พจนานุกรม
คำนำ
คำศัพท์ดาราศาสตร์เล่มนี้ เป็ นส่วน
หนึ่ งของรายวิชา SC354 โดยเนื้ อหาประกอบ
ด้วยคำศัพท์ภาษาอังกฤษ คำศัพท์ภาษาไทย
ความหมายและรูปภาพประกอบ เพื่อใช้
ประกอบการศึกษาความรู้เกี่ยวกับดาราศาสตร์
ได้อย่างเข้าใจและเป็ นประโยชน์ ต่อการเรียน
ผู้จัดทำจึงหวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็ น
ประโยชน์ ต่อผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษา หากมี
ข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้
ผู้จัดทำ
สารบัญ
หมวด ก หน้า 1-14
1
- กลุ่มดาวแกะ 2
- กลุ่มดาวคนคู่ 3
- กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ 4
- กลุ่มดาวคนยิงธนู 5
- กลุ่มดาวคันชั่ง
- กลุ่มดาวจักรราศี 6
- กลุ่มดาวปลาคู่ 7
- กลุ่มดาวปู 8
- กลุ่มดาวมกร 9
- กลุ่มดาวแมงป่ อง 10
- กลุ่มดาวสิงโต 11
- กลุ่มดาวหญิ งสาว
- การลุกจ้า 12
- กาแล็กซี่ทางช้างเผือก 13
14
หมวด ข
หน้า 15-17
- ขอบฟ้ า
- ขั้วฟ้ าเหนื อ 15
- ขั้วฟ้ าใต้ 16
17
สารบัญ (ต่อ)
หมวด ค หน้า 18-20
- ครีษมายัน 18
- คอโรนา 19
- โครโมสเฟี ยร์ 20
หมวด จ หน้า 21-23
- จันทรุปราคา 21
- จุดมืดดวงอาทิตย์ 22
- จุดเหนื อศีรษะ 23
หมวด ช หน้า 24
- โชติมาตร 24
หมวด ซ หน้า 25
- ซูเปอร์โนวาแก่นยุบ 25
หมวด ด หน้า 26-34
- ดาราจักร 26
- ดาวเคราะห์ 27
- ดาวเคราะห์วงนอก 28
- ดาวเคราะห์วงใน 29
- ดาวเคราะห์หิน 30
สารบัญ (ต่อ)
- ดาวแคระ 31
- ดาวแคระขาว 32
- ดาวนิ วตรอน 33
- เดคลิเนชัน 34
หน้า 35
หมวด ถ 35
หน้า 36
- แถบดาวเคราะห์น้อยหลัก 36
หน้า 37
หมวด ท 37
หน้า 38
- ทรงกลมฟ้ า 38
หน้า 39
หมวด น 39
หน้า 40
- เนบิวลา 40
หมวด บ หน้า 41
41
- บิกแบง
หมวด ป
- ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
หมวด ฟ
- โฟโตสเฟี ยร์
หมวด ร
- ระบบสุริยะ
สารบัญ (ต่อ)
หมวด ศ หน้า 42
- ศารทวิษุวัต 42
หมวด ส หน้า 43-46
43
- สะเก็ดดาว 44
- สุริยวิถี 45
- สุริยุปราคา 46
- เส้ นศูนย์สูตรฟ้ า
หน้า 47-48
หมวด ห
47
-หน่วยดาราศาสตร์ 48
- หลุมดำ หน้า 49-50
49
หมวด อ 50
- อัตราสะท้อนแสง
- อุกกาบาต
หมวด ก
กลุ่มดาวแกะ
(Aries)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
เป็ นกลุ่มดาวแรกของกลุ่ม
ดาวจักรราศี จุดสังเกตของกลุ่มดาวนี้
คือดาวที่สว่างจ้าอยู่ 3 ดวง และรูป
ร่างคล้ายสามเหลี่ยมมุมป้ านและดวง
อาทิตย์จะผ่านกลุ่มดาวในช่วงวันที่ 21
มีนาคม ถึง 19 เมษายน
1
หมวด ก
กลุ่มดาวคนคู่
(gemini)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
เป็ นกลุ่มดาวจักราศีที่มาดาวสว่างจ้า
2 ดวงใกล้กัน และจะอยู่ใกล้กลุ่มดาว
วัว ซึ่ งดาวสว่างจ้าทั้งสองดวง มีชื่อว่า
พอลลักซ์ และแคสเตอร์ และดวง
อาทิตย์จะเคลื่อนผ่านกลุ่มดาวในช่วงวัน
ที่ 21 พฤษภาคม ถึง 21 มิถุนายน
2
หมวด ก
กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ
(Aquarius)
ที่มา https://www.sanook.com/horoscope/73225/
เป็ นกลุ่มดาวจักราศีที่อยู่ทางซีกฟ้ า
ด้านใต้อยู่ในกลุ่มดาวมกรไปทางตะวัน
ออกประกอบด้วยดาวฤกษ์ แสงน้ อย
อย่างน้อย 13 ดวง มองเห็นไม่ชัดเจน
และดวงอาทิตย์จะผ่านกลุ่มดาวในช่วง
20 มกราคม ถึง 18 กุมภาพันธ์
3
หมวด ก
กลุ่มดาวคนยิงธนู
(Sagittarius)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
กลุ่มดาวคนยิงธนู เป็ นกลุ่ม
ดาวประจำราศีธนู ซึ่ งกลุ่มดาวกลุ่มนี้
อยู่ในแนวทางช้างเผือก กลุ่มดาวคน
ยิงธนูได้ชื่อว่าเป็ นกลุ่มดาวผู้ฆ่ากลุ่ม
ดาววัว เพราะเมื่อกลุ่มดาวคนยิงธนู
ขึ้ น กลุ่มดาววัวก็จะตก และเมื่อกลุ่ม
ดาววัวขึ้ นมา กลุ่มดาวคนยิงธนูก็
ตกลงไปสลับกันทุกที
4
หมวด ก
กลุ่มดาวคันชั่ง
(libra)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
เป็ นกลุ่มดาวจักราศีที่มี
รูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน
อยู่ทางทิศตะวันตกของกลุ่มดาว
แมงป่ อง และดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่าน
ในช่วงวันที่ 23 กันยายน ถึง 23
ตุลาคม
5
หมวด ก
กลุ่มดาวจักรราศี
(zodiacal constellation)
ที่มา :http://jfsaninobservacionplanetaria.blogspot.com/2010/06/
zodiacal-constellations-today.html
กลุ่มดาวฤกษ์จำนวน 12
กลุ่ม ที่อยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์
ออกไป ซึ่ งเมื่อมองจากโลกจะเห็น
กลุ่มดาวเหล่านี้ ปรากฏแตกต่างกัน
ไปตามช่วงระยะเวลาของเดือน ซึ่ ง
มนุษย์ในสมัยโบราณก็จินตนาการ
รูปร่างของกลุ่มดาวเป็ นสิ่งต่างๆ
6
หมวด ก
กลุ่มดาวปลาคู่
(Pisces)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
กลุ่มดาวกลุ่มสุดท้ายในกลุ่ม
ดาวจักรราศี คือกลุ่มดาวปลาคู่ กลุ่ม
ดาวประจำราศีมีน เป็ นกลุ่มดาวที่
ค่อนข้างหาได้ยาก และเป็ นที่อ้างถึง
ในหมู่นักดาราศาสตร์กัน เพราะใน
วันที่ 21 มีนาคม เป็ นวันที่ดวง
อาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาในราศีนี้ แต่
ทางโหราศาสตร์สากล ถือว่าวันที่ 21
มีนาคม เป็ นวันที่ดวงอาทิตย์เริ่มเข้าสู่
ราศีเมษ
7
หมวด ก
กลุ่มดาวปู
(cancer)
ที่มา https://www.sanook.com/horoscope/73225/
เป็ นกลุ่มดาวจักรราศีที่หายาก
ที่สุด โดยต้องหากลุ่มดาวคนคู่และกลุ่ม
ดาวสิงโตให้ได้ก่อน และเมื่อเจอกลุ่ม
ดาวทั้งสอง ให้หากลุ่มดาวฤกษ์ที่เกาะ
กลุ่ม 8 ดวง และดวงอาทิตย์จะผ่านกลุ่ม
ดาวในช่วงวันที่ 22 มิถุนายนถึง 22
กรกฎาคม
8
หมวด ก
กลุ่มดาวมกร/แพะทะเล
(capricornus)
ที่มา https://www.sanook.com/horoscope/73225/
เป็ นกลุ่มดาวจักราศีที่อยู่ตรง
ข้ามกับกลุ่มดาวราศีปู ซึ่ งกลุ่มดาวนี้ ไม่มี
ดาวที่สว่างจ้าจนสังเกตได้ แต่เมื่อรวม
ตัวกันแล้ว จะเห็นเป็ นรูปร่างคล้าย
สามเหลี่ยมที่มีฐานโค้ง และดวงอาทิตย์
จะผ่านกลุ่มดาวในช่วงวันที่ 22
ธันวาคมถึง 19 มกราคม
9
หมวด ก
กลุ่มดาวแมงป่อง
(Scorpio)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
กลุ่มดาวแม่งป่ อง เป็ นกลุ่มดาวที่อยู่
ในราศีพิจิก มีรูปร่างคล้ายชื่อที่ตั้งมากที่สุด
เพราะการเรียงตัวของดาวมีรูปร่างคล้าย
แมงป่ อง มีทั้งส่วนหัว หาง แม้แต่จงอยก็มี
เหมือนกัน ซึ่ งกลุ่มดาวนี้ ถูกยกให้เป็ นลุ่มดาว
ที่สวยงามที่สุดในบรรดากลุ่มดาว 12 ราศี
มีดาวฤกษ์ที่ชื่อ Antares เป็ นหัวใจของกลุ่ม
ดาวนี้ กลุ่มดาวแมงป่ องจะขยับมาให้เห็นอยู่
เหนื อศีรษะเวลา 3 ทุ่ม ในวันที่ 20
กรกฎาคมของทุกปี
10
หมวด ก
กลุ่มดาวสิงโต
(leo)
ที่มา https://www.sanook.com/horoscope/73225/
เป็ นกลุ่มดาวจักราศีที่ระหว่าง
กลุ่มดาวปูและกลุ่มดาวหญิ งสาวพรหมจารี
และดวงอาทิตย์จะเคลื่อนผ่านในช่วงวันที่
23 กรกฎาคม ถึง 22 สิงหาคม
11
หมวด ก
กลุ่มดาวหญิงสาว
(Virgo)
ที่มา :https://aniwach.wordpress.com
กลุ่มดาวกลุ่มที่ 6 กลุ่มดาวหญิ ง
เป็ นกลุ่มดาวราศีกันย์ อยู่ระหว่างกลุ่มดาว
สิงโตและกลุ่มคั่นชั่ง โดยกลุ่มดาวนี้ จะมี
ดาวฤกษ์ชื่อว่า สไปกา (Spica) แปลว่า
รวงข้าว ซึ่ งดาวกลุ่มนี้ มีดาวสำคัญของวิชา
ดาราศาสตร์ คือ จุดตัดของเส้ นศูนย์สูตร
ของท้องฟ้ า และเส้ นอีคลิพดิคจุดที่ 2 ด้วย
จะเห็นกลุ่มดาวนี้ ชัดในวันที่ 23 กันยายน
ของทุกปี ซึ่ งเป็ นวันที่กลางวันและกลางคืน
เท่ากัน
12
หมวด ก
การลุกจ้า (flare )
ที่มา: https://www.jpl.nasa.gov/images/pia03149-handle-shaped-prominence
การลุกจ้า(Flare) คือการเกิดแสงสว่าง
วาบขึ้ นภายในบรรยากาศชั้ นโคโรนา(corona)
และโครโมสเฟี ยร์(chromospheres) การลุก
จ้าของดวงอาทิตย์ (solar flare) เกิดขึ้ นเมื่อ
พลังงานภายในสนามแม่เหล็กที่ถูกสร้างขึ้ น
ภายในชั้ นบรรยากาศโครโมสเฟี ยร์ถูกปลด
ปล่อยอย่างรวดเร็ว พลังงานถูกปลดปล่อย
ออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเกือบทุกย่าน
ความถี่
13
หมวด ก
กาแลกซี่ทางช้างเผือก
(milky way galaxy)
ที่มา :https://scitechdaily.com/our-milky-way-galaxys-most-recent-major-collision/
เป็ นกาแล็กซีแบบกังหันมีคาน มี
มวลรวมประมาณ 9 หมื่นล้านเท่าของ
มวลดวงอาทิตย์ มีดาวฤกษ์ประมาณ
แสนล้านดวงประกอบด้วยดวงอาทิตย์
ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวบริวาร
ของดาวเคราะห์ ดาวหาง อุกกาบาต
ฝุ่ นผงและแก๊ ส
14
หมวด ข
ขอบฟ้า
(horizon)
ที่มาภาพ: http://buangern.blogspot.com/2012/08/blog-post_24.html
ระดับต่ำสุดของท้องฟ้ า
เป็ นระดับที่ฟ้ าสัมผัสพื้นดินซึ่ งมี
มุมเงยเท่ากับ 0 องศา
15
หมวด ข
ขั้วฟ้าเหนือ
(north celestial pole :NCP)
ที่มาภาพ: https://www.scimath.org/article-science/item/1329-how-important-equatorial-sky
ขั้วของทรงกลมฟ้ าที่อยู่ห่าง
ไปทางเหนื อของเส้ นศูนย์สูตรฟ้ า 90
องศา โดยแกนที่โลกหมุนรอบที่ผ่าน
ขั้วโลกเหนื อจะชี้ไปยังจุดขั้วฟ้ าเหนื อ
16
หมวด ข
ขั้วฟ้าใต้
(south celestial pole :SCP)
ที่มาภาพ: https://www.scimath.org/article-science/item/1329-how-important-equatorial-sky
ขั้วของทรงกลมฟ้ าที่อยู่ห่าง
ไปทางใต้ของเส้ นศูนย์สูตรฟ้ า 90
องศา โดยแกนที่โลกหมุนรอบที่ผ่าน
ขั้วโลกใต้จะชี้ไปยังจุดขั้วฟ้ าใต้
17
หมวด ค
ครีษมายัน, อุตรายัน
(summer solstice)
ที่มาภาพ: https://www.narit.or.th/index.php/news/526-3939-narit-summer-solstice-21-june-2562
จุดที่ดวงอาทิตย์ปรากฏอยู่เหนื อสุด
18
หมวด ค
คอโรนา
(corona)
ที่มาภาพ: https://th.wikipedia.org/wiki/ดวงอาทิตย์
บรรยากาศชั้ นนอกสุดของดวง
อาทิตย์อยู่ถัดจากชั้ นโครโมสเฟี ยร์ออกไปมี
ลักษณะเป็ นเส้ นสายแผ่กระจายออกจากดวง
อาทิตย์เป็ นระยะทางประมาณ 10 ล้าน
กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 5 แสนถึง 2
ล้านเคลวิน ประกอบด้วยอิเล็กตรอนอุณหภูมิ
สูง อนุภาคฝุ่ นผงและไอออนที่ร้อนจัด
19
หมวด ค
โครโมสเฟียร์
(chromospher)
ที่มาภาพ: https://th.wikipedia.org/wiki/ดวงอาทิตย์
ชั้ นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ อยู่
เหนื อชั้ นโฟโตสเฟี ยร์ หนาประมาณ 10,000
กิโลเมตร อุณหภูมิประมาณ 4,000 K ถึง
50,000 K ประกอบด้วยลำแก๊ สร้อนใน
ลักษณะไอ พ่นขึ้ นสู่ระดับสูงและเคลื่อนที่เป็ น
ทางโค้ง แก๊ สร้อนในระดับนี้ ประกอบด้วย
ไฮโดรเจนเป็ นส่วนใหญ่
20
หมวด จ
จันทรุปราคา
(Lunar eclipse)
ที่มา :https://voicetv.co.th/read/S1qY0ZjSf
เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้ นเมื่อดวง
จันทร์เต็มดวง จะเกิดขึ้ นในเวลากลางคืน เมื่อ
มองไปบนท้องฟ้ า จะเห็นดวงจันทร์สีแดงอม
น้ำตาลที่มีลักษณะกลมโตและใหญ่กว่าปกติ
หรือที่เราเรียกกันว่า “ดวงจันทร์สีเลือด”
เกิดจากดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ โคจร
มาเรียงตัวอยู่ในแนวระนาบเดียวกัน แล้วดวง
จันทร์โคจรเข้าไปในเงาโลก
21
หมวด จ
จุดมืดดวงอาทิตย์
(sunspot )
ที่มา: https://www.canstockphoto.com/sun-with-sunspots-seen-with-telescope-33985367.html
จุดสีคล้ำที่ปรากฏบนดวง-
อาทิตย์เมื่อผ่านการกรองแสง เป็ น
บริเวณที่มีสนามแม่เหล็กเข้มข้นกว่า
บริเวณอื่น
22
หมวด จ
จุดเหนือศีรษะ
(zenith)
ที่มาภาพ: http://www.lesa.biz/astronomy/celestial-sphere/horizon-coordinates
จุดสูงสุดของท้องฟ้ า อยู่สูงจาก
ขอบฟ้ า 90 องศา
23
หมวด ช
โชติมาตร
(magnitude)
ที่มา :https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7292-star
ค่าเปรียบเทียบอันดับ
ความสว่างของดาว ค่าโชติมาตร
ต่างกัน 1 จะมีความสว่างต่างกัน
2.512 เท่า ดาวที่มีค่าโชติมาตร
น้ อยจะมีความสว่างมากกว่าดาว
ที่มีค่าโชติมาตรมาก กล่าวคือค่า
โชติมาตรยิ่งมีค่าน้ อยดาวจะยิ่ง
สว่างมาก
24
หมวด ซ
ซูเปอร์โนวาแก่นยุบ
(core-collapse supernova)
ที่มา: https://www.google.com/url?sa=i&url=https%3A%2F%2Fspaceth.co%2Fkepler-supernova-remnant-knots%
ซูเปอร์โนวาที่เกิดจากกระบวนการยุบ
ตัวของแก่นดาวอย่างรวดเร็ว โดยสสาร
ในแก่นของดาวผ่านปฏิกิริยาเทอร์โม-
นิ วเคลียร์จนกลายเป็ นเหล็ก ทำให้ไม่
สามารถสร้างพลังงานออกมาได้อีก
25
หมวด ด
ดาราจักร
(galaxy )
ที่มา: https://www.shutterstock.com/th/search/กลุ่มดาวกาแล็กซี
อาณาจักรของดาวฤกษ์ ที่เกาะ
กลุ่มอยู่ด้วยกัน แต่ละดาราจักรอาจมี
ดาวฤกษ์ตั้งแต่หลายพันดวงขึ้ นไป
จนถึงหลายแสนล้านดวง
26
หมวด ด
ดาวเคราะห์
(Planet)
ที่มา :https://wasp-planets.net/2018/12/30/solar-system-planet-tilts/
ดาวบริวารของดวงอาทิตย์
ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง และหมุนรอบตัว
เองไปพร้อม ๆ กับการโคจรรอบดวง
อาทิตย์ ประกอบด้วย ดาวเคราะห์ชั้ นใน
4 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
และดาวอังคาร และดาวเคราะห์ชั้ นนอก
4 ดวง ได้แก่ ดาวพฤหัส ดาวเสาร์
ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
27
หมวด ด
ดาวเคราะห์วงนอก
(Exterior planets)
ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน
ที่มา: https://pixabay.com/photos/solar-system-sun-mercury-venus-439046/
ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรใหญ่
กว่าวงใคจรของลก ได้แก่ ดาวอังคาร
ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส
ดาวเนปจูน เรียกว่า ดาวเคราะห์
วงนอก (Exterior planets)
28
หมวด ด
ดาวเคราะห์วงใน
(inferior planet )
ดาวพุธ ดาวศุกร์
ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรเล็กกว่า
วงโคจรของโลก 2 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ
กับดาวศุกร์ เรียกว่า ดาวเคราะห์วงใน
(Inferior planets)
29
หมวด ด
ดาวเคราะห์หิน
(terrestrial planet)
ที่มาภาพ: https://www.meteorologiaenred.com/wp-content/uploads/2021/03/planetas-
rocosos-del-sistema-solar.jpg.webp
ดาวเคราะห์ที่เกิดจากการพอกพูน
มวล โดยการหลอมรวมกันของวัตถุที่
เหลือจากการก่อตัวของดวงอาทิตย์ มี
ธาตุที่เป็ นองค์ประกอบ เช่น ซิ ลิกอน
อะลูมิเนียม แมกนีเซียม เหล็ก และ
นิ กเกิล
30
หมวด ด
ดาวแคระ
(dwarf star )
ที่มา: https://astroquizzical.com/astroquizzical/what-different-types-of-dwarf-star-are-there-and
ดาวแคระ เป็ นลักษณะทั่วไปของ
ดาวฤกษ์ในกาแลกซี่มีประมาณ 90
เปอร์เซนต์ มีมวลโดยเฉลี่ย 60 เปอร์เซนต์
รู้จักกันในชื่อของ main-sequence ในแผนผัง
HR-diagram คำว่าแคราะมาจากความสัมพันธ์
ของความสว่างน้อยกว่าขนาด ดวงอาทิตย์ของ
เราก็เป็ นหนึ่ งในจำพวกดาวแคระด้วย
31
หมวด ด
ดาวแคระขาว
(white dwarf)
ที่มาภาพ: http://redd-net.org/รวมดาวฤกษ์ที่มีความสว่/
ดาวฤกษ์ ที่อยู่ในช่วงเกือบสุดท้าย
ของดาวฤกษ์มวลขนาดดวงอาทิตย์ ดาวแคระ
ขาวมีเส้ นผ่านศูนย์กลางประมาณร้อยละ 1
ของดวงอาทิตย์ (ประมาณเท่ากับโลก) มี
ความหนา-แน่นสูงเกือบ 106 กรัมต่อ
ลูกบาศก์เซนติเมตร ดาวแคระขาวเย็นตัวลง
ช้ามาก ๆ จึงใช้เวลานาน นานมากกว่าอายุ
ของเอกภพก่อนจะกลายเป็ นดาวแคระดำ
(black dwarf)
32
หมวด ด
ดาวนิวตรอน
(neutron star)
ที่มาภาพ: http://nso.narit.or.th/index.php/2017-11-25-10-50-19/2017-12-07-04-56-44/2017-
12-09-16-25-42/2017-12-10-07-38-40/2017-12-20-04-39-46
ดาวฤกษ์ ที่ยุบตัวลงเนื่ องจาก
แรงโน้มถ่วงที่มากกว่าแรงดัน เนื้ อดาว
ทั้งหมดเป็ นนิ วตรอนจึงเป็ นดาวขนาดเล็กที่
มีเส้ นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 กิโลเมตร
และมีควมหนาแน่นสูงถึง 1,017 กิโลกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร เกิดจากซูเปอร์โนวาที่
เหลือมวลหลังการระเบิด 1.5-3 มวล
ดวงอาทิตย์
33
หมวด ด
เดคลิเนชัน
(declination)
ที่มาภาพ: http://www.thaiphysoc.org/article/403/
หนึ่ งในพิกัดศูนย์สูตรฟ้ าของ
เทห์ฟ้ าที่วัดจากจุดศูนย์สูตรฟ้ าไปตามเส้ น
วงกลมชั่วโมงที่ผ่านเทห์ฟ้ า วัดเป็ นมุมมีค่า
บวกเมื่ออยู่ในซีกฟ้ าเหนื อ มีค่าลบเมื่ออยู่ใน
ซีกฟ้ าใต้ มีสัญลักษณ์ว่า δ หรือ Dec
34
หมวด ถ
แถบดาวเคราะห์น้อยหลัก
(main asteroid belt )
ที่มา: https://www.dreamstime.com/group-asteroids-lit-sun-asteroid-belt-space-scene-d-illustration-banner-deep-surrounded-dust-panorama-image127504111
บริเวณรอบดวงอาทิตย์ที่
อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคาร
และดาวพฤหัสบดี เป็ บริเวณที่มีดาว
เคราะห์น้ อยส่ วนใหญ่โคจรอยู่
35
หมวด ท
ทรงกลมฟ้า
(celestial sphere)
เป็ นทรงกลมสมมติขนาดใหญ่
มีรัศมีอนันต์ โดยมีโลกอยู่ที่
จุดศูนย์กลาง เมื่อมองจากพื้นโลกเรา
จะเห็นทรงกลมท้องฟ้ าเคลื่อนที่จาก
ทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
36
หมวด น
เนบิวลา
(Nebula)
ที่มา :https://www.blockdit.com/posts/5e105936e9e0ea0d0a30661a
บริเวณที่เป็ นฝ้ าขาวคล้าย
กลุ่มเมฆ ปรากฏเห็นได้บางแห่งบน
ท้องฟ้ า มีขนาดใหญ่มาก ประกอบ
ด้วยกลุ่มแก๊ ส ดาวฤกษ์ ฝุ่ นผง และ
วัตถุต่าง ๆ ที่จะก่อตัวรวมกันเป็ น
ดาวฤกษ์
37
หมวด บ
บิกแบง (Big Bang )
ที่มา: https://sites.google.com/site/theuniversexekphph/3-neuxha-khxmul/thvsdi-bik-baeng
ทฤษฎีกำเนิ ดเอกภพที่เป็ นที่ยอมรับกันใน
ปัจจุบัน อธิบายว่า เอกภพเริ่มจากเหตุการณ์
เมื่อประมาณ 13,800 ล้านปี มาแล้ว โดยเริ่ม
จากภาวะที่มีพลังงานสูงยิ่งอุณหภูมิและ
ความหนาแน่นสูงมาก ทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็ น
สสาร พลังงาน ปริภูมิ และเวลา เริ่มเกิดขึ้ น
จากจุดนั้ น
38
หมวด ป
ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
(thermonuclear fusion
reaction)
ที่มาภาพ: https://www.youtube.com/watch?v=21Kqb7DQ4Us
ปฏิกิริยาการสร้างนิ วเคลียส
ที่ใหญ่ขึ้ นจากการหลอมรวมนิวเคลียสที่
เล็กกว่าภายใต้อุณหภูมิสูง เช่น
การหลอมไฮโดรเจน 4 นิวเคลียสให้
เป็นฮีเลียม 1 นิวเคลียสที่แก่นกลางดวง
อาทิตย์ภายใต้อุณหภูมิ 15 ล้านเคลวิน
39
หมวด ฟ
โฟโตสเฟียร์
(photosphere)
ที่มาภาพ: https://th.wikipedia.org/wiki/ดวงอาทิตย์
ชั้ นบรรยากาศที่ติดกับผิวของ
ดวงอาทิตย์ มีความหนาประมาณ 400
กิโลเมตรอุณหภูมิส่วนที่ติดผิวดวงอาทิตย์
ประมาณ 10,000 K ส่วนที่ติดกับชั้ น
โครโมสเฟี ยร์ประมาณ 4,200 K แก๊ สที่อยู่
ในชั้ นนี้ จะแผ่รังสีออกสู่อวกาศ ได้แก่ รังสี
เอกซ์ รังสีอัลตราไวโอเลต แสงสว่าง และ
คลื่นความร้อน เป็ นชั้ นที่มีปรากฏการณ์ที่
สำคัญเช่น การเกิดดอกดวง การเกิดกลุ่มจุด
40
หมวด ร
ระบบสุริยะ
(solar system)
ที่มา :http://oldweb.most.go.th/main/index.php/contribution/prayuth/
infographic-list/5989--solar-system.html
ระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็ น
ศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet)
เป็ นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ ประกอบ
ด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจร
รอบดวงอาทิตย์ เช่น ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และดาวบริวาร
41
หมวด ศ
ศารทวิษุวัต
(autumnal equinox)
เป็ นจุดตัดระหว่างเส้ นศูนย์สูตรฟ้ า
และสุริยวิถี เป็ นจุดที่ดวงอาทิตย์กำลังข้าม
จากซีกฟ้ าเหนื อไปยังซีกฟ้ าใต้ ตรงกับ
ประมาณวันที่ 22-23 กันยายนของทุกปี
42
หมวด ส
สะเก็ดดาว
(meteoroid )
ที่มา: https://www.nasa.gov/audience/forstudents/k-4/dictionary/Meteoroid.html
วัตถุจำพวกหินแข็งในอวกาศที่มี
ขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์น้อย อาจมี
ขนาดตั้งแต่เม็ดทรายจนใหญ่เท่าโอ่งน้ำ
43
หมวด ส
สุริยวิถี (ecliptic )
ที่มา: https://www.shutterstock.com/th/image-vector/vector-illustration-intersection-ecliptic-orbit-moon-1089634643
"การบังกัน" เป็ นระนาบที่โลกโคจรรอบดวง
อาทิตย์ เราจึงเห็นดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านทรงกลม
ท้องฟ้ าบนเส้ นนี้ ด้วย และเนื่องจากระบบสุริยะเกือบ
ทั้งหมดมีระนาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ไม่
แตกต่างจากระนาบของโลกมากนัก เราจึงสามารถ
เห็นการบังกัน ของวัตถุต่างๆ บนแนวเส้ นนี้ ด้วย
เช่น จันทรุปราคา สุริยุปราคา และ ปรากฏการณ์
ดวงจันทร์บังดาวเคราะห์ (Occultation) ด้วย
44