

75

76

77

78

รายนามคณะกรรมการประกันภัยยานยนต์ ประจาปี 2558-60

1. นายไพบลู ย์ จริ ายุวัฒน์ บมจ.แอลเอ็มจี ประกันภยั ประธาน

2. นายเรอื งเดช ดุษฎีสุรพจน์ บมจ.สินม่นั คงประกนั ภัย กรรมการท่ีปรกึ ษา

3. นายประสิทธิ์ คาเกิด บจ.กลางค้มุ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ รองประธานฯ

4. นายสุเทพ ราชอุปนนั ท์ บมจ.วิริยะประกนั ภยั รองประธานฯ

5. นายศิรลิ กั ษณ์ เมอื งศรี บมจ.สยามซติ ปี้ ระกนั ภัย รองประธานฯ

6. นายหฤษฏพงษ์ ชัยเลิศ บมจ.ทพิ ยประกันภัย ทป่ี รึกษา

7. นายประชนั มาลาวงศ์ บมจ.สนิ มั่นคงประกนั ภัย ทป่ี รึกษา

8. นายถาวร แดนวงั เดิม บมจ.เอราวณั ประกนั ภัย ที่ปรกึ ษา

9. นายพิษณุวฒั ก์ อ้วนสะอาด บจ.ไทยอนิ ชัวเรอสด์ าต้าเนท ทป่ี รึกษา

10. นายไพฑรู ย์ จันทร์พนอรักษ์ บมจ.กรงุ เทพประกนั ภยั กรรมการ

11. นายชูชยั วชิรบรรจง บมจ.ประกนั คุ้มภัย กรรมการ

12. นางสาววลรี ตั น์ อศั ววงศ์เสถยี ร บมจ.แอลเอ็มจี ประกันภัย กรรมการ

13. นายสวุ ฒั น์ ระดมสุทธกิ ุล บมจ.ธนชาตประกนั ภัย กรรมการ

14. นายรงั สรรค์ จงู วัฒนา บมจ.มิตรแทป้ ระกนั ภัย กรรมการ

15. นายสมเจต ขุนศรีอุเชนทร์ บมจ.แอกซ่าประกันภยั กรรมการ

16. นายดารงค์ จิรวรพัฒน์ บมจ.ไอโออิ กรงุ เทพ ประกันภยั กรรมการ

17. นายพนั ธเ์ ทพ ชัยปริญญา บมจ.วริ ิยะประกนั ภยั กรรมการ

18. นายจลุ นิ ทร์ จฬุ าวงั ฤทธิ์ บจ.กลางคุ้มครองผ้ปู ระสบภยั จากรถ กรรมการ

19. นายวลั ลภ จิตตส์ นอง บมจ.สหมงคลประกนั ภัย กรรมการ

20. นายอาภากร ปานเลศิ สานกั งาน คปภ. ผปู้ ระสานงาน

21. นายไพบลู ย์ เป่ียมเมตตา สานกั งาน คปภ. ผู้ประสานงาน

22. นางสาววไิ ลรัตน์ แสงแกว้ สานกั งาน คปภ. ผูป้ ระสานงาน

79

รายนามคณะกรรมการชมรมสินไหมยานยนต์ ประจาปี 2558-60

1. นายพนั ธ์เทพ ชัยปริญญา บมจ.วริ ิยะประกันภยั ประธาน

2. นายวรวฒุ ิ สายสุวรรณ บมจ.กรุงเทพประกันภยั รองประธาน

3. นายสมบตั ิ ไชยศร บมจ.แอลเอ็มจปี ระกนั ภัย รองประธาน

4. นายโกวิทย์ เจียมสว่างพร บมจ.เอเชยี ประกันภยั 1950 รองประธาน

5. นางเบญจพรรณ รุจิระประภาส บมจ.สหมงคลประกนั ภัย เหรญั ญกิ

6. นายภาสรุ ะ อนิ ทรบ์ รุ ี บมจ.กรุงไทยพาณิชประกนั ภัย ประชาสัมพนั ธ์

7. นายธารา ล่าซา บมจ.เมืองไทยประกนั ภัย เลขานกุ าร

8. นายพิภพ มาลา บมจ.ไทยไพบลู ยป์ ระกันภัย นายทะเบียน

9. นายกาจร ต้ังวชั รกาพล บมจ.นาสินประกันภยั ทปี่ รึกษา

10. นายชัชวาล สุนทรชื่น บมจ.สินมั่นคงประกันภัย ทป่ี รึกษา

11. นายสมบตั ิ เปรมบญุ ญาธร บมจ. เอไอจี ประกันภัย ท่ีปรกึ ษา

12. นายเสรี สวนพุฒ ชมรมประกอบวิชาชพี ตรวจฯ ทป่ี รึกษา

13. นายจานงค์ สงิ หา ชมรมประกอบวิชาชีพตรวจฯ ท่ปี รกึ ษา

14. นายกรธวัช สุวรรณทับ บมจ.อลิอนั ซซ์ ีพีประกันภยั ทป่ี รึกษา

15. นายสมชาย สดุ เสนาะ บจ.กลางค้มุ ครองผูป้ ระสบภัย กรรมการ

16. นายเชดิ ชัย ทองกนุ า บมจ.โตเกยี วมารนี ประกนั ภัย กรรมการ

17. นายต่อศักด์ิ เศรษฐศิระดล บมจ.ทิพยประกันภัย กรรมการ

18. นายอริยะ จักรานรุ ักษ์ บมจ.เทเวศประกันภัย กรรมการ

19. นายวนิ ยั เจรญิ อาจ บมจ.ธนชาตประกนั ภยั กรรมการ

20. นายพลเชฎฐ์ เจรญิ พันธ์ บมจ.นวกจิ ประกันภัย กรรมการ

21. นายธเนศ จารุรัตนสาคร บมจ.ไทยววิ ัฒนป์ ระกันภัย กรรมการ

22. นายอนุพงศ์ เสาร์คา บมจ.เอราวณั ประกนั ภัย กรรมการ

80

23. นายธวัช จิตเกษมสุขสันต์ บมจ.แอกซ่าประกนั ภัย กรรมการ
24. นายโชคดี อนิ เพ็ชร บมจ.ไอโออิ กรงุ เทพ ประกันภัย กรรมการ
25. นายพรชยั สคุ ันธภัติ สานกั งาน คปภ. ผปู้ ระสานงาน

81

รายนามคณะกรรมการชมรมนักกฎหมายประกนั ภยั ยานยนต์ ประจาปี 2558-60

1. นายจลุ ินทร์ จฬุ าวงั ฤทธ์ิ บจ.กลางคุ้มครองผ้ปู ระสบภยั ประธาน

2. นายเพมิ่ ศกั ดิ์ รอยศริ ิกลุ บมจ.นาสนิ ประกันภยั รองประธาน

3. นายเกรยี งศักดิ์ นพสุวรรณชัย บมจ.ธนชาตประกันภัย รองประธาน

4. นางสาวดลหทยั ชนะนนท์ บมจ.อาคเนยป์ ระกันภัย เลขานุการฯ

5. นางสาวศภุ ชั ชา พรหมรักษา บมจ.สยามซิตีป้ ระกนั ภัย เหรัญญิก

6. นายศิรโิ รจน์ โรจน์วรพร บมจ.มิตซยุ สุมิโตโมอนิ ชัวรันซ์ นายทะเบยี น

7. นางสาวพณั ณิตา ภารพันธ์ บมจ.นวกิจประกันภยั ประชาสัมพนั ธ์

8. นายพิชยั ฉมิ ขนั ธ์ บมจ.กรุงเทพประกนั ภัย กรรมการ

9. นายสทุ ธชิ ัย วตั รุจกี ฤต บมจ.โตเกียวมารีนประกันภยั กรรมการ

10. นายบุญยงั วงั สวา่ ง บมจ.ทิพยประกนั ภยั กรรมการ

11. นายยศกร ตะการวฒั นกลุ บมจ.เทเวศประกนั ภยั กรรมการ

12. นายสพุ จน์ สุดเสนาะ บมจ.ไทยพฒั นาประกันภัย กรรมการ

13. นายไกรพันธ์ ผาสุข บมจ.วิรยิ ะประกนั ภยั กรรมการ

14. นายเกยี รตยิ ศ ศักด์ิแสง บมจ.สนิ ทรัพย์ประกนั ภยั กรรมการ

15. นายส่งเสรมิ สทุ ธปิ ัญญา บมจ.สนิ มนั่ คงประกันภยั กรรมการ

16. นางพรทิพย์ อชั ฌากุลกจิ บมจ.เอเชียประกันภยั กรรมการ

17. นายกรณั ย์พล สุวรรณมะโน บมจ.เอม็ เอส ไอ จี ประกนั ภัย กรรมการ

18. นายวุฒชิ ยั หม่ืนพันธ์ชู บมจ.แอลเอ็มจีประกันภัย กรรมการ

19. นายนุกลู สวนขวญั สานักงาน คปภ. ผปู้ ระสานงาน

20. นายวีระวุฒน์ รัตนเนตร บมจ.กรงุ เทพประกนั ภัย 82

21. นายเกียรติสิทธิ์ อารยี กุลานนท์ บมจ.เมืองไทยประกนั ภัย ที่ปรกึ ษา
ทปี่ รกึ ษา
22. นายศภุ ชยั นาคมอญ สานกั งานกฎหมายรักษธ์ รรม ทป่ี รกึ ษา
ที่ปรึกษา
23. นายเทพา เจริญพานิช - ทป่ี รกึ ษา
ทป่ี รึกษา
24. นายสมนกึ ตนั ตสิ วุ ณิชย์กุล บมจ.ประกนั คุ้มภัย ทป่ี รึกษา
ที่ปรึกษา
25. นายบัลลังก์ แกว้ ปานกัน บมจ.บางกอกสหประกันภัย ที่ปรึกษา
ทป่ี รึกษา
26. นางสาวพัชริน บูรพัฒนส์ ริ ิ บมจ.ประกนั ภัยไทยวิวัฒน์ ทป่ี รึกษา
ทป่ี รกึ ษา
27. นายวสุพจน์ กลิ่นชาติ บมจ.สินมั่นคงประกันภัย ที่ปรกึ ษา

28. นายมนัสชยั บญุ เสริม บมจ.ไทยศรีประกนั ภัย

29. นางสาวช่อทิพย์ เปลย่ี นศรี บมจ.ประกนั ภัยไทยวิวฒั น์

30. นางสาวปานทพิ ย์ องค์ปรชั ญากุล บจ.บริลเล่ยี นท์ เซอรเ์ วย์

31. นายสนัน่ พสิ ทุ ธิไทรงาม สมาคมธุรกจิ เช่าชื้อไทย

32. นายดนวุ ัศ สทิ ธิลาภาบดกี ลุ บมจ.เอราวณั ประกนั ภยั

83

รายนามคณะกรรมการชมรมพิจารณารบั ประกันภยั ยานยนต์ ประจาปี 2558-60

1. นายวลั ลภ จติ ต์สนอง บมจ.สหมงคลประกนั ภัย ประธาน
2. นางสาวเพญ็ ศรี โภคามาศ บมจ.ไอโออิ กรงุ เทพ ประกนั ภยั รองประธาน

3. นางสาวจันทร์เพ็ญ เหลอื งเจริญ บมจ.วิรยิ ะประกันภยั รองประธาน

4. นางสาวนรติ า บญุ สุทธ์ิ บมจ.มติ รแท้ประกันภยั เหรญั ญกิ

5. นายเกษม สงั ขภ์ ริ มย์ บจ.กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ประชาสัมพันธ์

6. นางสาววลีรตั น์ อัศววงศเ์ สถียร บมจ.แอลเอ็มจี ประกนั ภยั เลขานุการ

7. นายศกั ดิ์สยาม ไชยนิสติ บมจ.เมอื งไทยประกันภัย นายทะเบยี น

8. นายนิคม สวา่ งศรี บ.นวิ แฮมพเ์ ชอร์ อนิ ชวั รนั ส์ ทป่ี รึกษา

9. นางอโนมา วาดเขยี น บมจ.เอราวณั ประกันภัย ทป่ี รกึ ษา

10. นายสุธี เหมจักษธุ รรม บมจ.อาคเนย์ประกันภยั ท่ปี รกึ ษา

11. นายจติ วุฒิ ศศิบุตร สมาคมนายหน้าประกันภยั ที่ปรกึ ษา

12. นายร่งุ โรจน์ จรสั วิจติ รกุล สมาคมธุรกจิ เชา่ ซื้อไทย ทป่ี รึกษา

13. นายพนั ธ์เทพ ชยั ปริญญา - ท่ีปรกึ ษา

14. น.ส.วไิ ลรัตน์ แสงแก้ว สานักงาน คปภ. ผ้ปู ระสานงาน

15. นายสภุ าษ เหลอื งศริ มิ ชี ยั บมจ.กรงุ เทพประกนั ภัย กรรมการ

16. นายกังวาน เตยี วพิรยิ ะทรัพย์ บมจ.กรงุ ไทยพานิชประกนั ภัย กรรมการ

17. นายเสรี กวินรัชตโรจน์ บมจ.โตเกยี วมารีนประกนั ภยั กรรมการ

18. นายทวิ า วงศธ์ นาภา บมจ.ธนชาตประกันภัย กรรมการ

19. นางสาววนดิ า ศาสนบัณฑติ บมจ.นวกจิ ประกนั ภัย กรรมการ

20. นางสาววจิ ณิ ณา กสุ โุ มทย์ บมจ.นาสินประกันภยั กรรมการ

21. นายกวพี ันธ์ แสงเรอื ง บจ.มิตซุย สุมโิ ตโม อนิ ชวั รันซ์ กรรมการ

22. นายจิรฏั ฐ์ ปณุ ณทนิ บมจ.สยามซติ ี้ ประกันภยั กรรมการ

23. นางสาวเอมอร นาคสัมฤทธ์ิ บมจ.สินทรัพยป์ ระกนั ภยั 84
24. นายคณัสนันท์ นนั ชยั บมจ.เอเชียประกนั ภยั 1950
25. นางสมพร ธนะศร บมจ.เอ็มเอสไอจี ประกันภัย กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ

85

รายนามคณะทางานเรยี กร้องค่าสนิ ไหมทดแทนระหวา่ งบรษิ ัทประกนั ภยั ประจาปี 2558-60

1 นายวรวฒุ ิ สายสวุ รรณ บมจ.กรงุ เทพประกันภยั หัวหน้า
รองหัวหนา้
2 นายวรพงศ์ พิพิธประพฒั น์ บมจ.วริ ิยะประกนั ภัย รองหวั หน้า
เลขานกุ าร
3 นางสาวทพิ ย์มณฑา กติ ตริ งุ่ เรือง บมจ.เอม็ เอส ไอ จี ประกันภยั ที่ปรกึ ษา
ที่ปรกึ ษา
4 นางสาวพวงทิพย์ วเิ ศษสงิ ห์ บจ.กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ที่ปรกึ ษา
ทป่ี รกึ ษา
5 นายต่อศักดิ์ บญุ ยัง บมจ.เจ้าพระยาประกันภัย คณะทางาน
คณะทางาน
6 นายสายัณห์ เพชรสูงสกุล บมจ.สญั ญาประกันภัย คณะทางาน
คณะทางาน
7 นายมีศกั ดิ์ ปรีชา บมจ.แอลเอ็มจีประกนั ภัย คณะทางาน
คณะทางาน
8 นายธวชั จิตเกษมสขุ สันต์ บมจ.แอกซ่าประกันภัย คณะทางาน
คณะทางาน
9 นางสาวสุปรชั ญา ปานแก้ว บมจ.เทเวศประกนั ภัย คณะทางาน
10 นายสัญชัย วเิ ชียรพทิ ยา บมจ.ไทยพัฒนาประกันภยั คณะทางาน

11 นางสาวตตยิ าภรณ์ เครือช่าง บมจ.ธนชาตประกันภัย

12 นางสาวเพญ็ จนั ทร์ ตง้ั วิเศษกุล บมจ.เคเอสเคประกันภยั

13 นางสาวมยรุ ี ไทยสงค์ บมจ.เอเชียประกันภยั 1950

14 นายสชุ า จนั ทนู บมจ.สหมงคลประกนั ภัย

15 นายพิพธิ น ฉัตรวลิ ัย บมจ.อลิอันซ์ ซี.พ.ี ประกันภยั
16 นางสาวเขมกร ไกรรักษ์ บมจ.ประกนั ภัยไทยวิวัฒน์

17 นายคมสัน พนั ธุ์มติ ร บมจ.ประกันคุ้มภยั

18 นายจรี ะพล โพธปิ์ ระเทศ บมจ.ทิพยประกันภัย

19 นางสาวพรรณภา สุทธิ บมจ.กรุงเทพประกนั ภยั 86

20 นายกติ ติศักด์ิ โอฬารปราโมช บมจ.อาคเนยป์ ระกนั ภยั คณะทางาน
คณะทางาน
21 นางจนั ทรท์ ิพย์ อนิ ประดบั บมจ.นาสินประกนั ภัย คณะทางาน
คณะทางาน
22 นางสาวฉันทนา นาคทอง บมจ.สนิ มั่นคงประกันภยั


Click to View FlipBook Version