The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

13-ธนนล ตันติวัฒน์-แก้ไข02

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nannaphattantiwat, 2022-03-31 18:52:07

13-ธนนล ตันติวัฒน์-แก้ไข02

13-ธนนล ตันติวัฒน์-แก้ไข02

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ววิ ัฒนาการและระบบการเล่น

(SYSTEM)

คำนำ

คู่มือฝึกสอนฟุตบอลฉบับน้ี อธิบายถึงรายละเอียด ในเรื่องของวิวัฒนาการของฟุตบอล ระบบการเล่น
ฟุตบอล ท่ีมีมาตัง้ แต่ในอดีต ระบบการเลน่ ต่าง ๆ ทีม่ ีมากมาย ได้รวบรวมมาทำเป็นคู่มือฉบับน้ี เพื่อให้ผู้อ่านได้รับ
ความรู้ทราบถงึ วิวฒั นาการระบบการเล่นฟุตบอล เพื่อใหผ้ อู้ ่านเข้าใจถงึ ความถกู ต้อง ความเป็นมาตรฐานสากลของ
กีฬาฟุตบอล เนื้อหาสาระดังกล่าวที่ข้าพเจ้าได้รวบรวมสร้างเป็นคู่มือผู้ฝึกสอนดังกล่าว หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเป็น
ประโยชน์แกผ่ ูท้ ่ีสนใจในกฬี าฟตุ บอลตอ่ ไปในอนาคต

สดุ ทา้ ยนผ้ี เู้ ขียน ขอขอบคุณ รศ.ดร.ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ ทใ่ี ห้ความกรณุ าพิจารณาความถกู ต้องของ หนังสือ
เลม่ นใ้ี หม้ ีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน จึงเกิดหนังสือเล่มน้ีขึน้ มา

ธนนล ตนั ติวัฒน์

สารบญั หนา้
2
หัวเร่อื ง 4
6
บทที่ 1 31
- วตั ถปุ ระสงค์ 32
บทท่ี 2
- ววิ ฒั นาการของฟุตบอล
บทท่ี 3
- ระบบการเลน่ ฟุตบอล
บทที่ 4
- สรุปวิวัฒนาการ และระบบการเลน่ ฟตุ บอล
บรรณานกุ รม

1

วตั ถปุ ระสงค์

2

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ใหท้ ราบถงึ ประวตั ิ ความเป็นมาของววิ ฒั นาการ ระบบการเลน่ ฟตุ บอล ท่มี มี าตงั้ แตใ่ นสมยั อดตี
2. เพ่อื ใหท้ ราบถงึ ระบบการเล่น วิธีการเล่น เทคนคิ ตา่ งๆของการลงสนามเลน่ ฟตุ บอล
3. เพ่อื นาความรูท้ ่ไี ดจ้ ากคมู่ ือนี้ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเลน่ ฟตุ บอล ในอนาคต

3

วิวฒั นาการของฟตุ บอล

4

วิวัฒนาการของฟุตบอล

กอ่ นครสิ ตกาล – อ้างถงึ การเล่นเกมซ่ึงเปรยี บเสมือนต้นฉบบั ของกฬี าฟตุ บอลที่เกา่ แก่ทไี่ ดม้ กี ารค้นพบจากการเขยี น
ภาษาญป่ี ุ่น – จีน และในสมัยวรรณคดขี องกรีก และโรมนั ยคุ กลาง – ประวตั บิ นั ทกึ การเล่นในเกาะอังกฤษ อติ าลี และฝร่ังเศส

ปี พ.ศ. 1857 - พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดท่ี 3 ทรงออกพระราชกฤษฎกี าหา้ มเลน่ ฟุตบอล เพราะจะรบกวนการยงิ ธนู
ปี พ.ศ. 2104 - Richardo Custor อาจารย์สอนหนังสอื ชาวองั กฤษกลา่ วถงึ การเลน่ วา่ ควรกำหนดไว้ในบทเรยี นของ
เยาวชน โดยไดร้ ับอทิ ธิพลจาการเล่นกาลซโิ อในเมืองฟลอเรนท์
ปี พ.ศ. 2123 - Riovanni Party ได้จัดพิมพ์กตกิ ารการเลน่ คาลซโิ อ
ปี พ.ศ. 2223 - ฟตุ บอลในประเทศองั กฤษไดร้ ับพระบรมราชานุเคราะหจ์ ากพระเจ้าชารล์ ที่ 2
ปี พ.ศ. 2391 - ไดม้ ีการเขียนกฎขอ้ บังคับเคมบริดจข์ ึน้ เปน็ ครั้งแรก
ปี พ.ศ. 2406 - ได้มกี ารกอ่ ตงั้ สมาคมฟตุ บอลขนึ้
ปี พ.ศ. 2426 - สมาคมฟุตบอลจักรภพ 4 แห่ง ยอมรับองค์กรควบคุม และจัดตง้ั กรรมการระหว่างชาติ
ปี พ.ศ. 2429 - สมาคมฟตุ บอลเรมิ่ ทำการฝึกเจ้าหน้าที่ทีจ่ ดั การแขง่ ขัน
ปี พ.ศ. 2431 - เรม่ิ เปดิ การแขง่ ขนั ฟุตบอลลีก โดยยนิ ยอมใหม้ นี กั ฟุตบอลอาชพี และเพม่ิ อำนาจการควบคมุ ให้ผตู้ ดั สิน
ปี พ.ศ. 2432 - สมาคมฟตุ บอลสง่ ทมี ไปแขง่ ขนั ในตา่ งประเทศ เชน่ เยอรมนั ไปเยือนอังกฤษ
ปี พ.ศ. 2447 - กอ่ ตง้ั ฟีฟา่ ซ่งึ มีสำนกั งานอยูท่ กี่ รงุ ปารสี เมอ่ื 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 โดยสมาคมแหง่ ชาตคิ ือ ฝรัง่ เศส
เบลเยยี ม เดนมาร์ก สเปน สวเี ดน และสวติ เซอร์แลนด์
ปี พ.ศ. 2480 – 2481 - ข้อบงั คับปจั จุบันเขียนขน้ึ ตามระบบใหม่ขององคก์ รควบคุม โดยใช้ขอ้ บงั คบั เก่ามาเป็นแนวทาง

5

ระบบการเล่นฟตุ บอล

6

ระบบ 1-1-8 (OFFENSIVE SYSTEM)

ระบบการเล่นน้เี ปน็ สไตล์การเลน่ ที่ชาวองั กฤษและสโมสรฟตุ บอลในประเทศองั กฤษนิยมกัน
เม่ือการเล่นฟุตบอลสมยั ใหม่เรม่ิ ไดร้ ับการพัฒนาและจดั การในราว ค.ศ.1860 กฎกติกาของกีฬาฟุตบอล
ได้ถกู ร่างขนึ้ ค.ศ.1863 ซง่ึ ได้รวมถึงกฎในเรอื่ งการล้ำหนา้ และได้บนั ทึกไวว้ า่ ผ้เู ลน่ คนใดซง่ึ อยู่หนา้
ผ้เู ล่นหรือผเู้ ตะลกู บอลจะต้องอยนู่ อกจากการเลน่ และห้ามสมั ผัสกับลูกบอลการเลน่ มวี ธิ กี ารพาลกู บอล
ไปด้วยเทา้ ผู้เล่นที่ครอบครองลูกบอลจะสามารถใชเ้ ทา้ โยนลูกบอลเข้าประตขู องฝ่ายตรงข้าม ขณะ
เดียวกันผเู้ ล่นกองหนา้ อีก 7 คน กจ็ ะอย่ใู นสภาพรวมตัวกันเปน็ กลุ่ม วง่ิ กรูตามไป และเม่ือใดก็ตามท่ี
คนเลยี้ งลกู บอลไม่สามารถจะพาลกู บอลไปข้างหนา้ ไดห้ รอื เม่ือลกู บอลไดถ้ ูกเตะออกไปขา้ งหนา้ เขา
เหล่าน้นั จะเข้าเลน่ และแย่งลกู บอลทนั ทกี ารเลน่ ระบบนจ้ี ะมผี เู้ ลน่ เพียง 2 คนเทา่ น้นั อยใู่ นแนวหลงั
เพอ่ื ทำหนา้ ทเ่ี ป็นฝา่ ยปอ้ งกันและเก็บลูกตกทท่ี ะลุผา่ นกองหนา้ ของตนเขา้ มา โดยคนหนง่ึ ทำหนา้ ท่เี ป็น
กองกลางด่านท่ี 1 และคนทีส่ องทำหนา้ ทีเ่ ปน็ กองทพั หรือดา่ นสดุ ทา้ ยกอ่ นถึงประตู

7

ระบบ 1-2-7

ในระบบน้ีไดม้ ีการคน้ พบวา่ การมผี ้เู ล่นตำแหน่งเซนเตอรฮ์ าลฟ์ หรอื ฮาล์ฟตวั กลาง หรือผ้เู ลน่
ฮาล์ฟตัวต่ำ (Half back Center half) เปน็ ผู้เล่นทมี่ คี วามสำคญั ในการปอ้ งกนั ประตูในสมยั นผี้ ้เู ลน่
เซนเตอรฮ์ าล์ฟจะทำหน้าทค่ี ลา้ ยตวั กวาด (Sweeper) ในการเล่นฟตุ บอลสมยั ปัจจุบนั ผ้เู ลน่ กองกลาง
2 คน (Halfs) จะทำหน้าท่เี ป็นแนวแรกในการป้องกนั โดยอยขู่ า้ งหลงั แนวของกองหน้าผู้เลน่ ตำแหน่ง
เซนเตอรจ์ ะทำหนา้ ท่เี กบ็ ลูกบอลทท่ี ะลุผ่านแนวของกองหนา้ มาแลว้ จา่ ยออกดา้ นขา้ งของสนามไปยงั
ผเู้ ลน่ ตำแหนง่ ฮาลฟ์ ขา้ งใดข้างหนง่ึ หรือวา่ การรกุ โตก้ ลบั ตนเองการเล่นระบบนที้ างสโมสรตา่ งๆไดเ้ หน็
ความสำคญั ของการมผี ูช้ ว่ ยเหลอื เซนเตอรฮ์ าลฟ์ จงึ ได้มีการดึงผเู้ ล่นกองหน้าลงมา 1 คน เพอ่ื ทำใหม้ ี
ผเู้ ล่นตำแหนง่ ฮาล์ฟซา้ ย และขวา เพอื่ ใหก้ ารสนับสนนุ เมื่อเปน็ ฝา่ ยรุกและรบั กบั เซนเตอรฮ์ าล์ฟ ซง่ึ
กค็ อื การประยกุ ต์ระบบ 1-1-8 (ซึ่งยงั ไมไ่ ดใ้ หค้ วามสำคญั ต่อหน้าทผ่ี รู้ ักษาประตู) มาเป็นระบบ 1-2-7

8

ระบบ 2-2-6 (QUEEN’S PARK SYSTEM)

สโมสรควนี สปารค์ ของสกอ็ ตแลนด์ เปน็ ผใู้ หแ้ นวคดิ และแทกติกในการเลน่ ฟตุ บอลเปน็ สโมสร
แรกแต่เดิมนน้ั ผเู้ ล่นทางฝา่ ยอังกฤษเหน็ วา่ การเลน่ ไม่มวี ธิ ีใดดไี ปกวา่ การเลยี้ งลูกฟุตบอลใหด้ ขี นึ้ นั้นคือ
การสร้างใหผ้ เู้ ล่นเปน็ “เทพบตุ รแหง่ การเลย้ี งลกู บอล” แตส่ โมสรควนี สปารค์ ไดเ้ ลง็ เห็นความสำคญั
และข้อดขี องการสง่ ลูกไปใหเ้ พอ่ื นร่วมทีมมากกว่าการเล้ยี งโดยถอื ว่าการสง่ ลูกบอลคอื งานทจี่ ะต้องทำ
เพราะทำใหไ้ ด้เปรียบคตู่ อ่ สูไ้ ม่ตอ้ งเหนอ่ื ยมากและเป็นประโยชน์ต่อกฎกติกาเรอื่ งการล้ำหนา้ ซง่ึ ไดร้ บั
การปรบั ปรุงใหม่ ค.ศ. 1967 โดยอนญุ าตใหผ้ เู้ ลน่ สามารเลน่ ลูกบอลได้ถา้ มผี เู้ ล่นฝ่ายปอ้ งกัน 3 คน อยู่
ระหวา่ งเขากบั เสน้ ประตใู นขณะนนั้ ผู้เล่นของฝา่ ยอังกฤษยังคงเลน่ ในสไตลแ์ บบเดมิ ซ่ึงไม่เป็นประโยชน์
และเสยี เปรียบ ในกตกิ าการลำ้ หนา้ จนกระทง้ั ค.ศ.1870 ทีมงานสกอ็ ตแลนด์ ได้เริม่ ต้อนทมี ทางฝ่ายองั กฤษ
อยา่ งไม่มที างสูอ้ ังกฤษจงึ ไดม้ กี ารเปล่ียนแปลงวิธีการเล่นของตน และรูปแบบการเล่นของทีม ควนี สปาร์ค
ใน ค.ศ.1970

9

สไตล์การเล่นฟุตบอลของชาวสก็อตแลนด์ (การเลน่ ในลักษณะนยิ มการสง่ ลกู บอลกันไปมาในผรู้ ว่ มทมี )
ไดเ้ ป็นท่ีรกู้ นั ว่า ชาวอังกฤษได้ลอกเลยี นเอาแบบอย่างการเล่นไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ ทมี ของตน
ไมเ่ พยี งแตเ่ ท่านัน้ ยังทำให้เปน็ ความสำเรจ็ อยา่ งใหญ่หลวงใหก้ ับการเล่นฟุตบอลในอังกฤษดว้ ย นอกจากน้ี
ผู้เลน่ ชาวสกอ็ ตแลนด์ได้มกี ารย้ายถิ่นฐานเข้าไปอยใู่ นทางตอนเหนอื ของประเทศอังกฤษ ทำให้มีการ
เล่นฟุตบอลกันอยา่ งกวา้ งขวางตามสไตลข์ องชาวสกอ็ ตแลนด์และแล้วผลของการเลน่ ฟตุ บอลตามสไตล์
ของชาวสก็อตแลนดน์ ีเ้ อง ไดก้ ่อให้เกิดการสรา้ งรากฐานท่สี ำคญั มากในการเล่น โดยมกี ารดงึ เอาผ้เู ลน่
กองหน้ามาสตู่ ำแหน่งในการปอ้ งกนั มากขึ้นและหลักการเล่นเมอ่ื เปน็ ฝ่ายป้องกันในแบบปริ ามิดได้กลาย
เป็นมาตรฐานของการเลน่ ฟุตบอลทย่ี ั่งยนื นานจนกระทงั่ ทกุ วันนีแ้ ละทมี เปรสตนั นอรท์ เอ็นด์ซง่ึ มี
ผู้เลน่ ส่วนใหญเ่ ปน็ ชาวสก็อตแลนด์ได้เปน็ ที่รูจ้ กั กันว่าเปน็ ทีมท่ีได้พฒั นาการเลน่ ในระบบน้ีและเปน็
ระบบท่ใี ชใ้ นการเลน่ ซึง่ ชนะเลิศถงึ 2 ตำแหน่ง ค.ศ.1888-1889

ระบบน้ไี ดใ้ ชเ้ ลน่ กันมานานราว ๆ 50 ปีและแม้วา่ จะไดม้ ีการนำมาปรับปรุงใช้กนั อกี หลายคร้ัง
ในไมก่ ่ปี ีที่ผา่ นมานเี้ ราพบวา่ รปู แบบวิธีเล่นได้เปลย่ี นแปลงแตช่ อ่ื ตำแหนง่ ของผเู้ ล่นยงั คงเรียกกันเหมือน
เดมิ ถึงแมว้ า่ หน้าทต่ี ่าง ๆ จะได้มกี ารเปลยี่ นแปลงไปบ้างก็ตามทผ่ี ้เู ล่นท่ีทำหน้าทกี่ องหลงั จะมแี บคขวา
และแบคซ้ายกองกลางมีฮาล์ฟขวา ฮาล์ฟกลาง (Centerhalf) และฮาล์ฟซ้ายและกองหนา้ มีนอกขวา
หรอื ปีกขวา (Outsideright) ในขวา (Insideright ) ศูนย์หน้า (Center forward) ในซา้ ย (Insideleft)
และนอกซ้าย หรือปีกซ้าย (Outside left)

ระบบการเลน่ แบบปรี ามดิ หรอื รูปสามเหลีย่ ม

10

เทคนิคในเรื่องการประกบตัว (Marking) ยงั ไมไ่ ด้รับการพัฒนาในช่วงนี้แต่โดยท่ัว ๆ ไปเป็นทค่ี าด
หวังกนั ว่าผ้เู ล่นตำแหนง่ แบคท้งั 2 คน จะตอ้ งทำหน้าทป่ี ะทะตอ่ ต้าน และคุกคามผู้เล่นของฝา่ ยตรงข้าม
ในตำแหนง่ ในขวา ไปซา้ ย และศนู ยห์ น้า ขณะเดียวกันผูเ้ ล่นตำแหนง่ ฮาลฟ์ ซา้ ยและฮาลฟ์ ขวากจ็ ะต้อง
ทำหน้าทค่ี วบคุมปีกของฝ่ายตรงขา้ ม สว่ นผู้เลน่ เซนเตอร์ฮาลฟ์ มหี น้าทีใ่ นการเข้าปะทะเพ่อื การป้องกัน
และมีอสิ ระท่ีจะเคลอ่ื นไปสู่ทท่ี ่ีจะโจมตหี รอื มีการทะลผุ า่ นเข้ามาและตดิ ตามป้องกันผู้เลน่ กองหนา้ ที่
ไมม่ คี นคมุ

ผู้เล่นทีก่ อ่ ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงกฎกติกาครง้ั ยง่ิ ใหญ่ตั้งแตม่ ีการเลน่ ฟุตบอลกนั มาก็คือ“บิคมลิ ”
แมคเกรกเคน (“Bic Bill” Mc Crackent) เขาเป็นผเู้ ลน่ ระดับนานาชาตชิ าวไอแลนด์และเปน็ สมาชกิ
คนหนงึ่ ของทีมสโมสรนิวคาสเซลิ่ ลยไู นเตด็ ตง้ั แต่ ค.ศ.1905 เขาเปน็ ผูเ้ ล่นทม่ี ีการล่อหลอกให้คตู่ อ่ สลู้ ำ้
หน้าไดเ้ ก่งท่ีสดุ ในขณะน้นั ทีมสโมสรน๊อตตเ์ คานต์ ี้ได้อา้ งวา่ ทมี ของตนเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ วธิ ีการนี้แมคเกรก
เคนไดแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ ในขณะท่ีเปน็ ฝ่ายปอ้ งกนั เขาน้ันเขาสามารถทำใหค้ ่ตู ่อสกู้ ลายเป็นผ้ลู ำ้ หนา้ ได้
อยา่ งง่ายดาย (จะต้องมผี เู้ ลน่ ฝ่ายปอ้ งกัน 3 คน อยู่ระหวา่ งฝ่ายรุกกบั ผรู้ ักษาประต)ู กติกาการลำ้ หน้า
ในขณะนั้นไดท้ ำใหค้ วามสนกุ ตนื่ เต้นของกฬี าฟตุ บอลลดน้อยลงไป เมื่อผ้เู ลน่ ตำแหน่งเซนเตอร์ฮาล์ฟ
และแบคมคี วามฉลาด มเี ลห่ เ์ หลยี่ มในการเคลื่อนท่ีข้นึ ไปขา้ งหน้าอยา่ งรวดเร็วและด้วยความพร้อม
เพรียงในขณะทถี่ ูกรุกเขา้ โจมตี

การเลน่ ฟุตบอลเรมิ่ เสอื่ มความนิยมจากคนดูเมอื่ การแข่งขันจำเป็นต้องหยุดลงบอ่ ย ๆ เนอ่ื งจาก
มีการลำ้ หน้า และจำนวนประตูทเ่ี คยยิงกันไดค้ ราวละหลาย ๆ ลกู กลบั ลดนอ้ ยลงไปอยา่ งมาก ทำให้
ผูเ้ ล่นทางฝ่าย สก็อตแลนดไ์ ดพ้ ยายามผลกั ดันที่จะให้มีการเปลี่ยนแปลงกฎกตกิ าเรือ่ งการลำ้ หนา้ เสยี ใหม่
และ ค.ศ.1925 จึงไดม้ ีการเปลีย่ นกฎ กติกา การลำ้ หนา้ จากการมผี ู้เล่นฝ่ายปอ้ งกนั 3 คน ลดลงมาเหลือ
2 คน อยรู่ ะหว่างผู้เล่นฝ่ายรกุ กับเส้นประตู

11

เมอ่ื ลกู บอลเลน่ โดยฝ่ายรกุ และเปน็ กฎที่ยังคงใชก้ นั มาจนกระท่ังปัจจุบนั นี้การเปลี่ยนแปลงกฎ
ครั้งนไี้ ดม้ ผี ลกระทบต่อจำนวนของการไดป้ ระตูในการแขง่ ขนั ฟตุ บอลระดบั สโมสรอยา่ งมาก กล่าวคอื ในการแข่งขนั
ฟตุ บอลสโมสรระดบั ดวิ ชิ ั่น 1 ค.ศ.1924-1925 ทมี โบลตันวนั เดอเรอร์ส และทมี แมนเชสเตอร์ซิตส้ี ามารถยิงประตูสงู สดุ
ถงึ 76 ประตใู นฤดูกาลแขง่ ขันต่อมาปรากฏวา่ มกี ว่าคร่งึ ของทีมทเี่ ขา้ แข่งขนั สามารถยงิ ประตไู ด้มากกวา่ 76 ประตู
ค.ศ.1927-1928 ดิกซ้ีดนี สามารถยงิ ประตไู ดค้ นเดียวถงึ 60 ประตูในการแขง่ ขนั รบั ดิวชิ ่ัน 1 (First Divition)

แสดงให้เห็นจดุ ออ่ นในการปอ้ งกนั ของระบบ 2-3-5 ซง่ึ มีทว่ี า่ งมากบรเิ วณหนา้ เขตโทษ

12

ระบบ 3-2-1-4 (CHALIE BUCHAN’S SYSTEM)

การคน้ พบว่าผูเ้ ล่นกองหลงั มีจดุ อ่อน และไมส่ ามารถจะส้หู รือรับมอื กับกองหน้าของฝา่ ยตรงข้าม
ท่ีรกุ เข้ามาตรงกลางได้การปรบั ปรุงระบบการเลน่ เพอื่ ใหม้ ีผู้เล่นซึง่ ทำหน้าทป่ี อ้ งกันผูเ้ ล่นกองหน้า หรอื
ศนู ย์หนา้ ของฝา่ ยตรงข้ามท่รี กุ เขา้ มาบรเิ วณกลางสนามหน้าเขตโทษ เปน็ ผลงานของ “เฮอเบติ แชฟ
แมน” ซ่งึ ไดร้ บั ความคิดนีม้ าจาก ชาลีมูชนั (Chalic Buchan) ในขณะน้นั แชพแมนไดร้ ับหน้าทเ่ี ป็น
ผู้จัดการทีมของฮัดเดอสฟ์ ลิ ดท์ าวน์ ค.ศ.1926-1924 เมือ่ ทมี ของเขาชนะเลิศครั้งแรก (ทมี ฮัดเดอสฟ์ ลิ ด์
ชนะเลิศ 3 ปีซ้อนในฤดกู าลแข่งขนั 1923-1924 ถงึ 1925-1926) เขาไดถ้ อนตัวออกไป และเขาไดเ้ รม่ิ
ซอ้ื ตัวบชู ัน ซงึ่ เปน็ ผูเ้ ลน่ กองหน้าทีอ่ ยู่ในความคิดของเขาจากทมี ซันเดอรแ์ ลนด์ ในตอนตน้ ของฤดกู าล
แข่งขัน ค.ศ.1925-1926 ทีมอาเซนอลไดป้ ระสบกับความพา่ ยแพ้ถึง 7-0 ท่ีนิวคาสเซิล่ อันเปน็ ผลมา
จากศนู ย์หน้าของฝา่ ยตรงข้ามทีช่ ือ่ ฮกู แี้ อลเลเชอร์เปน็ ผนู้ ำให้กองหลงั ของทีมอารเ์ ซนนอลเกิดความ
สับสนยุ่งยากในขณะเปน็ ฝ่ายป้องกันบชู นั ได้ให้คำแนะนำกบั แชมแมนว่า การเข้าโจมตีของผ้เู ลน่ ตำแหน่ง
เซนเตอรฮ์ าลฟ์ นัน้ เปน็ ส่งิ ทไ่ี มจ่ ำเปน็ นักเพราะมีกองหนา้ มากอย่แู ลว้ และดว้ ยคำแนะนำนเ้ี องแชพแมน
ไดค้ วามคดิ ว่าเซนเตอร์ฮาล์ฟควรจะทำหนา้ ที่เปน็ ผปู้ อ้ งกนั คนหน่ึงของกองหลงั โดยมหี น้าท่ีอำนวยการ
ระหวา่ งผทู้ ำหน้าท่แี บคทั้ง 2 ขา้ งสามารถเล่นได้กวา้ งข้นึ ส่วนตรงกลางสนามตอนบนควรมีผเู้ ลน่ ซ่งึ ถอนลงมา
จากกองหนา้ ทำหน้าทีเ่ ป็นตวั เชอ่ื มในการเข้าโจมตีแทนผเู้ ลน่ เซนเตอรฮ์ าล์ฟเดิมซ่ึงเราเรยี กผู้เลน่ ตำแหนง่ นวี้ า่
ฮาลฟ์ แบค (Halfback or Midfielder or linkman)

13

แสดงระบบการเล่นทีใ่ ชเ้ ซนเตอรฮ์ าล์ฟ เปน็ ตวั ป้องกนั และมีผเู้ ลน่ ในตำแหนง่ ซา้ ย
ถอยลงมาเลน่ ในตำแหนง่ ลกึ ตามแบบของชาลี บชู ัน

14

ระบบ 3-2-2-3 หรอื 3-4-3 หรือดับเบิ้ลยเู อ็ม (W.M. system)

แชพแมนได้พยายามอีกครงั้ หน่งึ ในการแข่งขนั คร้งั ต่อไปของทมี อาร์เซนอลซึ่งเขาประสบ
กบั ชยั ชนะ 4-0 ทเ่ี มอื งเวสต์แฮม และหลงั จากนนั้ กเ็ รมิ่ ตงั้ ต้นเกยี่ วกบั การซือ้ ตวั ผเู้ ล่นท่เี หมาะสมและถกู
ตอ้ งกบั ยทุ ธวธิ ีของเขา และอเลกเจมสไ์ ดก้ ลายมาเป็นผเู้ ลน่ กองหน้าตัวต่ำ (Midfield Insideforward)
ทย่ี อดเยีย่ มทสี่ ดุ ค.ศ.1926 เขาก็ได้ผูเ้ ล่นทีส่ ูงใหญ่ชอ่ื เฮอบโี้ รเบิทส์มาจากออสเวทรซ์ ึ่งตอ่ มาไดช้ ่อื วา่
“นายตำรวจผไู้ ลก่ วดแหลก”โดยทำหน้าที่เปน็ กองหลงั ตัวต่ำ (Stopperor Center back) โรเบริ ต์ เป็น
ผู้ทมี่ รี ปู รา่ งเหมาะทจี่ ะเปน็ กองหลงั ตวั ตำ่ หรอื ตดั สกดั กั้นการรกุ ของศูนย์หนา้ ฝ่ายตรงข้าม เขาไดเ้ ล่นอยู่
ตรงกลางของกองหลงั ระหวา่ งแบคทั้ง 2 ข้าง คือ แฮพกดู๊ กับ เมล ซงึ่ ทำหนา้ ทีป่ ้องกนั การโจมตีทางด้าน
ปีกและเมือ่ ทมี อาร์เซนอลไดซ้ ื้อตัวเดวิดแจกค์ ค.ศ.1928 เพ่ือนำมาเลน่ คกู่ ันอเลกเจมส์และซอ้ื ผเู้ ล่น
ปีกท่ที ำการรุกเขา้ โจมตอี ยา่ งรวดเร็วอีก 2 คน คอื โจอี้ฮลั เม กับ ครฟิ ฟ์บาสติน จึงทำให้ทมี อารเ์ ซนอล
ภายใต้การนำของแชพแมนสมบรู ณข์ ึน้

ผเู้ ลน่ กองหน้าตวั ต่ำ (Mid-field Inside forward) คนท่ี 2 น้ีคอื เดวิด แจกค์จะเล่นคกู่ ับ
อเลกเจมส์อยู่ในแนวหลังของกองหน้าท้งั 3 คน เพือ่ ทำหน้าทเ่ี ปน็ ตัวเช่อื มโดยลงมารับลูกส่งจากกองกลาง
และกองหลงั เพ่ือนำไปป้อนใหก้ ับกองหน้าหรอื เขา้ โจมตีดว้ ยตนเองและดว้ ยวิธเี ล่นแบบนเ้ี อง ไดน้ ำมา
สู่การเลน่ ระบบ ดับเบลิ ย.ู เอ็ม.

ระบบการเล่นแบบ W.M.

15

ทีมอารเ์ ซนอลเป็นรปู แบบของการเลน่ เชงิ ปอ้ งกันและมวี ิธีการรุกเขา้ ทำประตอู ยา่ งรวดเร็วและ
มีความฉลาดในการทะลุทะลวงฝา่ ยตรงขา้ ม ด้วยเหตทุ ีท่ มี ไมต่ อ้ งแข่งขนั บ่อยและมีชัยชนะ พวกเขาจึง
ไดช้ ื่อวา่ “ทมี อารเ์ ซนอลผู้โชคด”ี โดยไดแ้ ชมป์ถว้ ย 4 ครัง้ และไดร้ องแชมป์ 1 ครง้ั ตัง้ แตฤ่ ดูกาล
แขง่ ขัน ค.ศ.1930-1931 และ ค.ศ.1937-1938 ผลของชัยชนะนไ้ี ด้สร้างให้ทีมอารเ์ ซนอลเป็นสโมสรที่
มชี อ่ื เสยี งท่สี ดุ ในโลกในขณะนน้ั

สโมสรอนื่ ๆ ในประเทศอังกฤษไดท้ ำงานกนั อย่างหนักที่สุด เพ่อื จะตามอย่างระบบการเล่นของ
ทีมอารเ์ ซนอล แตท่ มี เหล่านน้ั ประสบปญั หาเรอื่ งตวั ผเู้ ล่นท่เี หมาะสม แชพแมนได้ถูกบคุ คลตา่ ง ๆ เพ่ง
มองตลอดเวลาในชว่ งเริม่ ตน้ ทมี่ คี วามขาดแคลนในดา้ นความคิดเกยี่ วกับการพัฒนาฟุตบอลในประเทศ
องั กฤษ ซงึ่ การเฝา้ ดูจากสโมสรต่าง ๆ นนั้ เป็นการเปลีย่ นแปลงทีมของตนท่คี ่อนขา้ งจะไมย่ ุตธิ รรม แต่
อยา่ งไรก็ตามแชพแมนไดป้ ระสบกับความสำเรจ็ และยงั คงมีชัยชนะตดิ ต่อกันเรื่อยมา ท้ังนี้เพราะระบบ
และผ้เู ลน่ ของเขาเขา้ กนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมแตอ่ ย่างไรกต็ ามผ้เู ล่นท่ีพยายามจะเลียนแบบวิธีของแชพแมน
เพือ่ ท่ีจะสามารถทำใหไ้ ด้เหมอื นกนั น้นั ปรากฏวา่ หลายคนติดขดั อยทู่ ี่ความสามารถและประสบการณ์
ของตนเองซงึ่ มีไมพ่ อ

การพัฒนาในเร่ืองการมแี บคคนท่ี 3 คือตวั สกดั กั้นนไ้ี ดร้ บั การเผยแพรไ่ ปต่างประเทศแตย่ ังไมม่ ี
ใครใหค้ วามสนใจทจ่ี ะเลน่ ตามแบบนั้นมากนัก จากระยะเรม่ิ ต้นของกีฬาฟุตบอลสมัยใหม่ ไบรตนั ส์ (Britions)
ไดม้ สี ว่ นชว่ ยในการเผยแพรเ่ กมนไี้ ปทวั่ โลก และอีกบุคคลหนึง่ ทมี่ ชี ่ือเสียงและประสบความสำเร็จมากท่สี ุดน้ันคอื
ผ้ฝู ึกสอนหรือโค้ชชาวองั กฤษที่ช่อื จิมมีโ่ ฮแกน ผซู้ ง่ึ ได้รับเชิญจากฮูโกเมสล์ (HugoMeisl) ไปยงั กรงุ เวยี นนา
ใน ค.ศ.1912 และด้วยเหตนุ โ้ี ฮแกนจงึ ไดเ้ ริ่มฝึกสอนฟุตบอลใหก้ บั ผู้เลน่ ชาวออสเตรยี ดว้ ยสไตล์การเลน่ ที่เยยี่ มของ
ชาวสก็อตแลนดแ์ ละกลยทุ ธ์ในการเข้าโจมตผี ู้เล่นเซนเตอรฮ์ าร์ฟฝา่ ยตรงข้าม ซง่ึ ปรากฏวา่ ผเู้ ล่นชาวออสเตรีย
ไดป้ ฏเิ สธท่ีจะยอมรบั กลยุทธ์อันนใี้ นตน้ ค.ศ.1930

16

ทีมออสเตรียไดเ้ ปน็ ทีร่ จู้ ักกันในชื่อวันเดอรท์ มี (Wonderteam) ซ่ึงประสบชัยชนะครัง้ ยิ่งใหญเ่ หนอื ทมี
สกอ็ ตแลนดถ์ งึ 5-0 ในกรุงเวยี นนา ในขณะน้นั ทมี อังกฤษยงั คงพึงพอใจกับวิธกี ารเล่นแบบเดมิ เม่ือทีม
อังกฤษสามารถชนะวันเดอรท์ ีม 4-3 ท่ีแสตนฟอร์ด บริดจ์ ค.ศ.1932 แต่ปรากฏว่าสไตล์การเลน่ ของ
ชาวออสเตรยี ไดม้ ีอิทธพิ ลมากกว่าเจ้าของประเทศ โดยมองกันในแง่ของการพฒั นายทุ ธวิธีในการเล่น
ต่อมา ค.ศ.1950 ทีมออสเตรยี ไดถ้ กู ปลุกใหเ้ ข้มแขง็ และมีพลังอีกครง้ั หนึง่ โดยเอนิ สท์ออ๊ กเวิร์ค
(Ernst Ocwirk) คราวนท้ี มี ไดม้ จี ดุ เด่นอยู่ทคี่ วามสามารถของผ้เู ลน่ และการโจมตผี เู้ ล่นตำแหนง่ เซนเตอร์ฮาร์ฟ
ที่ได้ผลและงดงาม

ทมี ออสเตรยี ไดแ้ พ้ 1-0 แกท่ มี อติ าลใี นรอบรองชนะเลิศของการแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลก ค.ศ.1934
ในขณะนั้น อิตาลมี ผี จู้ ดั การทีมทช่ี อื่ ว่า วิทโทริโอ พอซโซผ้ซู ง่ึ นิยมชมชอบการเล่นของ “ชาลีโรเบิรต์ ”
ผู้เล่นตำแหนง่ โจมตีเซนเตอร์ฮาร์ฟของทมี แมนเชสเตอรย์ ูไนเตด็ ในตอนต้นของ ค.ศ1900 พอซโซ เปน็
อีกผูห้ น่งึ ทไี่ มส่ นใจกับการเล่นในแบบมแี บคคนที่ 3 หรือตัวสกดั กั้น (Stopper) ถึงแมว้ า่ ในขณะน้ันทมี
ของเขาจะมผี เู้ ล่นตำแหน่งเซนเตอร์ฮาร์ฟ ทยี่ ่ิงใหญ่ ใน ค.ศ.1930 ท่ีชือ่ ลุยซโิ ต มอนติ (Luisito Monti)
ซ่งึ เปน็ ผูเ้ ลน่ ที่มวี ิธกี ารเข้าสกดั ก้นั ได้อย่างรนุ แรงและเฉียบขาดก็ตาม เพราะในขณะนน้ั ทีมอติ าลยี งั
คงนิยมการเลน่ เกมแบบรุกเข้าโจมตมี ากกว่าทีจ่ ะต้ังรบั และทมี อติ าลไี ด้ประสบความสำเรจ็ จากการเลน่
วธิ ีนน้ั ถงึ 2 ครั้ง ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลก ค.ศ.1934 และ ค.ศ.1938 ส่วนทีมอังกฤษเองไดเ้ ขา้ ร่วมเลน่
ในการแข่งขนั ฟุตบอลโลกกอ่ นมสี งครามโลกครั้งท่ี 2 แตย่ ังคงมกี ารเล่นทไ่ี ม่น่าประทับใจและไมป่ ระสบ
ความสำเร็จในการแข่งขัน

17

ภายหลังทไ่ี ด้ทำการฝึกสอนฟุตบอลในออสเตรียแล้ว จิมม่ี โฮแกน ไดไ้ ปฝึกสอนการเล่นฟุตบอล
ในสไตลร์ กุ เขา้ โจมตีใหก้ ับทมี ฮงั การีและเยอรมนซี ง่ึ ประเทศเหลา่ นีไ้ ดท้ ำให้ทมี อังกฤษประสบกับความ
ตกตะลงึ ด้วยความแปลกใจ ในภายหลงั ตอ่ มา

อาเธอร์โรวเ์ ป็นโค้ชและเป็นผ้เู ล่นในตำแหน่งโจมตเี ซนเตอรฮ์ ารฟ์ ดว้ ยตนเองเขาอย่ใู นฮังการี
ค.ศ.1930 ดว้ ย และเขาไดส้ อนสไตล์การเล่นกฬี าฟตุ บอลในแบบการส่งดว้ ยความรวดเร็วเพอ่ื การเข้าโจมตีผเู้ ลน่
เซนเตอรฮ์ ารฟ์ ใหก้ บั ผู้เลน่ ชาวฮังการซี ่ึงในทมี ทอ็ ตแนม (Tottenam) ของเขาเป็นทีมแรกทีผ่ ลกั ดันให้
เกิดแนวคิดเกย่ี วกับการใชแ้ ทกติก การเล่นนภี้ ายหลังสงครามโลกครงั้ ที่ 2 เมื่อพดู ถงึ ยทุ ธวิธีใน
การสง่ บอล ทมี สเปอร์ เป็นทมี ท่มี สี ไตลก์ ารเลน่ ในแบบ “สง่ ลกู บอลแล้ววงิ่ ” (Pass and run)
โดยผ้เู ลน่ ของสเปอรไ์ ด้ใช้สไตล์การเล่นของชาวสก๊อตแลนดซ์ งึ่ ฮลั ฟแ์ รมเซยไ์ ดบ้ นั ทกึ วา่ การเลน่ ของทีมสเปอร์
มกั จะมีการส่งลูกบอลกลับไปยังผรู้ กั ษาประตูบอ่ ยคร้งั ทั้งนเ้ี พราะเขาเชอื่ ว่าเปน็ วธิ ีทีด่ ีทีส่ ดุ ในการรกั ษาลกู บอล
ใหอ้ ย่ใู นความครอบครองของทมี ไดน้ าน และทมี สเปอร์ไดม้ คี วามรู้สกึ พงึ พอใจกบั ความสำเร็จในแทกตกิ
การเล่นแบบน้ีมาก โดยไมไ่ ด้เรยี นรูห้ รอื ศึกษาข้อดีข้อเสยี อย่างเพยี งพอ

18

ระบบ 4-1-1-4 หรอื 4-2-4 ของทมี ฮังการี (HUNGARIAN’ DEEPLYING CENTER FORWARD SYSTEM)

ค.ศ.1953 ทมี ฮังการีไดเ้ ขา้ มาแข่งขันกับทมี องั กฤษ ณ สนามเวมบลี และชนะไป 6-3 ซ่งึ เปน็ ครงั้
แรกท่ที ีมอังกฤษถกู ทมี จากนอกประเทศ (ยกเว้นทมี ไอรแ์ ลนด)์ มาชนะถึงในบ้าน ทมี องั กฤษได้ถูกทำให้
งงและแก้ปญั หาไม่ตก โดยไฮเดกคูติ (Hidegkuti) ผู้เลน่ ตำแหนง่ ศนู ยห์ นา้ สวมเส้ือเบอร์ 9 ได้ดึงตวั เอง
ให้ต่ำลงมาจากแนวของกองหน้า ซง่ึ เปน็ การทงิ้ ปญั หาวิธีการเล่นไวใ้ ห้ชาวอังกฤษไดข้ บคดิ กันตอ่ มา
นอกจากนที้ ีมฮงั การยี ังมวี ธิ ีการเลน่ ซึง่ ครอบครองลูกบอลไว้กบั ทมี ดว้ ยความฉลาด

ฮาร์เธอร์โรว์ ไดเ้ ฝา้ สังเกตการณก์ ารแขง่ ขนั ครั้งน้อี ย่ดู ว้ ยและเขามคี วามเห็นว่า ฮารร์ จี่ อรน์ สตนั
เป็นผเู้ ล่นเซนเตอรฮ์ าร์ฟทไ่ี มเ่ หมาะสม กลา่ วคอื ไมม่ กี ารแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ที่ดีเขาสับสนโดยไม่รูว้ า่
เขาควรจะประกบไฮเดกคตู ิดีหรอื ควรจะทำหนา้ ท่ีคอยสกัดกัน้ อยใู่ นตำแหนง่ เดิม และในความสับสนนี้
เองทเี่ ปิดโอกาสใหโ้ คซิซ (Kosis) และปุซคาศซ (Paskas) พุ่งเข้าสทู่ ่วี ่างบริเวณตรงกลางหนา้ ประตูของ
ทีมองั กฤษไดโ้ ดยงา่ ย รปู แบบการเล่นในระบบนี้และน้ีคอื วิธีการเล่นที่กอ่ กำเนดิ ระบบการเลน่ แบบ 4-2-4
โดยให้บอสซคิ (Bozsil) เลน่ อยู่ข้างหลงั ของไฮเดกคตู ิ ดอนเรว่ี (DonRavie) ไดเ้ ลียนแบบการเลน่ ของ
ไฮเดกคตู ซิ ึ่งเล่นในแนวลึกนแ้ี ละประสบความสำเรจ็ ในการแข่งขันภายในประเทศองั กฤษเป็นระยะ
เวลายาวนานทเี ดยี ว

19

การป้องกนั ของทีมอังกฤษไดว้ างรากฐานไวว้ ่าผเู้ ล่นเซนเตอรฮ์ ารฟ์ จะต้องประกบตวั ผูเ้ ลน่ ฝ่ายตรงข้าม
ท่สี วมเสื้อเบอร์ 9 ซ่งึ มกั จะเลน่ ในรปู หวั หอกในการเขา้ โจมตดี ังนั้นจงึ เกิดการสบั สนข้ึนเมอื่ ผู้เลน่ เบอร์ 9
ถอนตวั ลงไปเลน่ ในแนวตำ่ ซ่ึงถา้ เซนเตอรฮ์ าร์ฟ ไม่ตามมาประกบเขากจ็ ะเลน่ ไดอ้ ยา่ งสบาย และในทางตรงกันขา้ ม
ถา้ ตามประกบ ก็จะทำใหบ้ รเิ วณหนา้ ประตเู กิดชอ่ งวา่ งขนาดใหญ่ ซงึ่ เปน็ อนั ตรายมาก ไฮเดกคตู ซิ ่งึ สวมเสื้อเบอร์ 9
ไดม้ วี ธิ กี ารว่งิ เป็นแนวเฉยี งรปู กากบาท ซึ่งตา่ งกบั สไตลก์ ารวงิ่ แบบเดมิ ของศูนยห์ นา้ ทมี่ กั จะมุ่งเขา้ หาประตู
ของฝา่ ยตรงข้าม แตไ่ ฮเดกคตู ใิ ช้วธิ ีวิ่งเฉียงเพ่อื ป้องกันการล้ำหน้าแล้วเข้าโจมตีทางด้านข้างและหลงั ของเซนเตอรฮ์ ารฟ์

ระบบศูนยห์ น้าหอ้ ยตำ่ ของฮังการี ค.ศ.1953 หรอื 4-2-4 ในระยะเร่มิ แรก

20

ระบบ 1-3-2-4 (THE VERROU OR SWISS B0LT SYSTEM

ทมี สวิตเซอร์แลนด์ไม่คอ่ ยเป็นทส่ี นใจของคนทวั่ ไป และไม่คดิ วา่ จะมีความเกง่ กาจ
ในเชงิ กีฬาฟุตบอล แตอ่ ย่างไรกต็ ามปรากฏว่าทมี สวสิ เซอรแ์ ลนดไ์ ดเ้ ข้าแขง่ ขันฟุตบอลโลกรอบสดุ ทา้ ย
ถงึ 2 ครัง้ ก่อนสงครามโลกครง้ั ที่ 2 และอกี 4 ครัง้ ภายหลงั สงคราม และทีจ่ ริงแล้วทมี สวสิ เซอรแ์ ลนดเ์ คยเสมอ
กับทีมบราซลิ 2-2 ในปี ค.ศ.1950 ทีมสวิสเซอร์แลนดไ์ ด้แนะนำใหช้ าวโลกรจู้ กั กับแทกติกในการปอ้ งกนั
แบบมีตวั กวาด (Sweeper) ระบบนีไ้ ดเ้ รยี กกันว่าระบบตะแกรงรอ่ น (Bolt) หรอื เวอร์รู (Verrou)

ระบบเวอรร์ ู หรอื ตะแกรงร่อน หรอื 1-3-2-4 ของสวสิ เซอร์แลนด์
ระบบน้ีต้องการผ้เู ล่นกองหลังอกี 2 คน โดยเลน่ อยตู่ รงกลางระหว่างผ้เู ลน่ ตำแหนง่ แบคเดมิ
เรยี กว่าศูนยห์ ลงั หรือกลางหลงั (Inside forward) จะทำหน้าที่เปน็ ผู้เลน่ กองกลาง (Midfield) และมผี ู้เล่นกองหนา้
จำนวน 4 คน ทำหนา้ ทเ่ี ข้าโจมตฝี า่ ยตรงข้าม การจดั หน้าท่ีจะมอบหมายใหก้ องหลังคนหน่ึงทำหนา้ ที่เขา้ สกัดกน้ั
เป็นด่านแรกบริเวณกลางสนาม สว่ นกองหลงั อกี คนหนง่ึ จะห้อยต่ำลงมาทำหน้าทเ่ี ปน็ ดา่ นทสี่ องหรอื ตะแกรงร่อน
เพ่อื สกัดก้นั ฝา่ ยรกุ ทีท่ ะลผุ า่ นแนวของกองหลงั เข้ามาไดเ้ ขาจะตอ้ งทำหนา้ ท่อี า่ นเกมการโจมตที างดา้ นขา้ งของสนาม
ทงั้ 2 ด้านและอนื่ ๆ โดยตอ้ งควบคมุ ชอ่ งทางท่จี ะถกู โจมตเี ขา้ มาทง้ั หมดก่อนที่ฝา่ ยรกุ จะเข้าถึงตัวผรู้ ักษาประตู

21

ระบบ 1-4-3-2 หรอื คาเทแนกซิโอ (CATENACCIO SYSTEM)

ทางฝา่ ยทมี อตี าลีโน ค.ศ.1950 แนวคิดหนึง่ ไดร้ บั เอาการมตี วั กวาด (Sweeper) มาพัฒนา
ใช้กบั ระบบการป้องกนั ทเี่ รียกช่อื วา่ คาเทแนกซโิ อ ระบบนเี้ กิดขนึ้ ไดเ้ น่อื งจากสโมสรฟตุ บอลของอิตาลี
มีฐานะการเงินทร่ี ำ่ รวย และสโมสรเหลา่ นไี้ ดม้ กี ารกว้านซื้อตัวดารากองหน้าทยี่ อดเย่ยี มมาจากประเทศอน่ื ๆ
(ซงึ่ ให้ค่าตอบแทนแก่ผู้เลน่ ของตนนอ้ ยกว่า) ผเู้ ล่นของทีมสวเี ดนได้ถอื เป็นแหลง่ เลือกซือ้ ที่ดงึ ดดู ใจเพราะ
ว่าทมี สวีเดนสามารถชนะทีมอติ าลี 3-2 ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลกรอบสดุ ทา้ ย ค.ศ.1950 และอิตาลกี ็
เปน็ ประเทศหนึง่ ท่ไี ด้ซ้ือผู้เล่นของสวเี ดนไปเลน่ ในระดบั สโมสรภายในประเทศข้างฝ่ายสโมสรทย่ี ากจน
มฐี านะทางการเงนิ ไม่ดพี อก็ไดเ้ รง่ พัฒนาการปอ้ งกันของทีมเพือ่ ทำใหผ้ เู้ ลน่ ดาราท่ถี ูกซื้อตวั มาน้ใี ชไ้ มไ่ ดผ้ ล

22

คาร์ล รพั แพน (Karl Rappan) ชาวออสเตรยี ซึง่ เป็นผจู้ ดั การทีมของสวสิ เซอรแ์ ลนดไ์ ดก้ ล่าววา่
เขารสู้ กึ เฉยๆและไม่ชน่ื ชมกบั การสรา้ งระบบน้โี ดยเหน็ วา่ เป็นการใชก้ ำลังผเู้ ล่นไปในการป้องกันท่ีมาก
เกนิ ไป แตเ่ ฮเลนโิ อ เฮอเรรา (Helanio Herrera) ผซู้ ง่ึ ทำหนา้ ทผ่ี ู้จดั การทมี ของสโมสรอนิ เตอรม์ ลิ าน
(Inter-Milan) ได้ประสบความสำเร็จในการพฒั นาระบบนอี้ ยา่ งมากทงั้ ในการแขง่ ขนั ภายในและภายนอก
ประเทศ และต่อมาระบบนไี้ ดน้ ำไปสผู่ ลในทางลบ

ผเู้ ลน่ ทีท่ ำหนา้ ท่ตี วั กวาด มหี น้าทีอ่ ำนวยการอยูข่ ้างหลังของแนวผ้เู ล่นปอ้ งกัน ซึ่งจะทำหนา้ ที่
จบั ตายผ้เู ลน่ กองหน้าของฝา่ ยตรงขา้ มเป็นรายบุคคล ส่วนตัวกวาดจะเป็นผู้ป้องกันพิเศษอยขู่ ้างหลัง
ของกองหลงั เหลา่ นนั้ อกี ทหี น่ึง สโมสรฟตุ บอลในอิตาลีไดก้ ำหนดให้เหลือผู้เล่นกองหน้า 1 หรอื 2 คน
เป็นอย่างมากในการทำหนา้ ท่เี ขา้ โจมตกี ารแขง่ ขันภายในประเทศแตล่ ะทีมเนน้ ทจ่ี ะลดโอกาสในการยิง
ประตูของฝ่ายตรงขา้ ม โดยเสรมิ การปอ้ งกนั และมคี วามเชื่อม่นั ในตัวผ้ทู ำหนา้ ท่ีโจมตกี ลบั อย่างรวดเร็ว
เพอื่ ท่จี ะฉวยโอกาสเขา้ ทำประตแู ละนำมาซึง่ ชัยชนะในท่ีสุดและดว้ ยเหตทุ ม่ี กี ารป้องกันแข็งแกรง่ แตม่ ี
ผู้เลน่ กองหนา้ นอ้ ยนเี่ อง ผลการแขง่ ขนั ฟุตบอลภายในของอิตาลจี ึงมกั ลงเอยด้วยการแพ้ชนะกนั เพียง
1-0 ซ่งึ ไมเ่ ปน็ ท่สี นใจและไมส่ ร้างความต่นื เตน้ ชวนให้ตดิ ตามดเู ทา่ ทคี่ วรและผลของการเล่นวธิ นี ไี้ ด้
กระทบไปถงึ การแขง่ ขนั ในระดับโลกดว้ ย กล่าวคือทีมอิตาลไี ม่ประสบผลสำเรจ็ เม่ือใช้ระบบนใ้ี นการ
แข่งขนั ฟตุ บอลโลกตง้ั แตห่ ลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 เปน็ ต้นมา ผ้ชู มทบ่ี า้ คลง่ั ฟตุ บอลชาวอิตาลีต้องอดทน
ต่อความอบั อาย เมอ่ื ทีมของตนแพ้แมก้ ระท่ังทมี เกาหลีเหนือซง่ึ มาจากทวปี เอเชยี 1-0 ในฟตุ บอลโลก
ค.ศ.1966 ถึงแม้วา่ ทมี อนิ เตอร์มิลานจะได้รับความสำเรจ็ อยา่ งมากในการแข่งขันในทวปี ยุโรป ค.ศ.1960
ท้ังน้เี พราะทมี มผี เู้ ลน่ ที่มพี รสวรรคห์ รือมีความสามารถพอเหมาะกบั ระบบ แตก่ เ็ ป็นเพราะการซอื้ ตัว
ผเู้ ล่นมาจากตา่ งประเทศความสำเรจ็ อันเน่อื งมาจากมผี ้เู ล่นทเี่ หมาะสมกบั ระบบที่ใช้น้ีคล้ายกบั ของทีม
อาร์เซนอล ค.ศ.1930 ซง่ึ ไดซ้ ้ือผูเ้ ล่นมาจากสโมสรอน่ื ๆ และมีการฉวยโอกาสทด่ี ใี นการเขา้ ทำประตู

23

ระบบ 4-2-4 (THE STANDARD 4-2-4 SYSTEM)

ทมี บราซิลไมเ่ คยเลน่ ฟุตบอลในสไตลต์ งั้ รับ เม่ือทมี ไดร้ บั ชยั ชนะในฟตุ บอลโลก ค.ศ.1958
บราซลิ ใชร้ ะบบ 4-2-4 ซึ่งกลายเปน็ ภาษาของกฬี าฟุตบอลท่ีตดิ ปากคนทั่วไปคือ บราซลิ มคี วามเช่ือมน่ั ใน
กองหนา้ ที่สำคญั 4 คน คอื การินชา, วาวา่ , เปเล่และซากาโล โดยมผี เู้ ลน่ กองกลาง 2 คน และใช้ผู้เลน่ ใน
การป้องกนั เพยี ง 4 คน ซง่ึ เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั กองหน้าแลว้ ถือวา่ เปน็ งานทห่ี นักกวา่ กองหนา้ ทม่ี ีความ
สามารถสูงในการเข้าทำประตรู ะบบนี้ไดถ้ กู สรา้ งขึน้ เมื่อความเหมาะสมกับผเู้ ล่นของทมี บราซลิ เองใน
ขณะน้นั และแม้วา่ จะไมส่ ามารถคน้ หาผเู้ ล่นทม่ี ีความสามารถเหมอื นกบั เปเล่และดีดซี้ ่งึ เป็นผ้เู ล่นกอง
กลางทีด่ ีมากได้อีก แต่ปรากฏวา่ ระบบการเล่นแบบ 4-2-4 ได้กลายมาเป็นระบบที่ผู้จดั การทมี ทวั่ ไป
ปรารถนาทจี่ ะให้ทมี ของตนใช้ระบบน้ี

ระบบ 4-2-4 มาตรฐานของทมี บราซิล ซง่ึ ใชใ้ นการแข่งขนั ฟุตบอลโลก ค.ศ.1958

24

ระบบ 4-3-3 ซึ่งใชแ้ บควงิ่ อ้อมหลงั ไต่เส้นขา้ งขน้ึ ไปข้างหน้า
(THE 4-3-3 SYSTEM WITH OVERLAPPING FULL BACK)

อัล์ฟ แรมเซย์ได้ประยุกตร์ ะบบการเล่นแบบ 4-3-3 ข้ึนและไดร้ บั ชยั ชนะในการแขง่ ขนั
ฟตุ บอลโลก ค.ศ.1966 ณ ประเทศองั กฤษ โดยทีมอังกฤษเล่นโดยไมต่ ้องมีปีกตามระบบอนื่ ๆ ที่ใชก้ ันอยูเ่ ดมิ
ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ เกิดช่องว่างทางดา้ นขา้ งของสนามท้งั สองด้านและเปน็ โอกาสใหม้ ีการรุกเขา้ ทำประตูของ
ผเู้ ล่นตำแหน่งโจมตไี ด้อย่างน่าดแู ละน่าตืน่ เต้นในเกมการแขง่ ขนั กฬี าฟตุ บอลอย่างไรก็ตามทรี ะบบการ
เล่นแบบน้ีก็เป็นระบบท่ีอลั ์ฟ แรมเซย์ ไดค้ ิดข้ึนเพ่อื ความเหมาะสมกบั ผู้เลน่ ทเี่ ขามีอยู่ แรมเซยไ์ ด้ใชผ้ ู้
เลน่ ตำแหนง่ แบคทง้ั 2 คน คือ ยอร์จ โคเฮน แลเรยว์ ลิ สัน ใหท้ ำหน้าท่ีปกี ด้วยอกี ตำแหน่งหนงึ่ โดยทัง้
2 คน จะคอยช่วยสนับสนนุ ในเม่ือเปน็ ฝ่ายรกุ การเลน่ เช่นนี้จะเปน็ การเล่นทเี่ หลอื่ มหรือซ้อนกันกับ
ผู้เล่นกองกลางด้วย และเม่อื ตกเปน็ ฝ่ายรบั ผู้เลน่ แบคทง้ั 2 คนนี้จะตอ้ งทำหนา้ ทีเ่ ปน็ ผ้ปู ้องกันผู้เล่นปกี
ของฝ่ายตรงข้ามด้วย นอกจากนแี้ รมเซย์ไดม้ อบหมายให้มาติน ปเี ตอรซ์ ่ึงเล่นในตำแหน่งกองกลางให้
เล่นเป็นปกี ในบางคร้งั และใหอ้ ลัน บอลล์ทำหน้าท่โี จมตคี ล้ายกบั ซากาโล ของทมี บราซลิ เพราะอลนั
บอลล์เป็นผ้เู ล่นท่ีมพี ลังพอที่จะเลน่ ในตำแหน่งที่ปกคลมุ เนือ้ ทที่ ีก่ วา้ งขวางไดส้ ำหรับบอบบ้ชี ารล์ ตนั
ซ่งึ เล่นในตำแหนง่ กองกลางจะมหี นา้ ทเี่ ขา้ โจมตีไดอ้ ย่างอนั ตรายทส่ี ดุ โดยการรุกเขา้ ไปจากตำแหน่งทล่ี กึ
ในแดนกลางและใหน้ อบบสี้ ไตเลส ทำหน้าที่เปน็ ตวั กวาดในแดนกลางหรอื แนวหนา้ ของกองหลงั ทัง้ 4
คน ซึง่ บางครงั้ ตอ้ งรับหน้าท่จี บั ตายผู้เล่นฝา่ ยตรงขา้ มทเี่ ปน็ อันตรายในระดบั ดารา เช่น ยูเซบโิ อ
ของทมี โปรตเุ กส เป็นต้น

25

ระบบ 4-1-2-3 หรือตัวกวาดในแดนกลาง (THE MID-FIELD SWEEPER SYSTEM)

ดว้ ยการมีพรสวรรค์ทีย่ ่ิงใหญ่ของ ฟรานซเ์ บกเคนบาวอ์แห่งทมี บาเยริ น์ มิวนคิ ประเทศเยอรมัน ตะวนั ตก
ในขณะทเี่ ฮลมุท โชน ทำหน้าท่ีเปน็ ผจู้ ัดการทีมของเยอรมันตะวนั ตกเขาไดม้ อบหนา้ ที่ตวั กวาดในแดนกลางให้
กับเบกเคนบาวดซ์ งึ่ ไดท้ ำหนา้ ท่ีนไ้ี ดอ้ ยา่ งสมบรู ณว์ ธิ ีการเล่นเช่นน้โี ชน ได้แนวคดิ มาจากเบกเคนบาวอ์
โดยใหศ้ ูนยก์ ลางของการปอ้ งกนั อยทู่ วั่ เบกเคนบาวอซ์ ึ่งเปน็ อิสระ (Libero) ไมต่ อ้ งประกบใคร พร้อมกนั น้ี
เขาจะทำหน้าท่ีเปน็ ผ้สู นบั สนุนและรุกเข้าโจมตีอยา่ งรวดเร็ว เขาเปน็ ผู้จ่ายบอลทดี่ แี ละพรอ้ มท่ีจะลงไปช่วย
ป้องกนั ในแนวหลงั ผูเ้ ล่นอย่างเบกเคนบาวอเ์ ปน็ ผเู้ ลน่ ทม่ี คี วามเฉลียวฉลาดในดา้ นการอ่านเกมฟตุ บอล
โดยเปน็ ลักษณะเฉพาะตวั ของนกั กฬี าเขาเปน็ ผเู้ ลน่ ที่ทำหน้าทชี่ ว่ ยสนับสนนุ ในการรกุ ไดด้ ีและจะเปน็ พเิ ศษ
เมื่อทีมกำลงั แพ้อยู่ เขาจะใชค้ วามคล่องตวั ความสามารถพเิ ศษและความเป็นอสิ ระในเรื่องของตำแหน่งหนา้ ท่ี
ในการเล่นรุกเขา้ ทำประตูท่ีสำคญั ๆ ได้หลายครงั้ ระบบการเลน่ แบบนี้ไดใ้ ช้เลน่ และมอี ิทธิพลในการแขง่ ขันฟุตบอลโลก
ค.ศ.1970 และ ค.ศ.1974

แสดงระบบ 4-1-2-3 หรอื ระบบตัวกวาดในแดนกลาง ซึ่งใชผ้ เู้ ล่นเบกเคนบาวอ์

26

ระบบฟตุ บอลสมบูรณแ์ บบหรือ 1-3-3-3 + การเปลย่ี นตำแหนง่ การเลน่ (TOTAL FOOTBAL
SYSTEM) OR 1-3-3-3 + ROTATION)

จากการเล่นของทีมเยอรมนั ตะวนั ตก ค.ศ.1970 เปน็ ตน้ มา เฮลมุท โชนไดส้ งั เกตเหน็ ความสามารถ
พเิ ศษของนักกฬี า ซ่งึ มีโอกาสได้แสดงออกมาอยา่ งเปน็ อิสระและทำใหเ้ กดิ ผลดตี ่อเกมการเล่น ทเี่ ปน็ เชน่ นี้
เพราะเขาไม่บังคบั ใหผ้ ูเ้ ล่นต้องเลน่ ตามแบบท่เี ขากำหนดมากเกนิ ไปจึงทำให้ผเู้ ล่นแตล่ ะคนได้มี
โอกาสแสดงลักษณะและความสามารถพิเศษของตนออกมาและใช้ไหวพริบแก้ปัญหาในโอกาสตา่ ง ๆ กนั
ท้ังหมดนี้เป็นเพยี งจุดเรมิ่ ต้นท่ีผฝู้ กึ สอนใหอ้ สิ ระกบั ผู้เล่นโดยไมต่ ้องทำหน้าทปี่ ระจำในตำแหน่งเดมิ อยู่
ตลอดเวลา โดยเฉพาะเบกเคนบาวอ์ ซ่งึ สามารถจะเคลือ่ นทไี่ ปได้ทกุ ส่วนในสนามตามสถานการณ์ของเกมการแขง่ ขนั
และได้ก่อใหเ้ กดิ แนวคดิ ใหม่ในวงการกีฬาฟตุ บอลขึ้น

ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลกรอบสดุ ทา้ ย ค.ศ.1974 ณ ประเทศเยอรมนั ตะวนั ตกทมี เยอรมันตะวัน
ตกสามารถเอาชนะทมี ฮอลแลนดใ์ นนดั ชิงชนะเลศิ ไปได้ 2 ต่อ 1 ประตูแตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ทีมฮอลแลนด์
ในขณะนั้น ประกอบดว้ ยผเู้ ล่นทสี่ ำคัญจำนวน 9 คนจากทมี เอแจ๊คแห่งอัมสเตอรด์ มั ซง่ึ เป็นแชมปย์ โู รเปย้ี นคัพ
(European Cup) ถงึ 3 ปีซ้อนจากปี ค.ศ.1971-1973 เขาเหล่านี้เปน็ ผเู้ ลน่ ทม่ี คี วามสามารถรอบตวั จงึ ทำให้
สามารถเคล่อื นทไี่ ปสู่การรกุ และรบั ได้อย่างรวดเรว็ และมกี ารเปล่ียนตำแหนง่ การเลน่ กันอยตู่ ลอดเวลาการแข่งขนั
จึงกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดีในเกมการรกุ เขา้ โจมตขี องทีม โดยฝ่ายตรงขา้ มจะเกดิ ความสบั สนในเร่ืองของการประกบ
ตัวผ้เู ลน่ ฝ่ายรกุ และเกมการเลน่ ทมี่ ีการเปลี่ยนตำแหน่งกันไดน้ ไ้ี ดท้ ำใหท้ ีมยังคงมีความกว้างและความลกึ
ในการรุกและรบั ไว้ไดต้ ลอดเวลาการแข่งขนั การเลน่ วิธีนไ้ี ดก้ ่อใหเ้ กดิ มิติใหมท่ างการกีฬาฟตุ บอลข้นึ อยา่ งเหน็ ได้ชดั
และเป็นท่ีนา่ สนใจมากกวา่ การเลน่ ของทีมเยอรมนั ตะวนั ตก

27

ระบบซ่ึงผเู้ ลน่ สามารถเลน่ ไดอ้ ยา่ งอิสระและเล่นแทนกนั ไดท้ ุกตำแหนง่ นเี้ ราเรียกว่าระบบฟุตบอล
สมบรู ณ์แบบ (Total football system) โดยทัว่ ไปแล้ว ระบบการเลน่ แบบนจี้ ะไมน่ ่าช่นื ชมเลย ถา้ ทมี ปราศจากผูเ้ ล่น
ท่มี คี ุณลักษณะพเิ ศษ เพราะว่ามนั เป็นระบบท่เี หมาะสำหรับใชก้ ับผู้เลน่ ท่ีมีความสามารถเฉพาะตวั สงู และทมี จะต้องมี
ผู้เลน่ ทเี่ ป็นทั้งผู้จัดการทีมและสามารถควบคุมเกมได้ดีอยใู่ นสนามในขณะแข่งขันด้วยผเู้ ล่นดังกลา่ วนจี้ ะตอ้ งทำหน้าที่
แนะนำและส่ังการใหผ้ ้เู ลน่ คนอ่ืน ๆ เล่นเข้ากันไดด้ ซี ึ่งในทมี ฮอลแลนด์ คอื โยฮนั ครฟั ฟ์และในทีมเยอรมันตะวนั ตก คอื
เบกเคนบาวอ์ โดยผเู้ ลน่ ทัง้ สองคนนี้ เปน็ ผูท้ ม่ี ีความคล่องแคล้วและสามารถเคล่อื นทไี่ ปควบคมุ เกมการเล่นไดท้ กุ แห่ง
ของสนาม คลา้ ยดังกบั มีผจู้ ดั การทมี คอื วินัส มิเชลล์ (ผู้จดั การทมี ฮอลแลนด)์ และเฮลมทุ โชนลงไปอย่ใู นสนามดว้ ย

28

ระบบ 1-2-5-2 หรอื ระบบกำแพง 2 ช้นั ในแดนกลาง

ในการแขง่ ขันฟตุ บอลโลก ณ ประเทศสเปน ค.ศ.1982 ทมี อติ าลไี ดป้ ระสบกับความสำเรจ็ โดย
ชนะทีมเยอรมนั ตะวันตกในนัดชงิ ชนะเลิศ 3 ประตตู ่อ 1 และนบั เปน็ และนับเปน็ ชยั ชนะในครัง้ ที่ 3 หลงั จากทท่ี มี บราซิล
ไดเ้ คยชนะเลศิ มาแล้ว 3 ครงั้ เปน็ ทีมแรก ในการแข่งขนั ครั้งน้ีทีมอติ าลีได้กำหนดใหก้ องหน้าลงมาช่วยทำหนา้ ทีป่ อ้ งกนั ใน
รปู กำแพง 2 ช้ัน ในแดนกลาง ทำใหค้ ู่ต่อสไู้ มม่ ชี อ่ งวา่ งพอทจี่ ะใช้ในการรกุ จงึ มกี ารระดมผเู้ ล่นจากกองหลงั ข้นึ มา
ชว่ ยสนับสนนุ เพื่อจะรกุ ผ่านเข้าไปให้ได้การถลำขึ้นมามาก ๆ เชน่ นท้ี ำใหเ้ กิดช่องว่างขนาดใหญ่ขึ้นในแดนรับของฝ่ายรุก
ซึ่งเปาไร รอสซ่ี ศนู ยห์ น้าของทีมอติ าลสี ามารถใชใ้ นการรกุ เขา้ โจมตอี ยา่ งรวดเร็วในชอ่ งว่างน้ันภายหลงั ทีผ่ ู้รว่ มทมี
หรอื ตนเองได้แยง่ หรอื ตดั ลูกบอลมาได้จากฝ่ายตรงข้ามแลว้

ระบบ 1-2-5-2 ของทมี อติ าลี ค.ศ.1982

29

การเลน่ ในระบบนี้ มีสิ่งทเี่ ป็นหัวใจของการเลน่ อยู่ 2 ประการคือ การใช้จังหวะและช่องวา่ ง
ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อการเลน่ คำว่า “จงั หวะ” น้ัน หมายถงึ การลดโอกาสในการเลน่ ลกู บอลของฝา่ ยตรงข้าม
ด้วยการประกบ อยา่ งใกล้ชดิ และฉวยโอกาสรกุ กลบั เข้าโจมตีอยา่ งรวดเร็วส่วน “ช่องว่าง” นน้ั หมายถึง การลด
ช่องว่างในการเข้าโจมตีของฝ่ายตรงข้ามและการสรา้ งช่องวา่ งให้เกดิ ข้ึนในแดนรับของฝ่ายตรงขา้ ม เพื่อใช้ในการ
ฉวยโอกาสรกุ กลบั เขา้ โจมตีอยา่ งรวดเร็ว

การเล่นระบบนต้ี ้องการผเู้ ล่นที่มเี ทคนคิ และทกั ษะการเล่นทส่ี ูง รวมท้งั มีความเร็วทัง้ ในขณะทมี่ ี
ลกู บอลและไมม่ ลี ูกบอลอยู่กบั ตวั เพอื่ การทะลุทะลวงเขา้ โจมตีได้อยา่ งรวดเรว็ นอกจากนผี้ เู้ ลน่ แตล่ ะคนจะไดร้ บั อิสระใน

30

สรปุ วิวฒั นาการ และระบบการเล่นฟตุ บอล

31
สรุปววิ ัฒนาการ และระบบการเล่นฟุตบอล

ระบบการเลน่ ทัง้ หมดจะประสบความสำเรจ็ ไดเ้ มื่อระบบนน้ั มีความเหมาะสมกับความสามารถของผเู้ ล่นทเ่ี รามอี ยู่
การเลยี นแบบเอาระบบต่าง ๆ มาใชน้ ัน้ เราจะพบว่าบ่อยคร้งั ทที่ ีมนน้ั ๆ ขาดแคลนผู้เลน่ ทเ่ี หมาะสมในการจะทำให้ระบบ
ทเ่ี ขานำมาใชน้ ั้นมีความสมบรู ณแ์ ละประสบกบั ความสำเรจ็ ในการแขง่ ขัน ดงั น้นั ระบบทีด่ ีทส่ี ดุ น้นั
จะต้องอาศยั ผเู้ ล่นที่มคี วามสามารถพเิ ศษและไม่มรี ะบบใด ประสบความสำเรจ็ โดยการใช้ผเู้ ล่นธรรมดา ๆ และแม้ว่า
แทกตกิ การเลน่ จะมคี วามสำคัญมาก แต่ความโชคดีในการแข่งขันนั้น จะมีไม่ไดถ้ า้ ผเู้ ลน่ ปราศจากเทคนิคและทักษะที่ดใี น
การเล่น

Youtube ววิ ัฒนาการของฟุตบอล Youtube การจัดระบบทมี ฟุตบอล Youtube หนา้ ท่ีตำแหนง่ ต่างๆ

แบบทดสอบ

32

บรรณานุกรม

วิวฒั นาการ และระบบการเล่นฟุตบอล สบื ค้นเมอื่ 10 กุมภาพนั ธ์ 2565, จาก
https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/football_history/04.html

ววิ ัฒนาการของฟตุ บอล สืบคน้ เมือ่ 10 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก
https://sites.google.com/site/ohmmahoo/wiwathnakar-khxng-futbxl

คมู่ ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล สืบค้นเม่ือ 10 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก
https://www.satc.or.th/upload/document/file/documentfile_922019180101.pdf


Click to View FlipBook Version