The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาไทย 4 ใบความรู้ที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mini Offcy, 2020-11-26 23:31:50

วัจนภาษา อวัจนภาษา

ภาษาไทย 4 ใบความรู้ที่ 1

วัจนภาษา
อวัจนภาษา

วจั นภาษา

วจั นภาษา หมายถงึ ภาษาถอ้ ยคา

ได้แก่ คาพดู ตัวอักษรทกี่ าหนดใชร้ ว่ มกนั ในสงั คม ซ่ึงหมายรวมทง้ั เสียง และลาย
ลกั ษณ์อกั ษร ภาษาถอ้ ยคาเปน็ ภาษาทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ อยา่ งมรี ะบบ มีหลกั เกณฑท์ าง
ภาษา หรอื ไวยากรณซ์ ง่ึ คนในสงั คมตอ้ งเรยี นรแู้ ละใชภ้ าษาในการฟงั พูด อ่าน เขยี นและคดิ

การใช้วจั นภาษาในการสอื่ สารตอ้ งคานงึ ถงึ ความชัดเจนถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา และความ
เหมาะสมกบั ลกั ษณะ การส่อื สาร ลกั ษณะงาน เป้าหมาย สื่อและผรู้ บั สาร

วัจนภาษา แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คอื

1. ภาษาพดู

ภาษาพดู เปน็ ภาษาทม่ี นษุ ย์เปลง่ เสียงออกมาเป็นถอ้ ยคาเพอื่ สอ่ื สารกบั
ผอู้ ื่น นักภาษาศาสตร์ถอื วา่ ภาษาพดู เป็นภาษาท่ีแท้จริงของมนษุ ย์ สว่ นภาษาเขยี นเป็น
เพียงววิ ฒั นาการขน้ั หนง่ึ ของภาษาเท่านน้ั มนุษย์ได้ใชภ้ าษาพดู ตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ผู้อ่ืน
อยู่เสมอ ทง้ั ในเรอ่ื งสว่ นตวั สงั คม และหนา้ ทกี่ ารงาน ภาษาพดู จงึ สามารถสร้าง
ความรัก ความเขา้ ใจ และชว่ ยแก้ไขปญั หาต่าง ๆ ในสังคมมนษุ ย์ไดม้ ากมาย

วัจนภาษา แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื

2. ภาษาเขยี น

ภาษาเขยี น เปน็ ภาษาที่มนษุ ยใ์ ชอ้ กั ษรเปน็ เคร่อื งหมายแทนเสียงพูดในการ
สือ่ สาร ภาษาเขยี นเป็นสญั ลกั ษณข์ องการพูด เป็นสงิ่ ทม่ี นษุ ยป์ ระดิษฐข์ นึ้ มาเพือ่ ใช้
บันทึกภาษาพดู เปน็ ตวั แทนของภาษาพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ภาษาเขยี นเป็นเครอ่ื งมือ
สาคัญในการสอ่ื สารของมนษุ ย์ มาเปน็ เวลาชา้ นาน มนษุ ยใ์ ชภ้ าษาเขยี นสอื่ สารทง้ั ใน
สว่ นตัว สงั คม และหนา้ ทก่ี ารงาน ภาษาเขยี นสรา้ งความรกั ความเขา้ ใจ และชว่ ย
แก้ปัญหาตา่ ง ๆ ในสังคมมนษุ ย์ได้มากมายหากมนษุ ยร์ ู้จกั เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับ
บุคคล โอกาส และสถานการณ์

การใชว้ จั นภาษาในการสือ่ สาร

1. ความชัดเจนและถูกตอ้ ง ตอ้ งเปน็ ภาษาทเี่ ขา้ ใจตรงกนั ทั้งผู้รับสาร และผสู้ ่งสาร และ
ถกู ต้องตามกฎเกณฑแ์ ละเหมาะสมกับวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาไทย ดงั นี้

ลักษณะของคา หนา้ ทขี่ องคา ตาแหนง่ ของคา และความหมายของคา ซึ่งความหมาย
ของคามที ง้ั ความหมายตรง และความหมายแฝง

การเขยี นและการออกเสยี งคา ในการเขยี นผสู้ ่งสารตอ้ งระมดั ระวงั เรื่องสะกด
การนั ต์ ในการพดู ต้องระมดั ระวงั เรอ่ื งการออกเสยี ง ต้องเขยี นและออกเสยี งถูกตอ้ ง

การเรยี บเรยี งประโยค ผูส้ ง่ สารจาเป็นตอ้ งศกึ ษาโครงสรา้ งของประโยคเพอ่ื วางตาแหน่ง
ของคาในประโยคใหถ้ ูกตอ้ ง ถกู ท่ี ไม่สับสน

การใช้วจั นภาษาในการสื่อสาร

2. ความเหมาะสมกบั บรบิ ทของภาษา เพอ่ื ใหก้ ารสอื่ สารบรรลเุ ปา้ หมาย ผสู้ ง่ สารตอ้ งคานงึ ถงึ
ใช้ภาษาใหเ้ หมาะกบั ลกั ษณะการสอื่ สาร เหมาะกบั เวลาและสถานท่ี โอกาส และ

บุคคล ผู้สง่ สารตอ้ งพจิ ารณาวา่ สอ่ื สารกบั บคุ คล กลมุ่ บคุ คล มวลชน เพราะขนาดของกลมุ่
มีผลตอ่ การเลอื กใช้ภาษา

ใชภ้ าษาใหเ้ หมาะกบั ลกั ษณะงาน เชน่ งานประชาสมั พนั ธ์ งานโฆษณา งานประชมุ ฯลฯ
ใช้ภาษาให้เหมาะสมกบั สือ่ ผสู้ ่งสารจะตอ้ งรู้จกั ความตา่ งของสอื่ และความตา่ ง ของภาษาที่
ใชก้ บั แตล่ ะสอ่ื ใช้ภาษาใหเ้ หมาะสมกบั ผ้รู ับสารเปา้ หมาย ผรู้ ับสารเปา้ หมายได้แก่ กลมุ่ ผ้รู บั
สารเฉพาะทผ่ี สู้ ง่ สารคาดหวงั ไว้ ผู้สง่ สารตอ้ งวเิ คราะห์ผรู้ บั สาร ทีเ่ ปน็ เปา้ หมายของการ
สอื่ สาร และเลอื กใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกบั ผรู้ ับสารนน้ั ๆ

อวจั นภาษา

อวัจนภาษา หมายถงึ เปน็ การสอ่ื สารโดยไม่ใชถ้ อ้ ยคา ทง้ั ที่เปน็ ภาษาพูด

และภาษาเขยี น เป็นภาษาท่ีมนษุ ยใ์ ชส้ อื่ สารกัน โดยใช้
อากปั กิริยา ทา่ ทาง น้าเสียง สายตาหรือ ใช้วตั ถุ การใชส้ ัญญาณ และ
สิง่ แวดลอ้ มต่าง ๆ หรือแสดงออกทางด้านอืน่ ที่สามารถรับรู้กนั ได้ สามารถ
แปลความหมายไดแ้ ละทาความเขา้ ใจตอ่ กนั ได้

ประเภทของอวจั นภาษา

1. สายตา (เนตรภาษา)

oการแสดงออกทางสายตา เช่น การสบตากนั ระหวา่ งผู้สง่ สารและผรู้ บั สารกม็ ี
สว่ นชว่ ยในการตีความหมาย เชน่ การสบตาแสดงออกถงึ ความจริงใจ การหรตี่ า
แสดงออกถงึ ความสงสัย ความไมแ่ นใ่ จ ฯลฯ
oการแสดงออกทางสายตาจะต้องสอดคลอ้ งกบั การแสดงออกทางสีหนา้ การ
แสดงออกทางสหี นา้ และสายตาจะชว่ ยเสริมวจั นภาษาใหม้ ีน้าหนกั ยง่ิ ขน้ึ และใช้
แทนวจั นภาษาได้อยา่ งดี

ประเภทของอวัจนภาษา

2. กริ ิยาทา่ ทาง (อาการภาษา)

oการแสดงกิริยาท่าทางของบุคคล สามารถสอ่ื ความหมายได้โดยไม่ต้องใช้
คาพดู หรอื ใชเ้ สรมิ คาพดู ใหม้ นี า้ หนกั มากขนึ้ ได้ ไดแ้ ก่ กริ ยิ าทา่ ทาง การ
เคลื่อนไหวร่างกายและอากปั กิรยิ าทา่ ทางต่างๆ สามารถสอ่ื ความหมายได้
มากมาย เช่น การเคล่ือนไหวมอื การโบกมือ การส่ายหนา้ การพยัก
หนา้ การยกไหล่ การยม้ิ ประกอบการพดู การยกั ไหล่ การยกั ค้วิ อาการ
นงิ่ ฯลฯ

ประเภทของอวจั นภาษา

3. น้าเสยี ง (ปรภิ าษา)

o เปน็ อวจั นภาษาทแี่ ฝงอย่ใู นภาษาพดู ไดแ้ ก่ สาเนียงของผ้พู ดู ระดับเสยี งสงู ตา่ การ
เปลง่ เสยี ง จังหวะการพดู ความดงั ความคอ่ ยของเสยี งพดู ตะโกน กระซิบ น้าเสียง
ช่วยบอกอารมณแ์ ละความรสู้ กึ นอกจากนย้ี งั ชว่ ยแปลความหมายของคาพดู เชน่ การใช้
เสียงเนน้ หนกั เบา การเวน้ จังหวะ การทอดเสยี ง สิ่งเหลา่ นท้ี าใหค้ าพดู เดน่ ชัดขนึ้ การ
พดู เรว็ ๆ รัว ๆ การพดู ทห่ี ยดุ เปน็ ช่วง ๆ แสดงใหเ้ หน็ ถึงอารมณก์ ลวั หรือตื่นเต้นของ
ผ้พู ูด เป็นตน้

ประเภทของอวจั นภาษา

4. สิง่ ของหรอื วัตถุ (วัตถภุ าษา)

o สง่ิ ของหรอื วตั ถุตา่ ง ๆ ทบี่ ุคคลเลอื กใช้ เช่น
ของใชเ้ ครื่องประดบั เส้ือผ้า กระเป๋า รองเท้า นาฬิกา ปากกา แวน่ ตา
เปน็ ต้น สงิ่ เหลา่ นเี้ ปน็ อวจั นภาษาทส่ี อื่ ความหมายไดท้ ง้ั สนิ้

ประเภทของอวัจนภาษา

5. เน้อื ทหี่ รือช่องวา่ ง (เทศภาษา)

ชอ่ งวา่ งของสถานทห่ี รือระยะใกลไ้ กลท่ีบคุ คลสอื่ สารกนั เป็นอวจั นภาษาทีส่ ่อื สาร
ให้เขา้ ใจได้ เช่น ระยะห่างของหญิงชาย พระกบั สตรี คนกับสงิ่ ศกั ดิ์สิทธ์ิ

คนสองคนนงั่ ชดิ กันบนมา้ นง่ั ตวั เดยี วกัน ยอ่ มส่อื สารใหเ้ ขา้ ใจไดว้ า่ ทั้งสองคนมี
ความสนทิ สนมเปน็ พิเศษ เป็นต้น

ประเภทของอวจั นภาษา

6. กาลเวลา (กาลภาษา)

o หมายถงึ การสอื่ ความหมายโดยใหเ้ วลามีบทบาทสาคัญ เวลาแตล่ ะชว่ งมี
ความหมายในตวั คนแต่ละคน และคนต่างวฒั นธรรมจะมคี วามคดิ และ
ความหมายเกี่ยวกับเวลาแตกตา่ งกนั เชน่
การตรงตอ่ เวลาวฒั นธรรมตะวนั ตกถอื วา่ มีความสาคญั มาก การไม่ตรงตอ่ เวลา
นัดหมายเปน็ การแสดงความดถู กู เป็นตน้

ประเภทของอวัจนภาษา

7. การสมั ผสั (สมั ผสั ภาษา)

o หมายถงึ อวัจนภาษาท่ีแสดงออกโดยการสมั ผสั เพ่ือสอ่ื
ความรู้สกึ อารมณ์ ความปรารถนาในใจของผสู้ ง่ สารไปยงั ผรู้ ับสาร เชน่
การจับมอื การ แลบล้ิน การลบู ศีรษะ การโอบกอด การตบไหล่ ซงึ่ สมั พันธ์
กบั วัฒนธรรมของแตล่ ะสงั คม เชน่ คนไทยถอื มิให้เด็กสมั ผสั สว่ นหวั ของ
ผู้ใหญ่ เปน็ ตน้

แบบฝกึ หดั

ให้นกั เรยี นฟงั เพลงประกอบละคร รักนริ ันดร์ จากสอ่ื อินเทอรเ์ นต็
https://www.youtube.com/watch?v=tTRaGpybx9o
แลว้ วเิ คราะหอ์ วจั นภาษาทพ่ี บในบทเพลง
นาเสนอเป็นแผนผังความคดิ


Click to View FlipBook Version