The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

project report เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warittha Kokkaew, 2021-04-29 15:40:38

project report เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงง

project report เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงง

การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้

Learning Measurement and Evaluation

มหาวิทยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา

BANSOMDEJCHAOPRAYA RAJABHAT UNIVERSITY

การออกแบบข้อสอบ
เรอ่ื ง เทคนคิ การจัดการแสดง

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4

จัดทำโดย

นายบุญฤทธ์ิ มหาพงษ์ เลขท่ี 3 6281163014
นางสาวชัญญานชุ โคตรวชิ า เลขที่ 11 6281163034
นายธนพลธ์ ใหยะปะ เลขที่ 15 6281163043
นายธีรภัทร โสธานติ ย์ เลขที่ 16 6281163051
นางสาววริษฐา กกแกว้ เลขท่ี 17 6281163052

หม่เู รียน D10 สาขาวิชา นาฏยศลิ ป์ศกึ ษา (ค.บ. 4 ปี)

เสนอ
อาจารย์ ดร. สริ ิกร โตสติ

การออกแบบข้อสอบฉบบั น้เี ปน็ สว่ นหนึง่ ของการเรียนการสอน
รายวชิ าการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ รหัสวิชา 1190202

ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา



คำนำ

รายงานฉบับนเี้ ป็นส่วนหน่ึงของ รายวชิ า 1190202 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ซึ่งการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทำให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ี
จำเป็น ในการพิจารณาว่าผู้เรียนเกิดคุณภาพการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและมาตรฐานการเรียนรู้
หรือไม่ จะเห็นได้ว่าการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ นอกจากจะมีประโยชน์โดยตรงต่อผู้เรียนแล้ว
ยังสะท้อนถึงประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอน และเป็นข้อมูลสำคัญที่สะท้อนคุณภาพการดำเนินงาน
การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาอีกดว้ ย ดงั น้นั ครแู ละสถานศึกษาต้องมขี ้อมลู ผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ทง้ั จาก
การประเมินในระดับชนั้ เรยี น ระดบั สถานศึกษา และระดบั อื่นที่สงู ข้ึน

โดยรายงานฉบบั น้จี ัดทำขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการสร้างข้อสอบ เพื่อศึกษาหาความรู้และสรา้ งประสบการณ์
การสร้างข้อสอบ และสามารถนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพครูในอนาคตได้ ขอบเขตในการศึกษาเกี่ยวกับ
มาตฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิเคราะห์เนื้อหา การสร้างข้อสอบ และวิเคราะห์ค่าความตรง
เชงิ เนอ้ื หา (IOC) เพ่อื ได้ขอ้ สอบทม่ี ีคณุ ภาพ สอดคลอ้ ง ครอบคลมุ ระหว่างข้อคำถามกับเนือ้ หา

คณะผู้จัดทำขอขอบคุณอาจารย์ ดร.สิริกร โตสติ เป็นอย่างยิ่งที่ให้คำแนะนำ ในการจัดทำรายงาน
ฉบับนี้จนบรรลุความสำเร็จ คณะผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำรายงานฉบับนี้ จะเกิดประโยชน์
ต่อผู้ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับการสร้างข้อสอบได้เป็นอย่างดียิ่ง หากมีข้อเสนอแนะหรือผิดพลาดประการใด
ของรายงานฉบบั บนี้ คณะผจู้ ดั ทำ ขออภัยมา ณ ทีน่ ี้ดว้ ย

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ ข

คำนำ หน้า
สารบญั ก
ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวชีว้ ัดและจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข
เนอ้ื หาการเรยี นรู้ เรือ่ ง เทคนิคการแสดง 1
2
- ฉาก 2
- แสง สี เสยี ง 3
- เครอ่ื งแตง่ กาย 3
- อปุ กรณ์ 5
ตารางวิเคราะหเ์ นอ้ื หา 6
การสร้างข้อสอบ 8
ตารางวิเคราะหค์ า่ ความตรงเชงิ เนือ้ หา 15
การสรา้ งขอ้ สอบ (ฉบับปรับปรุง) 18
รายการอา้ งอิง 21
ภาคผนวก 24
แบบตรวจสอบความตรงเชิงเน้อื หารายข้อ 25
25
- ผลวิเคราะหค์ า่ ความตรงเชงิ เนื้อหาผู้ทรงคุณวฒุ ิทา่ นที่ 1 26
- ผลวิเคราะห์คา่ ความตรงเชิงเนอ้ื หาผู้ทรงคุณวุฒิทา่ นท่ี 2 27
- ผลวิเคราะห์ค่าความตรงเชิงเนื้อหาผู้ทรงคุณวุฒิทา่ นที่ 3 28

แบบทดสอบผ่าน Microsoft Forms



ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวช้วี ดั และจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

สาระที่ 3 เรือ่ ง เทคนิคการจดั การแสดง
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณคา่
นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู ึก ความคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ช้
ในชีวิตประจำวนั

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั ตามหลักสูตรแกนกลาง จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

ม.4 ศ 3.1 (6) บ ร ร ย า ย แ ล ะ 1. ฉาก

วิเคราะห์อิทธิพลของเครือ่ งแตง่ 1.1 นกั เรียนสามารถบอกประเภทของฉากได้

กาย แสง สี เสียง ฉาก อปุ กรณ์ 1.2 นกั เรยี นสามารถอธิบายความสำคัญของการออกแบบฉากได้อยา่ งถูกต้อง

และสถานทท่ี ีม่ ผี ลต่อการแสดง 1.3 นกั เรยี นสามารถอธิบายหน้าทข่ี องฉากไดอ้ ย่างถูกต้อง

1.4 นกั เรียนสามารถสรา้ งแนวทางเลอื กใหมใ่ นการออกแบบฉากได้

1.5 นักเรียนสามารถวเิ คราะห์หลกั การใช้สใี นการออกแบบฉากได้

1.6 นักเรยี นสามารถจำแนกประเภทรปู แบบฉากกับการแสดงได้อย่างถูกต้อง

1.7 นักเรียนสามารถวิเคราะหห์ ลักการออกแบบฉากได้อย่างถูกต้อง

1.8 นกั เรียนสามารถสงั เคราะห์แนวคดิ ในการสร้างฉากได้

2. แสง สี เสยี ง
2.1 นักเรียนสามารถบอกหลักการและเทคนิคในการสร้างเสียงในการแสดง
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. เครื่องแต่งกาย
3.1 นักเรยี นสามารถบอกประเภทของเครอื่ งแตง่ กายได้อยา่ งถกู ต้อง

4. อุปกรณ์
4.1 นักเรยี นสามารถบอกประเภทของอปุ กรณไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง
4.2 นักเรียนสามารถดัดแปลงวัสดุสำหรับใช้ในสร้างอุปกรณ์การแสดงได้
อย่างเหมาะสม



เน้อื หาการเรียนรู้
เร่ือง เทคนคิ การจัดการแสดง

เทคนิคการจัดการแสดง
ในการจัดการแสดงแต่ละครั้ง จะต้องมีองค์ประกอบด้านต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องเพือ่ เสริมให้ตวั ละครมี

ความชดั เจนยิง่ ขึน้ สง่ิ ต่างๆ ท่ีนาํ มาช่วยเสริม ได้แก่ ฉาก แสง สี เสยี ง อุปกรณ์ สถานทีแ่ ละเครอื่ งแต่งกาย

ฉาก
ฉาก หมายถึง สถานการณ์หรือตอนในการดําเนินเรื่อง บริเวณการแสดงที่เหมาะสมรวมถึง อุปกรณ์
ประดับฉากและวัสดตุ ่างๆ ที่นาํ มาประกอบเพ่อื สร้างเป็นสถานทีต่ ่างๆ
๑. ประเภทของฉาก แบ่งออกเป็น ๗ ประเภท คอื

๑.๑ ฉากของจริง คือ ฉากที่เปน็ สถานทีจ่ รงิ
๑.๒ ฉากสมจริง คอื ฉากที่จัดสร้างขนึ้ ให้ดสู มจริง มเี จตนาจัดสร้างให้ดูเหมือนของจริง เพียง
ดา้ นทม่ี องเหน็ เท่าน้นั
๑.๓ ฉากคล้ายจริง คือ ฉากที่ลดความเป็นจริงลงไป โดยการใช้วัสดุและเทคนิคพิเศษ
ลดความอนั ตรายจากของจริง เชน่ ใช้กระดาษ ผา้ กบั แสงสีทาํ เปลวไฟเทยี ม
๑.๔ ฉากสังเขป คือ ฉากทีใ่ ชเ้ ฉพาะบางสว่ นท่ีสามารถแสดงให้คนดูเข้าใจวา่ ฉากนนั้ คอื ท่ใี ด
๑.๕ ฉากนามธรรม คือ ฉากที่ผู้ออกแบบนําศิลปะของจิตรกรรมและประติมากรรมมา
ประยกุ ตเ์ ปน็ ฉาก ผูอ้ อกแบบอาศยั หลักทางศลิ ปะที่เกี่ยวกับความรู้สึกของมนุษย์มาเปน็ พน้ื ฐานในการออกแบบ
๑.๖ ฉากจินตนาการ คือ ฉากที่เป็นสถานที่ซึ่งไม่ปรากฏอยู่ในโลกนี้ เป็นจินตนาการ ที่มี
เหตุผลประกอบให้นา่ เชื่อถอื มคี วามเป็นไปไดใ้ ห้ผ้ชู มยอมรบั ความสมจรงิ
๑.๗ ฉากอเนกประสงค์ คอื ฉากที่ประกอบดว้ ยช้นิ สว่ นเรียบงา่ ย มกั ทําเป็นแท่นส่ีเหลี่ยมเล็ก
บา้ งใหญบ่ ้าง วางสลบั ซบั ซอ้ น สามารถยกไปประกอบเป็นรปู แบบอนื่ ๆ ได้
๒. การออกแบบฉาก มีหลกั 5 ประการ คือ
๒.๑ หนา้ ทีใ่ ช้สอย ในการแสดงแต่ละครัง้ จะกําหนดพ้ืนท่วี า่ ส่วนใดใช้ทําอะไร ผู้แสดงเข้าออก
จุดใด เปน็ ต้น
๒.๒ รปู แบบ ฉากจะต้องมีรปู ลกั ษณท์ ่ีสัมพนั ธก์ บั การแสดง
๒.๓ เวที เวทีใหญ่สามารถออกแบบให้สลับซับซ้อนตระการตามากกว่าเวทเี ล็ก เวทีมี ๕ แบบ
คือ เวทแี บบดดู า้ นเดียว เวทีแบบดูสองดา้ น เวทแี บบดสู ามด้าน เวทแี บบดสู ด่ี ้าน เวทแี บบประเพณีนิยม
๒.๔ การกอ่ สร้างฉาก สง่ิ ท่คี าํ นึงในการสร้างฉาก คอื

- วสั ดจุ ะต้องมนี ำ้ หนกั เบา ทนทาน วัสดทุ ่ใี ช้ทาํ ฉากที่นยิ มมาก คือ ไม้เนื้ออ่อน และไมอ้ ดั
- โครงสร้างจะมีเพียงส่วนที่จําเป็นและมีความแข็งแรงพอสมควรเท่านั้น ไม่นิยมแยก
ชิ้นสว่ นที่เปน็ ช่อง เช่น ประตู หน้าต่าง
- การถอดประกอบ จะใช้กลวิธีที่สามารถนําชิ้นส่วนย่อยๆ มาประกอบและสามารถแยก
ชิน้ ถอดในเวลาอนั รวดเร็ว
๒.๕ การจัดฉาก การออกแบบฉากต้องคํานึงถึงความสะดวกรวดเร็ว ไม่เป็นอุปสรรค ทําให้
การแสดงต้องหยุดรอ
๒.๖ การประหยดั การออกแบบจะต้องใช้วสั ดใุ ห้คมุ้ คา่ ร้จู กั ดดั แปลงของเกา่ มาใชอ้ ีก



๓. หน้าที่ของฉาก มี ๔ ประเภท คือ
๓.๑ กาํ หนดวา่ บรเิ วณทีใ่ ชเ้ พื่อ เป็นการแสดงคือส่วนใด
๓.๒ บ่งช้ยี คุ สมัย
๓.๓ ใหบ้ รรยากาศแก่การแสดง
๓.๔ เปน็ การสนับสนุนการแสดง ให้มีความน่าชมย่ิงขนึ้

แสง สี เสยี ง
๑. แสง ทาํ ใหก้ ารแสดงเกิดความงดงามและสร้างบรรยากาศ มสี ่วนสําคญั คอื

๑.1 ให้ความสว่าง แม้การแสดงนั้นจะแสดงกลางวนั ก็จําเปน็ ต้องใช้แสงไฟ เพื่อหน้าจะส่งให้
ใบหนา้ ของผู้แสดงมีความผุดผ่อง เคร่อื งแต่งกายและเครื่องประดับจะมีสีสันสดใส และส่องประกายสะท้อนให้
ตระการตา

๑.๒ บอกเวลา แสงจะเป็นเครอ่ื งบ่งบอกเวลาในทอ้ งเร่ืองเป็นอยา่ งดี
1.3 สรา้ งอารมณ์ แสงมผี ลทางจิตวทิ ยาทําใหก้ ระตุ้นความรู้สกึ ในการชมการแสดง
๑.๕ การออกแบบแสง จะต้องคาํ นงึ ถงึ สง่ิ ตอ่ ไปน้ี

- พื้นทใ่ี ห้แสง การให้แสงในการแสดงไมค่ วรจะสวา่ งเท่ากนั จะเนน้ ความสวา่ ง ในพ้นื ทีท่ ี่
ตอ้ งการใหด้ ูเด่น
- ความเข้มของแสง ความเข้มของแสงจะตอ้ งมีความสมั พันธก์ บั อารมณ์ในการแสดง
- ทิศทางของแสง ต้องใช้แสงส่องมาหลายทิศทางและมีความเข้มของแสงมาก น้อยกว่า
กนั เพ่อื เนน้ ให้เกิดภาพที่มแี สงเงาสมดลุ กัน

๒. สี แสงทสี่ อ่ งในการแสดงนาฏศลิ ปม์ ีทัง้ แสงทีใ่ หค้ วามสวา่ งธรรมดา และแสงท่ีเปน็ สจี ะใชห้ ลอดไฟสี
กับแผน่ ใสสี การแสดงทเ่ี ป็นแบบสมจรงิ จะไม่ใช้สีของแสงมาก

ขอ้ ควรระวัง : หากใช้สีของแสงผิด จะทาํ ใหส้ ีของเสอ้ื ผา้ จรงิ เปล่ยี นแปลงได้

๓. เสียง เป็นการทำเสียงเฉพาะ เช่น ฟ้าร้อง ฝนตก เสียงปืน แต่เดิมมีการใช้วัสดุต่างๆ มาทําให้เกิด
เสียง เช่น ฝนตกใช้เมล็ดถั่วเขียวมาโปรยลงบนถาดสงั กะสี เป็นต้น ปัจจุบันสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกสห์ รือเสียงที่
บันทกึ จากของจริง การให้เสยี งในการแสดงตอ้ งมีความสัมพนั ธ์กัน โดยไมใ่ ชเ้ สยี งทไี่ มเ่ บาหรอื ดังจนเกนิ ไป

เคร่อื งแต่งกาย
เครื่องแต่งกาย หมายถึง เครื่องแต่งกายที่สวมใสในการแสดง เพื่อความงดงามและบ่งบอก
บคุ ลกิ ลกั ษณะของตวั ละคร
๑. ประเภทของเครือ่ งแต่งกาย มี ๔ ประเภท คอื

๑.๑ เครอ่ื งแต่งกายปกติ คือ เครือ่ งแต่งกายท่ัวไปทีแ่ ต่งเพ่ือแสดงให้เหน็ การดําเนินชีวิตของ
แตล่ ะบคุ คล ซ่งึ สอื่ ผ่านตัวละครในหลายบุคลิกลักษณะ ดังนน้ั การแตง่ กายปกติ ของตัวละครอาจมแี นวการแต่ง
ทีเ่ หมือนหรอื ไมเ่ หมอื นกันกไ็ ด้

๑.๒ เครอ่ื งแต่งกายประยุกต์ คอื เครอ่ื งแตง่ กายทเ่ี ลยี นแบบเครื่องแต่งกายปกติ แต่ดัดแปลง
ใหเ้ หมาะสมกับการแสดง



๑.๓ เครื่องแต่งกายประเพณี คือ เครื่องแต่งกายที่ได้รับการพัฒนาเป็นรูปแบบตายตัว เช่น
ชุดยืนเครอื่ งพระนาง

๑.๔ เครื่องแต่งกายสร้างสรรค์ คือ เครื่องแต่งกายที่ออกแบบเฉพาะกรณีเพื่อให้เกิดความ
แปลกตาและสนองความคิดจินตนาการ

๒. การออกแบบเคร่อื งแตง่ กาย มหี ลกั 6 ประการ คือ
๒.๑ หน้าทใี่ ช้สอย การออกแบบ ตอ้ งคาํ นึงถึงความชัดเจนวา่ จะนําไปใช้อยา่ งไร
๒.2 รูปแบบเครื่องแต่งกาย ต้องพิจารณา ให้กลมกลืนกับบรรยากาศของการแสดงโดยรวม

และตอ้ งคํานึงถึงยุคสมยั ของการแสดง
๒.๓ บุคลิกตัวละคร เครื่องแต่งกายจะเป็นตัวบ่งบอกถึงฐานะและบทบาทของตัวละคร เช่น

ร่ำรวย ยากจน หรือรับบทเป็นยักษ์ มนุษย์ หรือสัตว์
๒.๔ การสร้างเครื่องแต่งกาย สิง่ ทีค่ ํานงึ ในการสรา้ งเคร่ืองแตง่ กาย คือ
- วสั ดุ แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คอื เครอื่ งนุง่ ห่มและเครือ่ งประดับ
- โครงสร้างของเคร่อื งแตง่ กาย มี ๓ แบบ คอื
• เครื่องแต่งกายแบบสําเร็จรูป เป็นชุดสําเร็จรูปที่สวมใส่ได้รวดเร็ว สามารถสวมใส่
ดว้ ยตนเอง
• เครื่องแต่งกายแบบกึ่งสําเร็จรูป เป็นเครื่องแต่งกายที่นําชิ้นส่วนบางชิ้น มายึด
ตดิ กนั เปน็ สาํ เร็จรปู และมบี างส่วนเป็นแบบชน้ิ สว่ น
• เครื่องแต่งกายแบบแยกชิ้นส่วน เป็นเครื่องแต่งกายที่แยกกันอย่างเด็ดขาด แล้ว
นาํ มาตกแตง่ ร่างกายของผแู้ สดงที่ละช้ิน
๒.๕ การถอดเปลี่ยน การแสดงนาฏศลิ ปม์ ักจะมกี ารถอดเปลีย่ นชดุ ในแต่ละฉากเพื่อให้เป็นไป

ตามสถานการณใ์ นเรอื่ ง การออกแบบเครอื่ งแตง่ กายจงึ ต้องคาํ นึงถงึ ความสะดวกรวดเร็วในการสวมใส่และการ
เปล่ียนดว้ ย

๒.๖ การประหยัด เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการจัดการแสดง การนำของเดิมมาปรับปรุง
ตกแต่งใหมก่ จ็ ะเป็นการลดตน้ ทนุ ในการจดั การแสดงได้

๓. ความสาํ คัญของเครอ่ื งแตง่ กาย มี ๘ ประการ คอื
๓.๑ เปน็ การแสดงบคุ ลกิ ภาพของตวั ละคร
๓.๒ เปน็ การแสดงสถานภาพของตัวละคร
๓.๓ แสดงอาชีพของตวั ละคร
๓.๔ แสดงวฒั นธรรมของตัวละคร
๓.๕ แสดงยคุ สมัยในการแสดง
๓.๖ แสดงเหตุการณใ์ นทอ้ งเรือ่ ง
๓.๗ เปน็ สว่ นเสรมิ การเคลอื่ นไหวหรือฟ้อนราํ
๓.8 เปน็ สว่ นสําคญั ท่ีขาดมิได้ในการแสดง



อปุ กรณ์
อุปกรณก์ ารแสดง ใชเ้ ป็นส่วนหน่งึ ของการแสดงและยังเป็นสง่ิ กําหนดรปู แบบของการแสดงอกี ด้วย
อุปกรณ์การแสดงแบง่ ออกเป็น ๕ ประเภท ดงั นี้

1. อาวุธ ในการแสดงจะใช้อาวธุ เทียมมีนำ้ หนักเบา สะดวกและปลอดภัยในการร่ายรํา มีการ
ตกแต่งให้งดงามรับกับเครื่องแต่งกาย เช่น กริช ทวน กระบี่ ดาบ อาวุธแต่ละชนิดมีรูปร่างและวิธีการใช้ที่
ต่างกัน

๒. เครื่องมือเครื่องใช้ เป็นอุปกรณ์ประกอบการแสดงซึ่งมาจากเครื่องมือประกอบอาชีพและ
เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจำวันที่เป็นของจริงหรอื ใกล้เคียงกับของจริง เช่น สวิง กระติบข้าว รม่ พดั

๓. เครื่องดนตรี จะใช้ของจรงิ ซึ่งจะใชบ้ รรเลงในระหว่างการแสดงหรือให้ผแู้ สดงจับถือ
๔. พฤกษชาติ เป็นการนํากิ่งไม้ ใบไม้ ดอกไม้ทั้งของจริงและของเทียมมาใช้ประกอบในการ
แสดง
๕. เบด็ เตลด็ เป็นอปุ กรณท์ ไ่ี มส่ ามารถจัดหมวดหมู่ข้างตน้ ได้



ตารางวเิ คราะหเ์ นื้อหาเร่ือง เทคนิคการจดั การแสดง ระดับชัน้ ม.4

สาระที่ 3 เร่ือง เทคนคิ การจัดการแสดง
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างสร้างสรรค์ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
คำชีแ้ จง ในชีวติ ประจำวัน
จงวิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและวางแผนการออกข้อสอบ โดยระบุจำนวน
ข้อใน แต่ละเน้อื หาจำแนกตามระดับพฤติกรรมพทุ ธิพิสัย 6 ระดับ (เตม็ 100 ข้อ)

เน้อื หา จุดประสงคเ์ ชงิ รู้-จำ เขา้ ใจ นำไปใช้ วิเคราะ สงั เคราะ ประเมนิ รวม1 อันดับ
พฤตกิ รรม ห์ ห์ ค่า (ข้อ) ความ
สำคญั

ฉาก นักเรียนสามารถบอก 2− − − − −2
ประเภทของฉากได้

นักเรยี นสามารถอธิบาย

ความสำคญั ของการ − 1 − − − −1
ออกแบบฉากได้อยา่ ง

ถูกต้อง

นกั เรียนสามารถอธิบาย

หนา้ ท่ขี องฉากได้อยา่ ง − 1 − − − −1

ถูกต้อง

นักเรียนสามารถสรา้ ง

แนวทางเลอื กใหมใ่ นการ − − 1 − − −1

ออกแบบฉากได้

นักเรยี นสามารถ 1

วิเคราะหห์ ลกั การใช้สใี น − − − 2 − −2

การออกแบบฉากได้

นักเรียนสามารถจำแนก

ประเภทรปู แบบฉากกับ − − − 1 − −1

การแสดงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

นกั เรียนสามารถ

วิเคราะหห์ ลกั การ − − − 2 − −2
ออกแบบฉากได้อยา่ ง

ถูกต้อง

นกั เรียนสามารถ

สงั เคราะห์แนวคิดในการ − − − 2 −2

สรา้ งฉากได้



เนอื้ หา จดุ ประสงคเ์ ชิง รู้-จำ เข้าใจ นำไปใช้ วเิ คราะ สงั เคราะ ประเมิน รวม1 อนั ดบั
พฤตกิ รรม ห์ ห์ คา่ (ขอ้ ) ความ
สำคญั

นกั เรียนสามารถบอก

แสง สี หลกั การและเทคนิคใน 2 − − − − − 23
เสยี ง การสร้างเสยี งในการ

แสดงได้อย่างเหมาะสม

เครอ่ื ง นักเรียนสามารถบอก

แตง่ ประเภทของเครื่องแตง่ 4 − − − − − 42

กาย กายได้อยา่ งถกู ต้อง

อุปกรณ นกั เรยี นสามารถบอก

ประเภทของอุปกรณ์ได้ 1 − − − − −1

อยา่ งถูกต้อง

นกั เรียนสามารถ 3

ดัดแปลงวสั ดสุ ำหรับใช้ − − − − 1 −1
ในสร้างอปุ กรณ์การ

แสดงได้อยา่ งเหมาะสม

รวม2 (ขอ้ ) 9 2 1 5 3 − 20

อันดับความสำคัญ 1 4 5 2 3 −

หมายเหตุ รวม1(ขอ้ ) : รวมจำนวนขอ้ ในแตล่ ะเนื้อหา (ทกุ ระดบั พฤติกรรม) (รวมแนวนอน)
รวม2(ขอ้ ) : รวมจำนวนข้อในแต่ระดับพฤติกรรม (ทุกเนอ้ื หา) (รวมแนวต้งั )
อันดบั ความสำคัญ : จำนวนข้อมากที่สุด ใหค้ วามสำคญั เปน็ อันดบั ที่ 1



การสร้างข้อสอบ

เนอ้ื หา ฉาก
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม นักเรียนสามารถบอกประเภทของฉากได้
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ความรคู้ วามจำ
ข้อที่ 1 ประเภทของฉากมกี ีป่ ระเภท
ก. 4 ประเภท
ข. 5 ประเภท
ค. 6 ประเภท
ง. 7 ประเภท
จ. 8 ประเภท
เฉลย ง. 7 ประเภท
ผู้ออกขอ้ สอบ นายธรี ภัทร โสธานิตย์ ชอ่ื เลน่ เกง่ เลขท่ี 16

เนอ้ื หา ฉาก
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม นักเรียนสามารถบอกประเภทของฉากได้
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ความรู้ความจำ
ข้อที่ 2 ฉากทเี่ ป็นสถานทจ่ี ริงคอื ฉากประเภทใด
ก. ฉากคลา้ ยจรงิ
ข. ฉากสงั เขป
ค. ฉากของจรงิ
ง. ฉากสมจรงิ
จ. ฉากจินตนาการ
เฉลย ค. ฉากของจริง
ผ้อู อกขอ้ สอบ นายธีรภัทร โสธานิตย์ ชื่อเล่น เก่ง เลขท่ี 16

เนอ้ื หา ฉาก
จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการออกแบบฉากได้อยา่ งถูกต้อง
พฤติกรรมการเรียนรู้ ความเข้าใจ
ข้อที่ 3 การออกแบบฉากมีความสำคญั อย่างไร
ก. เพื่อใหต้ ัวละครมีความเหมาะสมกบั เน้ือเรื่อง
ข. เพอ่ื ชว่ ยให้บทบาทของตวั ละครมคี วามชัดเจน
ค. เพอ่ื ช่วยใหไ้ ม่เป็นอุปสรรคตอ่ การแสดง
ง. เพอื่ ให้ฉากมีความเหมาะสมกับเน้ือเร่อื งท่นี ำมาแสดง
จ. เพือ่ ชว่ ยใหผ้ ้ชู มมีอารมณค์ ล้อยตามไปกบั การแสดง
เฉลย จ. เพื่อช่วยใหผ้ ชู้ มมีอารมณ์คล้อยตามไปกับการแสดง
ผู้ออกขอ้ สอบ นายธีรภทั ร โสธานิตย์ ชือ่ เลน่ เกง่ เลขท่ี 16



เนอ้ื หา ฉาก
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นักเรียนสามารถอธบิ ายหน้าท่ีของฉากได้อย่างถูกต้อง
พฤติกรรมการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ
ขอ้ ท่ี 4 ข้อใดไม่จดั เป็นหนา้ ที่ของฉาก
ก. บอกสถานที่
ข. บอกยุคสมัย
ค. เสริมสร้างบรรยากาศ
ง. บอกท่มี าของตัวละคร
จ. สนบั สนุนการแสดงให้นา่ ชม
เฉลย ง. บอกทีม่ าของตวั ละคร
ผอู้ อกขอ้ สอบ นายธีรภัทร โสธานิตย์ ชื่อเล่น เกง่ เลขท่ี 16

เนอ้ื หา ฉาก
จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม นักเรียนสามารถสร้างแนวทางเลอื กใหม่ในการออกแบบฉากได้
พฤติกรรมการเรียนรู้ การนำไปใช้
ข้อที่ 5 ถ้าไม่มสี ีน้ำมันสามารถนำสชี นดิ ใดมาใช้แทนในการสรา้ งฉากละครได้
ก. สไี ม้
ข. สเี ปลอื กไม้
ค. สโี ปสเตอร์
ง. สีน้ำ
จ. สีอะคริลกิ
เฉลย จ. สีอะคริลกิ
ผอู้ อกขอ้ สอบ นางสาววริษฐา กกแก้ว ชอื่ เล่น ววิ เลขท่ี 17

เนอื้ หา ฉาก
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์หลักการใช้สีในการออกแบบฉากได้
พฤติกรรมการเรียนรู้ การวเิ คราะห์
ขอ้ ที่ 6 เพราะเหตุใดในการออกแบบฉากละครจงึ ไมน่ ิยมใช้สีอ่อนและสีเข้มจดั มาระบาย
ก. จะเกิดแสงสะท้อนมายังตวั ละคร
ข. มีความกลมกลืนกับสเี คร่ืองแตง่ กาย
ค. เกิดการดูดกลืนไปกับสีอ่อน เม่ือสีโดนแสง
ง. ไม่สามารถใช้กล้องทำงานกับสอี อ่ นได้
จ. สอี อ่ นจะมีความเดน่ ชัดกว่าสีเขม้
เฉลย ค. เกดิ การดูดกลืนไปกับสีอ่อน เม่ือสีโดนแสง
ผอู้ อกข้อสอบ นางสาววริษฐา กกแก้ว ชือ่ เล่น ววิ เลขท่ี 17

๑๐

เนื้อหา ฉาก

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม นักเรียนสามารถวเิ คราะหห์ ลกั การใชส้ ใี นการออกแบบฉากได้

พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การวเิ คราะห์
ขอ้ ที่ 7 ในฉากท่ตี ัวละครตอ้ งแสดงอารมณท์ รี่ า่ เริง แจ่มใส ฉากควรใช้สใี ด
ก. สีสม้
ข. สีฟ้า
ค. สีม่วง
ง. สีเหลือง
จ. สเี ขยี ว

เฉลย ง. สีเหลือง

ผ้อู อกข้อสอบ นางสาววริษฐา กกแกว้ ชอื่ เลน่ ววิ เลขท่ี 17

เน้อื หา ฉาก
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถจำแนกประเภทรปู แบบฉากกับการแสดงได้อยา่ งถูกต้อง
พฤติกรรมการเรยี นรู้ การวเิ คราะห์
ขอ้ ท่ี 8 จากภาพมคี วามเหมาะสมกบั การแสดงละครประเภทใดมากทีส่ ดุ

ก. ละครนอก เรอ่ื งสงั ข์ทอง กกแก้ว ชอื่ เล่น ววิ เลขท่ี 17
ข. ละครใน เรอ่ื งรามเกยี รติ์
ค. ละครใน เร่ืองอิเหนา
ง. ละครเสภา เรือ่ งขุนชา้ งขุนแผน
จ. ละครพนั ทาง เรื่องราชาธริ าช

เฉลย ข. ละครใน เร่ืองรามเกียรต์ิ

ผอู้ อกขอ้ สอบ นางสาววริษฐา

๑๑

เน้อื หา ฉาก
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหห์ ลักการออกแบบฉากได้อยา่ งถูกต้อง
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การวเิ คราะห์
ขอ้ ท่ี 9 สงิ่ ใดสามารถสือ่ ถึงบรรยากาศในทอ้ งเรอ่ื งได้ชัดเจนทส่ี ุด
ก. การสรา้ งฉาก
ข. เครื่องแต่งกายของตัวละคร
ค. การใช้เสียงบนเวที
ง. อุปกรณป์ ระกอบการแสดง
จ. การใช้แสงไฟ
เฉลย ก. การสร้างฉาก
ผ้อู อกข้อสอบ นายบญุ ฤทธิ์ มหาพงษ์ ชื่อเลน่ เขต เลขท่ี 3

เนื้อหา ฉาก
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม นักเรยี นสามารถวเิ คราะหห์ ลกั การออกแบบฉากได้อย่างถกู ต้อง
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การวเิ คราะห์
ขอ้ ท่ี 10 ส่วนท่ไี มน่ ิยมแยกชิน้ สว่ นในการสร้างฉากคอื ข้อใด
ก. โต๊ะ
ข. เตยี งนอน
ค. เกา้ อี้
ง. ประตู
จ. ผา้ ม่าน
เฉลย ง. ประตู
ผอู้ อกขอ้ สอบ นายบุญฤทธิ์ มหาพงษ์ ชื่อเล่น เขต เลขที่ 3

เนือ้ หา ฉาก
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นกั เรียนสามารถสังเคราะห์แนวคดิ ในการสรา้ งฉากได้
พฤติกรรมการเรยี นรู้ การสงั เคราะห์
ขอ้ ท่ี 11 ในการสร้างฉากละครควรยดึ หลกั การในข้อใดมากท่ีสดุ
ก. ใชน้ อ้ ยช้นิ ทส่ี ุด สื่อความหมายชัดเจน
ข. ใชส้ สี ดใสหลายๆ สี รวมกนั ใน 1 ฉาก
ค. มอี งค์ประกอบฉากที่หลากหลาย
ง. มขี นาดใหญ่ หรูหรา อลงั การ
จ. มขี นาดเลก็ ไมจ่ ำเป็นต้องคำนึงถงึ อย่างอ่นื
เฉลย ก. ใชน้ ้อยชิ้นทส่ี ุด สอ่ื ความหมายชดั เจน
ผ้อู อกข้อสอบ นายบุญฤทธิ์ มหาพงษ์ ชื่อเลน่ เขต เลขท่ี 3

๑๒

เน้อื หา ฉาก
จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถสังเคราะห์แนวคิดในการสรา้ งฉากได้
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การสงั เคราะห์
ข้อท่ี 12 การสร้างฉากจะต้องศึกษาเก่ียวกับภูมิศาตร์ด้วย เพราะจะทำใหส้ ามารถสร้างฉากได้อย่าง
สมจริง นักเรยี นเห็นดว้ ยหรือไม่
ก. เห็นด้วย เพราะฉากจะต้องมีความสมจริง ถูกต้องตรงตามยคุ
ข. เหน็ ด้วย เพราะฉากที่ดจี ะสามารถทำให้ผู้ชมเขา้ ใจเน้ือเรอื่ งที่แสดงได้ง่ายข้ึน
ค. ไมเ่ หน็ ดว้ ย เพราะในการแสดงสามารถนำสง่ิ อืน่ ๆ มาเสรมิ สรา้ งบรรยากาศแทนฉากได้
ง. ไม่เหน็ ดว้ ย เพราะผสู้ รา้ งฉากเปน็ ผู้ทีท่ ี่มีความรู้อยู่แลว้ สามารถวาดฉากที่สอดคลอ้ งกับเร่ืองได้ทันที
จ. ไมเ่ หน็ ด้วย เพราะผู้ชมจำเป็นต้องศึกษาเน้ือเร่ืองมาก่อน จึงทำใหร้ ับรู้ได้ โดยไม่ตอ้ งเก่ียวข้องกับภมู ิศาตร์
เฉลย ก. เห็นดว้ ย เพราะฉากจะต้องมคี วามสมจรงิ ถกู ต้องตรงตามยุค
ผอู้ อกข้อสอบ นายบุญฤทธ์ิ มหาพงษ์ ช่ือเล่น เขต เลขท่ี 3

เนื้อหา แสง สี เสยี ง
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม นกั เรยี นสามารถบอกหลักการและเทคนิคในการสรา้ งเสียงในการแสดงไดอ้ ย่าง
เหมาะสม
พฤติกรรมการเรียนรู้ ความรู้ความจำ
ขอ้ ที่ 13 หลักในการใหเ้ สยี งในการแสดงควรมีลักษณะอย่างไร
ก. ตอ้ งมีความสัมพนั ธ์กัน โดยไม่ใช้เสียงท่ไี มเ่ บาหรือดงั จนเกินไป
ข. ตอ้ งมีความสัมพนั ธ์กัน โดยใช้เสยี งอย่างไรกไ็ ด้
ค. ไม่ต้องมคี วามสัมพนั ธก์ ัน โดยใชเ้ สยี งท่คี อ่ นข้างดัง
ง. ไมต่ อ้ งมีความสมั พนั ธก์ นั โดยไม่ใชเ้ สียงที่ไม่เบาหรือดงั จนเกินไป
จ. ไมต่ ้องมคี วามสัมพันธ์กนั โดยใชเ้ สียงอย่างไรก็ได้
เฉลย ก. ตอ้ งมีความสมั พนั ธก์ นั โดยไมใ่ ช้เสยี งทไ่ี มเ่ บาหรือดังจนเกนิ ไป
ผู้ออกข้อสอบ นางสาวชญั ญานุช โคตรวิชา ชอื่ เล่น ขม้นิ เลขท่ี 11

เนอ้ื หา แสง สี เสยี ง
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถบอกหลักการและเทคนิคในการสรา้ งเสียงในการแสดงไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ความรู้ความจำ
ข้อที่ 14 ในอดีตการทำเสยี งฝนจะทำอย่างไร
ก. ใช้การผิวปาก
ข. ใช้ถ่ัวเขียวโปรยลงในถาดสังกะสี
ค. ใชไ้ ม้เคาะบนสงั กะสี
ง. บบี ถงุ พลาสติก
จ. ใชน้ ้ำราดลงไปในถาด
เฉลย ข. ใช้ถวั่ เขยี วโปรยลงในถาดสังกะสี
ผูอ้ อกขอ้ สอบ นางสาวชัญญานุช โคตรวิชา ช่ือเล่น ขม้ิน เลขที่ 11

๑๓

เนือ้ หา เครือ่ งแตง่ กาย

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม นักเรียนสามารถบอกประเภทของเครื่องแตง่ กายได้อยา่ งถกู ต้อง

พฤติกรรมการเรียนรู้ ความรู้ความจำ
ข้อที่ 15 เคร่อื งแตง่ กายทสี่ ร้างตามจนิ ตนาการคอื เครือ่ งแต่งกายประเภทใด
ก. เครื่องกายตามประเพณี
ข. เครอ่ื งแต่งกายปกติ
ค. เครื่องแต่งกายสร้างสรรค์
ง. เคร่อื งแตง่ กายประยกุ ต์
จ. ถูกทกุ ขอ้

เฉลย ค. เครอื่ งแต่งกายสร้างสรรค์

ผอู้ อกข้อสอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ช่อื เลน่ บาส เลขที่ 15

เนอ้ื หา เคร่ืองแตง่ กาย

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม นักเรียนสามารถบอกประเภทของเครื่องแต่งกายได้อยา่ งถูกต้อง

พฤติกรรมการเรียนรู้ ความรู้ความจำ

ข้อที่ 16 เครือ่ งแต่งกายที่ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตจดั เปน็ เครอ่ื งแตง่ กายประเภทใด
ก. เครือ่ งแต่งกายประยุกต์
ข. เครือ่ งแต่งกายตามประเพณี
ค. เคร่ืองแต่งกายสร้างสรรค์
ง. เครือ่ งแตง่ กายตามปกติ
จ. ถูกทกุ ข้อ

เฉลย ง. เครื่องแต่งกายตามปกติ

ผอู้ อกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชื่อเล่น บาส เลขท่ี 15

เนอื้ หา เครือ่ งแตง่ กาย

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นักเรียนสามารถบอกประเภทของเครอ่ื งแตง่ กายได้อย่างถกู ต้อง

พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ความรคู้ วามจำ

ข้อที่ 17 เคร่อื งแตง่ กายทเ่ี ลยี นแบบเครอื่ งแตง่ กายปกติจดั เป็นเครือ่ งกายประเภทใด

ก. เครือ่ งแตง่ กายประยกุ ต์

ข. เครือ่ งแต่งกายตามประเพณี

ค. เคร่อื งแต่งกายสรา้ งสรรค์

ง. เครื่องแตง่ กายตามปกติ

จ. ถกู ทุกข้อ

เฉลย ก. เคร่ืองแตง่ กายประยกุ ต์

ผอู้ อกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชื่อเล่น บาส เลขท่ี 15

๑๔

เนอ้ื หา เครือ่ งแต่งกาย
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นกั เรยี นสามารถบอกประเภทของเคร่ืองแตง่ กายได้อย่างถกู ต้อง
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ความรู้ความจำ
ข้อที่ 18 เครือ่ งแต่งกายท่ีมีรปู แบบตายตัวจดั เปน็ เครือ่ งแต่งกายประเภทใด
ก. เคร่อื งแตง่ กายประยุกต์
ข. เครอ่ื งแต่งกายตามประเพณี
ค. เครือ่ งแตง่ กายสรา้ งสรรค์
ง. เคร่อื งแตง่ กายตามปกติ
จ. ถกู ทกุ ข้อ
เฉลย ข. เครื่องแตง่ กายตามประเพณี
ผู้ออกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชื่อเล่น บาส เลขที่ 15

เนื้อหา อุปกรณ์
จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถบอกประเภทของอุปกรณ์ได้อยา่ งถูกต้อง
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ความรู้ความจำ
ขอ้ ท่ี 19 ก่ิงไม้ ใบไม้ จัดเป็นอุปกรณ์ประเภทใด
ก. เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้
ข. เบด็ เตลด็
ค. อาวธุ
ง. พกฤษชาติ
จ. เคร่อื งดนตรี
เฉลย ง. พกฤษชาติ
ผอู้ อกข้อสอบ นางสาวชัญญานุช โคตรวิชา ชื่อเล่น ขม้ิน เลขท่ี 11

เนื้อหา อปุ กรณ์
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นกั เรียนสามารถดดั แปลงวสั ดสุ ำหรบั ใช้ในสรา้ งอุปกรณ์การแสดงได้อย่าง
เหมาะสม
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การสังเคราะห์
ข้อท่ี 20 อปุ กรณใ์ นขอ้ ใดสมควรที่จะเลอื กใช้เปน็ วัสดเุ ทยี ม เพอ่ื สะดวกและปลอดภัยสำหรบั การแสดง
ก. ดอกไม้
ข. ร่ม
ค. สวงิ
ง. พัด
จ. ดาบ
เฉลย จ. ดาบ
ผูอ้ อกข้อสอบ นางสาวชญั ญานุช โคตรวชิ า ชือ่ เล่น ขมิ้น เลขท่ี 11

๑๕

ตารางวิเคราะห์ค่าความตรงเชงิ เน้ือหา เร่อื ง เทคนคิ การจัดการแสดง ชน้ั ม.4

จากที่ผทู้ รงคุณวฒุ ิไดต้ รวจสอบความสอดคล้องระหวา่ งข้อคำถามกบั เน้ือหา/จุดประสงค์ (item
objective congruence : IOC) โดยใช้สตู ร ดังนี้

IOC = ∑



เมือ่ IOC คือ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับเน้ือหา/จุดประสงค์

∑ คอื ผลรวมของคะแนนผลการตัดสนิ ข้อคำถามของผ้ทู รงคุณวุฒิ
N คือ จำนวนผทู้ รงคณุ วุฒิ
โดยมีเกณฑ์การตดั สนิ ความสอดคล้องของข้อคำถามกับเน้ือหา/จุดประสงค์ ดงั นี้
ถา้ IOC >= 0.50 ถอื ว่าขอ้ คำถามน้ันวดั ได้สอดคล้องกบั เนื้อหา จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
และระดับพฤตกิ รรมทีต่ ้องการวัด
ถา้ IOC < 0.50 ถอื ว่าขอ้ คำถามน้นั วดั ได้ไมส่ อดคล้องกบั เนื้อหา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
และระดบั พฤติกรรมทีต่ ้องการวัด

สามารถสรุปผลคา่ ความตรงเชงิ เนือ้ หาไดด้ ังตาราง

จุดประสงคเ์ ชิง คะแนนความคดิ เหน็ ของ สรุปผล
พฤติกรรม ขอ้ ผเู้ ชยี่ วชาญ รวม ค่า IOC

คนที่ 1 คนที่ 2 คนท่ี 3

นักเรียนสามารถบอก ไมส่ อดคลอ้ งกับเนื้อหา จุดประสงค์

ประเภทของฉากได้ 1 -1 1 1 1 0.33 เชิงพฤติกรรมและระดับพฤติกรรมที่

ตอ้ งการวดั

ไม่สอดคล้องกับเน้ือหา จดุ ประสงค์

2 1 0 0 1 0.33 เชิงพฤติกรรมและระดับพฤติกรรมท่ี

ต้องการวดั

นักเรียนสามารถ 3 0 1 1 ครอบคลุม สอดคล้องกบั เน้ือหา
อธิบายความสำคัญ 2 0.66 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและระดบั
ของการออกแบบ
ฉากไดอ้ ย่างถกู ต้อง พฤติกรรมทีต่ ้องการวัด

นักเรียนสามารถ ครอบคลุม สอดคล้องกับเนอ้ื หา

อธิบายหน้าที่ของ 4 1 1 1 3 1 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมและระดบั

ฉากได้อย่างถูกตอ้ ง พฤติกรรมทต่ี ้องการวัด

นักเรียนสามารถ 5 0 1 0 ไมส่ อดคลอ้ งกับเนื้อหา จุดประสงค์
สร้างแนวทางเลือก 1 0.33 เชงิ พฤติกรรมและระดับพฤติกรรมที่
ใหม่ในการออก แบบ
ฉากได้ ตอ้ งการวัด

๑๖

นักเรียนสามารถ 6 1 1 1 3 ครอบคลุม สอดคล้องกบั เนอื้ หา
วิเคราะห์หลักการใช้ 1 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมและระดบั
สีในการออก แบบ
ฉากได้ พฤติกรรมทต่ี ้องการวดั

ครอบคลุม สอดคล้องกบั เน้ือหา

7 0 1 1 2 0.66 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและระดับ

พฤติกรรมที่ต้องการวัด

นักเรียนสามารถ 8 0 1 0 ไมส่ อดคลอ้ งกับเน้ือหา จุดประสงค์
จำแนกประเภท 1 0.33 เชิงพฤติกรรมและระดบั พฤติกรรมท่ี
รูปแบบฉากกับการ
แสดงไดอ้ ย่างถูกต้อง ตอ้ งการวดั

นักเรียนสามารถ 9 0 1 1 ครอบคลุม สอดคล้องกบั เนือ้ หา
วิเคราะห์หลักการ 2 0.66 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมและระดับ
ออกแบบฉากได้อย่าง
ถูกตอ้ ง พฤติกรรมที่ต้องการวดั

ครอบคลุม สอดคล้องกบั เน้อื หา

10 0 1 1 2 0.66 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมและระดบั

พฤติกรรมที่ต้องการวัด

นักเรียนสามารถ ไม่สอดคลอ้ งกบั เนื้อหา จุดประสงค์

สังเคราะห์แนวคิดใน 11 -1 1 1 1 0.33 เชงิ พฤติกรรมและระดบั พฤติกรรมที่

การสรา้ งฉากได้ ตอ้ งการวดั

ไม่สอดคลอ้ งกับเน้ือหา จดุ ประสงค์

12 -1 1 1 1 0.33 เชงิ พฤติกรรมและระดับพฤติกรรมที่

ตอ้ งการวัด

นักเรียนสามารถบอก

หลักการและเทคนิค ครอบคลุม สอดคล้องกบั เนือ้ หา

ในการสร้างเสียงใน 13 1 1 1 3 1 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมและระดบั

การแสดงได้อย่าง พฤติกรรมทีต่ ้องการวัด

เหมาะสม

ครอบคลุม สอดคล้องกับเนอื้ หา

14 1 1 1 3 1 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมและระดบั

พฤติกรรมท่ตี ้องการวดั

นักเรียนสามารถบอก ครอบคลุม สอดคล้องกับเนอ้ื หา
1 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมและระดบั
ประเภทของเครื่อง 15 1 1 1 3
แต่งกายได้อย่าง พฤติกรรมที่ต้องการวดั

ถกู ต้อง

๑๗

ครอบคลุม สอดคล้องกบั เน้อื หา

16 1 1 1 3 1 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและระดบั

พฤติกรรมทต่ี ้องการวัด

ครอบคลุม สอดคล้องกับเนอื้ หา

17 1 1 1 3 1 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมและระดับ

พฤติกรรมทต่ี ้องการวดั

ครอบคลุม สอดคล้องกบั เนอ้ื หา

18 1 1 1 3 1 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมและระดับ

พฤติกรรมที่ต้องการวดั

นักเรียนสามารถบอก ครอบคลุม สอดคล้องกับเนอื้ หา

ประเภทของได้อย่าง 19 1 1 1 3 1 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมและระดบั

ถกู ตอ้ ง พฤติกรรมทีต่ ้องการวัด

นักเรียนสามารถ

ดัดแปลงวัสดุสำหรับ ไมส่ อดคล้องกับเน้ือหา จุดประสงค์

ใช้ในสร้างอุปกรณ์ 20 -1 1 1 1 0.33 เชงิ พฤติกรรมและระดับพฤติกรรมที่

การแสดงได้อย่าง ต้องการวัด

เหมาะสม

๑๘

การสรา้ งข้อสอบ (ฉบับปรับปรงุ )

เน้ือหา ฉาก
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม นักเรียนสามารถอธิบายความสำคญั ของการออกแบบฉากได้อยา่ งถูกต้อง
พฤติกรรมการเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ
ขอ้ ที่ 1 การออกแบบฉากมีความสำคัญอย่างไร
ก. เพือ่ ให้ตัวละครมีความเหมาะสมกับเนื้อเร่ือง
ข. เพ่ือช่วยใหบ้ ทบาทของตัวละครมีความชัดเจน
ค. เพื่อช่วยให้ไม่เป็นอปุ สรรคตอ่ การแสดง
ง. เพอ่ื ใหฉ้ ากมีความเหมาะสมกับเนื้อเรอื่ งทีน่ ำมาแสดง
จ. เพอ่ื ชว่ ยให้ผูช้ มมีอารมณ์คล้อยตามไปกบั การแสดง
เฉลย จ. เพ่ือช่วยใหผ้ ้ชู มมีอารมณค์ ล้อยตามไปกบั การแสดง
ผ้อู อกข้อสอบ นายธีรภัทร โสธานติ ย์ ชือ่ เลน่ เก่ง เลขที่ 16

เน้อื หา ฉาก
จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม นักเรียนสามารถอธิบายหนา้ ท่ีของฉากได้อยา่ งถูกต้อง
พฤติกรรมการเรยี นรู้ ความเข้าใจ
ข้อที่ 2 ข้อใดไม่จดั เปน็ หนา้ ท่ขี องฉาก
ก. บอกสถานท่ี
ข. บอกยคุ สมัย
ค. เสริมสรา้ งบรรยากาศ
ง. บอกท่มี าของตัวละคร
จ. สนับสนนุ การแสดงให้น่าชม
เฉลย ง. บอกท่ีมาของตัวละคร
ผูอ้ อกข้อสอบ นายธีรภัทร โสธานิตย์ ชื่อเลน่ เกง่ เลขท่ี 16

เน้ือหา ฉาก
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรียนสามารถวิเคราะห์หลกั การใชส้ ีในการออกแบบฉากได้
พฤติกรรมการเรียนรู้ การวิเคราะห์
ข้อท่ี 3 เพราะเหตใุ ดในการออกแบบฉากละครจงึ ไมน่ ิยมใช้สีอ่อนและสเี ข้มจดั มาระบาย
ก. จะเกดิ แสงสะท้อนมายังตัวละคร
ข. มคี วามกลมกลนื กบั สเี คร่ืองแต่งกาย
ค. เกิดการดูดกลนื ไปกบั สอี ่อน เมอ่ื สีโดนแสง
ง. ไมส่ ามารถใช้กล้องทำงานกับสอี ่อนได้
จ. สอี ่อนจะมีความเดน่ ชดั กว่าสเี ข้ม
เฉลย ค. เกดิ การดูดกลืนไปกับสีออ่ น เมื่อสโี ดนแสง
ผูอ้ อกขอ้ สอบ นางสาววริษฐา กกแก้ว ชอื่ เลน่ ววิ เลขท่ี 17

๑๙

เนือ้ หา ฉาก
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถวิเคราะห์หลกั การใชส้ ีในการออกแบบฉากได้
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การวเิ คราะห์
ข้อท่ี 4 ในฉากท่ตี ัวละครต้องแสดงอารมณ์ที่รา่ เริง แจม่ ใส ฉากควรใชส้ ีใด
ก. สีส้ม
ข. สฟี ้า
ค. สมี ่วง
ง. สีเหลือง
จ. สีเขยี ว
เฉลย ง. สเี หลอื ง
ผู้ออกขอ้ สอบ นางสาววรษิ ฐา กกแกว้ ชื่อเล่น วิว เลขท่ี 17

เนอื้ หา ฉาก
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์หลกั การออกแบบฉากได้อยา่ งถกู ต้อง
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การวเิ คราะห์
ข้อท่ี 5 ส่งิ ใดสามารถสื่อถงึ บรรยากาศในท้องเร่อื งไดช้ ดั เจนท่สี ดุ
ก. การสร้างฉาก
ข. เคร่ืองแตง่ กายของตัวละคร
ค. การใช้เสยี งบนเวที
ง. อุปกรณ์ประกอบการแสดง
จ. การใช้แสงไฟ
เฉลย ก. การสรา้ งฉาก
ผอู้ อกขอ้ สอบ นายบุญฤทธิ์ มหาพงษ์ ชอื่ เลน่ เขต เลขท่ี 3

เนอ้ื หา ฉาก
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถวิเคราะห์หลกั การออกแบบฉากได้อย่างถูกต้อง
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การวิเคราะห์
ขอ้ ที่ 6 ส่วนท่ีไมน่ ิยมแยกชิ้นสว่ นในการสร้างฉากคือข้อใด
ก. โต๊ะ
ข. เตยี งนอน
ค. เก้าอ้ี
ง. ประตู
จ. ผา้ ม่าน
เฉลย ง. ประตู
ผู้ออกข้อสอบ นายบญุ ฤทธิ์ มหาพงษ์ ชื่อเล่น เขต เลขท่ี 3

๒๐

เนือ้ หา แสง สี เสียง

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม นักเรียนสามารถบอกหลักการและเทคนิคในการสร้างเสยี งในการแสดงไดอ้ ย่าง
เหมาะสม

พฤติกรรมการเรยี นรู้ ความรู้ความจำ

ขอ้ ที่ 7 หลักในการใหเ้ สียงในการแสดงควรมีลักษณะอยา่ งไร
ก. ตอ้ งมีความสมั พันธก์ นั โดยไมใ่ ชเ้ สยี งที่ไม่เบาหรอื ดงั จนเกนิ ไป
ข. ต้องมคี วามสัมพนั ธก์ นั โดยใช้เสยี งอย่างไรกไ็ ด้
ค. ไมต่ อ้ งมคี วามสมั พันธก์ ัน โดยใช้เสยี งทีค่ ่อนขา้ งดงั
ง. ไมต่ อ้ งมคี วามสัมพนั ธ์กนั โดยไม่ใช้เสียงที่ไมเ่ บาหรอื ดงั จนเกินไป
จ. ไมต่ อ้ งมคี วามสัมพนั ธ์กนั โดยใชเ้ สียงอยา่ งไรกไ็ ด้

เฉลย ก. ต้องมีความสมั พนั ธ์กนั โดยไม่ใชเ้ สยี งทีไ่ ม่เบาหรอื ดังจนเกินไป

ผู้ออกขอ้ สอบ นางสาวชัญญานุช โคตรวชิ า ช่อื เล่น ขม้นิ เลขท่ี 11

เน้อื หา แสง สี เสียง

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรียนสามารถบอกหลักการและเทคนิคในการสร้างเสยี งในการแสดงได้อยา่ ง
เหมาะสม

พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ความรู้ความจำ

ขอ้ ท่ี 8 ในอดีตการทำเสยี งฝนจะทำอย่างไร
ก. ใช้การผวิ ปาก
ข. ใชถ้ ว่ั เขียวโปรยลงในถาดสังกะสี
ค. ใช้ไมเ้ คาะบนสังกะสี
ง. บีบถุงพลาสตกิ
จ. ใช้นำ้ ราดลงไปในถาด

เฉลย ข. ใชถ้ ว่ั เขียวโปรยลงในถาดสงั กะสี

ผู้ออกขอ้ สอบ นางสาวชัญญานชุ โคตรวิชา ช่ือเล่น ขม้ิน เลขท่ี 11

เน้อื หา เครือ่ งแตง่ กาย

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถบอกประเภทของเคร่ืองแตง่ กายได้อยา่ งถูกต้อง

พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ความรูค้ วามจำ

ข้อที่ 9 เครอื่ งแต่งกายท่ีสร้างตามจนิ ตนาการคอื เครอื่ งแตง่ กายประเภทใด

ก. เคร่อื งกายตามประเพณี

ข. เคร่ืองแต่งกายปกติ

ค. เคร่ืองแต่งกายสรา้ งสรรค์

ง. เครอ่ื งแต่งกายประยุกต์

จ. ถกู ทุกข้อ

เฉลย ค. เคร่ืองแต่งกายสรา้ งสรรค์

ผู้ออกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชอื่ เลน่ บาส เลขท่ี 15

๒๑

เนือ้ หา เครอ่ื งแต่งกาย

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถบอกประเภทของเครื่องแต่งกายได้อยา่ งถูกต้อง

พฤติกรรมการเรยี นรู้ ความรู้ความจำ
ขอ้ ท่ี 10 เคร่อื งแต่งกายที่ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตจดั เปน็ เครอื่ งแตง่ กายประเภทใด
ก. เครื่องแต่งกายประยกุ ต์
ข. เคร่ืองแต่งกายตามประเพณี
ค. เครอ่ื งแต่งกายสร้างสรรค์
ง. เครอ่ื งแต่งกายตามปกติ
จ. ถูกทุกข้อ

เฉลย ง. เคร่อื งแต่งกายตามปกติ

ผอู้ อกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชื่อเล่น บาส เลขที่ 15

เนอ้ื หา เครอื่ งแต่งกาย

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถบอกประเภทของเครอ่ื งแต่งกายได้อยา่ งถกู ต้อง

พฤติกรรมการเรยี นรู้ ความร้คู วามจำ

ข้อท่ี 11 เครื่องแตง่ กายที่เลียนแบบเคร่อื งแตง่ กายปกตจิ ดั เป็นเครือ่ งกายประเภทใด
ก. เครื่องแตง่ กายประยุกต์
ข. เครื่องแตง่ กายตามประเพณี
ค. เครือ่ งแตง่ กายสร้างสรรค์
ง. เครอ่ื งแตง่ กายตามปกติ
จ. ถกู ทุกข้อ

เฉลย ก. เครือ่ งแต่งกายประยกุ ต์
ผู้ออกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชื่อเล่น บาส เลขท่ี 15

เน้ือหา เครื่องแต่งกาย

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักเรยี นสามารถบอกประเภทของเครื่องแต่งกายได้อยา่ งถกู ต้อง

พฤติกรรมการเรยี นรู้ ความร้คู วามจำ

ข้อที่ 12 เครือ่ งแตง่ กายทมี่ ีรปู แบบตายตัวจัดเป็นเคร่อื งแตง่ กายประเภทใด

ก. เครอ่ื งแตง่ กายประยกุ ต์

ข. เครอื่ งแต่งกายตามประเพณี

ค. เครอ่ื งแต่งกายสรา้ งสรรค์

ง. เคร่อื งแตง่ กายตามปกติ

จ. ถกู ทกุ ข้อ

เฉลย ข. เครอื่ งแตง่ กายตามประเพณี

ผอู้ อกขอ้ สอบ นายธนพลธ์ ใหยะปะ ชือ่ เล่น บาส เลขที่ 15

๒๒

เนอื้ หา อปุ กรณ์

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม นักเรียนสามารถบอกประเภทของอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง

พฤติกรรมการเรียนรู้ ความรู้ความจำ
ขอ้ ท่ี 13 กิ่งไม้ ใบไม้ จดั เป็นอปุ กรณป์ ระเภทใด
ก. เครื่องมือ เคร่ืองใช้
ข. เบด็ เตลด็
ค. อาวธุ
ง. พกฤษชาติ
จ. เคร่อื งดนตรี

เฉลย ง. พกฤษชาติ

ผู้ออกข้อสอบ นางสาวชัญญานุช โคตรวิชา ชื่อเล่น ขมิ้น เลขท่ี 11

๒๓

รายการอ้างองิ

คณะครศุ าสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา. (2563). การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
(Learning Measurement and Evaluation). กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พ์หจก.วรานนท์เอ็นเตอร์ไพรส์

ธิดารัตน์ ภกั ดรี กั ษ.์ (2557). หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน 4-6 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4-6. นนทบรุ ี:
สำนักพิมพเ์ อมพนั ธ.์

เวบ็ ไซต์
https://www.office.com/launch/forms

๒๔

ภาคผนวก

๒๕

แบบตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หารายข้อ

ผลวเิ คราะหค์ า่ ความตรงเชิงเนือ้ หาผูท้ รงคุณวุฒิทา่ นท่ี 1 : อาจารย์ ดร. สิรกิ ร โตสติ

๒๖

- ผลวเิ คราะห์คา่ ความตรงเชิงเนอ้ื หาผทู้ รงคณุ วฒุ ิท่านท่ี 2 : นายสมุ ิตร วรรณกจิ

๒๗

- ผลวเิ คราะห์คา่ ความตรงเชิงเน้ือหาผ้ทู รงคณุ วฒุ ิท่านท่ี 3 : นางสาวนจุ รี รกั พวก

๒๘

แบบทดสอบผ่าน Microsoft Forms

QR CODE


Click to View FlipBook Version