The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 5 การเขียนภาพสามมิติ.ppt

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายจำรอง พรมพาน, 2021-09-14 06:09:13

หน่วยที่ 5 การเขียนภาพสามมิติ.ppt

หน่วยที่ 5 การเขียนภาพสามมิติ.ppt

ภาพสามมติ ิ หมายถึง ภาพทแ่ี สดงใหเ ห็นมิตขิ องภาพไดถ งึ 3 ดาน
ดว ยกนั ในภาพเดียว คือ ขนาดความกวาง ความยาว และความลึกของ
ชิ้นงาน

ลักษณะของภาพ
สามมิติ

ภาพทศั นยี ภาพ (Perspective) เปนภาพสามมติ ิชนิดหนึ่งมีลกั ษณะ

คลา ยของจริง เหมือนกบั การมองดว ยสายตาของคนเราและกลอ ง

ถา ยรปู 5แ.บ2.ง1อแอบกบเปจน ดุ ร3วชมนสาิดยไตดาแก

แบบแจบุดบรว1มจสุดายตาแบบ 1 จดุ เปนภาพที่มองเหน็ ดา นหนา ตั้งฉาก

และจะเหน็ ดานอื่นเอียงลกึ ลงไปรวมกัน 1 จดุ ดังรปู

ลกั ษณะภาพทัศนยี ภาพ แบบจุดรวมสายตา 1
จุด

5.2.2 แบบจดุ รวม
สายตา 2 จดุ
แบบจุดรวมสายตา 2 จดุ เปนภาพท่ีมลี ักษณะแกนหลังตัง้ ฉาก สว น
แกนภาพดานอื่นจะเอยี งลกึ ลงไปรวมสายตาอยู 1 จุด ทางดานซา ยและ
ดานขวา ดงั รปู

ลกั ษณะภาพทศั นยี ภาพ แบบจดุ รวมสายตา
2 จุด

5.2.3 แบบจดุ รวม
แบสบาจยดุ ตราว3มสจาุดยตา 3 จุด เปน ภาพท่ีมลี กั ษณะแกนสามแกน แตล ะ
แกนจะเอียงลกึ ลงไปรวมสายตาอยูท ่ีจดุ รวม 3 จดุ ดงั รปู

ลักษณะภาพทศั นยี ภาพ แบบจุดรวมสายตา
3 จดุ

ภาพแอกโซโนเมตริก หมายถงึ ภาพสามมติ ิทม่ี องเหน็ 3 ดานพรอ ม
กนั คอื ดานหนา ดา นขา ง และดา นบน มีแกน 3 แกน ประกอบกันไดแ ก
แกนในแนวดง่ิ และแกนในแนวขนานนอนที่มีขนาดมุมแตกตางกนั ไป
ขึ้นอยกู บั ชนดิ ของภาพนั้น ๆ ซึ่งแบง ออกเปน 3 ชนิด คอื

1. ภาพไอโซเมตรกิ (Isometric)
2. ภาพไดเมตรกิ (Diametric)
3. ภาพไตรเมตรกิ (Trimetric)

(ก) ภาพไอโซเมตรกิ (ข) ภาพไดเมตรกิ (ค) ภาพไตร
เมตรกิ

การเขยี นภาพไอโซเมตริก (Isometric Drawing) แบงออกได
5.3ด.ัง1นกี้ ารเขียนภาพไอโซเมตริกทรงเหลย่ี ม (Isometric Prism
Drawing)

ลกั ษณะของมมุ ภาพไอ
โซเมตริก

1. ขอดแี ละขอ เสียของภาพ
ไอโซเมตริก
ภาพไอโซเมตรกิ เปนภาพทีใ่ ชในการเขียนแบบมากทส่ี ุดกจ็ รงิ แตกม็ ที ้งั
ขอ ดีและขอเสยี ดงั น้ี
ขอดี
(1) เขยี นแบบงา ย สะดวกรวดเร็ว ทาํ ใหป ระหยดั เวลาในการเขียน
แบบ
(2) ใชอปุ กรณน อ ยชนิ้ ในการเขียนแบบเพราะมมี ุมเอียง 30 องศา
(3) มาตราสวนไมย งุ ยากซับซอนเพราะมาตราสวนในรปู คอื 1 : 1
ทําใหก ารอา นแบบงา ย
ขอเสีย
(1) แบบงานไมเ หมอื นจริงเพราะดเู หมอื นใหญกวา ชิน้ งาน
(2) ใชพ ื้นที่ในการเขยี นแบบมาก

2. องคประกอบการเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ

แกนไอโซเมตรกิ มที งั้ หมด 3 แกน ประกอบดวย
(1) แกนในแนวนอนดานซา ยมือทาํ มมุ 90 องศากับแนวระนาบ

มาตราสวน 1 : 1
(2) แกนในแนวนอนดานซายมอื ทาํ มมุ 30 องศากบั แนวระนาบ

มาตราสวน 1 : 1
(3) แกนในแนวนอนดานขวามอื ทํามุม 30 องศากับแนวระนาบ

มาตราสว น 1 : 1

3. เสนที่ใชใ นงานเขียนแบบภาพไอโซเมตริก ประกอบดว ย

(1) เสน รางแบบใชใ นการรางแบบต้ังแตเรม่ิ ตนจนเสรจ็ ส้นิ การ
เขยี นแบบงาน ซึ่งทาํ ใหง า ยตอ การแกไ ขแบบ

(2) เสนเตม็ หนา ใชใ นการเขยี นขอบเสน ของแบบงานเพือ่ ใหเ กิด
ความเดน ชัดและการนาํ ไปใชง านไดงายขึน้

(3) เสน เตม็ บาง ใชในการเขียนเสนกาํ หนดตาม เสน ชว ยกําหนด
ขนาดตัวอักษรและตัวเลข

(4) การกําหนดขนาดของมติ ิ (Dimensioning)

4. การกําหนดขนาดของภาพไอโซเมตริกทรงเหลย่ี ม มี
3 ดา น ดงั นี้

(1) ดานกวาง
(Width)
(2) ดานยาว หรอื ดานหนา หรือดานลกึ (Length of Thick or
Depth)
(3) ดานสูง
(Height)

ลกั ษณะการกําหนดขนาดของภาพ
ไอโซเมตริก

5. ข้นั ตอนการเขียนภาพไอโซเมตริกทรงเหล่ยี ม

ลกั ษณะการเขยี นภาพไอโซ
เมตริกทรงเหลย่ี ม

5.3.2 การเขยี นภาพไอโซเมตริกทรงกระบอก (Isometric Cylind
Drawing)
ทรงกระบอก หมายถงึ รูปทีม่ ีหนาตดั ทงั้ สองเปน รปู วงกลมซงึ่ เทากนั และ
อยูในระนาบที่ขนานกัน

ลกั ษณะรปู ไอโซเมตรกิ
ทรงกระบอก

1. องคป ระกอบการเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ ทรงกระบอก มีดังน้ี
แกนไอโซเมตริก มีทัง้ หมด 3 แกน คือ
1. แกนในแนวดิง่ จะทาํ มมุ 90 องศา กับแนวระนาบมาตราสวน 1 :
1
2. แกนในแนวนอนดา นซายมือ ทํามมุ 30 องศา กบั แนวระนาบ
มาตราสวน 1 : 1
3. แกนในแนวนอนดา นขวามือ ทํามมุ 30 องศา กบั แนวระนาบ
มาตราสว น 1 : 1

ลักษณะแกนภาพไอโซเมตรกิ
ทรงกระบอก

2. การเขียนวงรไี อ
โซเมตริก
การเขยี นวงรีไอโซเมตรกิ (Isometric Ellipse) เปนภาพที่ใชแ ทน
งานท่เี ปนวงกลมของภาพไอโซเมตรกิ ทรงกระบอกขนั้ ตอนการเขียน
รูปวงรไี อโซเมตริก มีดังนี้

ลกั ษณะการเขียนวงรีไอ
โซเมตริก

เสนที่ใชในการเขียนวงรไี อโซ
เมตรกิ มีดังน้ี
(1) เสนรา งแบบ ใชใ นการรา งแบบตั้งแตเ ร่มิ ตนจนเสร็จส้ินการ
เขียนแบบ ซ่งึ ทาํ ใหง ายตอการแกไขแบบ

(2) เสน เต็มหนา ใชในการเขียนขอบสนั ของแบบงานเพอื่ ใหเ กิด
ความเดนชดั และการนาํ ไปใชงานไดง า ยขึ้น

(3) เสนเตม็ บาง ใชในการเขยี นเสน กาํ หนดขนาด เสน ชวยกําหนด
ขนาด ตัวอกั ษรและตวั เลข

(4) เสน ลูกโซบาง ใชส ําหรบั เขยี นเสน ผา นศูนยก ลาง

การกําหนดขนาด (Dimensioning) ประกอบดวย
(1) ดา นกวาง (Width) เปนการกาํ หนดขนาดเสนผานศูนยกลาง
(Diameter) หรือความโตของงานทรงกระบอกเสน กําหนดขนาดตอง
เอียงไปตามแกนของแบบงาน
(2) ดา นยาว (Length) เปนการกําหนดขนาดความยาวของรปู ทรง
กระบอกเสน กําหนดขนาดตองเอยี งไปตามแกนของแบบงาน ดงั รูป

ลักษณะการกาํ หนดขนาดไอโซเมตริกทรงกระบอก

3. ขั้นตอนการเขยี นภาพไอโซเมตรกิ ทรงกระบอก

ลกั ษณะการเขยี นภาพไอโซเมตริกทรง
กระบอกตนั

การเขียนภาพไอโซเมตริกรูปทรง
กระบอกกลวง

ลักษณะการเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ ทรง
กระบอกกลวง

ภาพออบลกิ (Oblique Prism) หมายถึง ภาพทม่ี องเห็น 3 ดาน
พรอ มกนั ในรูปเดยี วกนั คือ ดานกวา ง ดา นยาวหรอื ดา นหนาหรอื ดาน
ลึก แ5ล.4ะ.ด1า กนาสรูงเขทียี่มนลี แกั บษบณภะาเพปอน อรบูปลทกิ รทงเรหงลเหย่ี ลม่ยี ม ทใี่ ชใ นการเขยี นแบบมี

2 ชนิด1.ดแังบนบี้ คาวาเลียร
(Cavalier)
2. แบบคาบเิ นต
(Cabinet)

(ก) แบบคาวาเลียร (ข)
แบบคาบเิ นต

การใชง านนิยมใชใ นงานสเกตซภ าพมาก เพราะกระทําไดง า ย
สะดวก รวดเรว็ สว นงานเขียนแบบใชก นั มากในงานเครื่องกล งานชน้ิ
สว นเครอ่ื งกล เน่ืองจากไมต อ งสรา งวงรี โดยนําดา นทีก่ ลมอยูดา นทม่ี ี
มมุ 0 องศา หรือดานหนา หรือดา นแนวระนาบ จะเขียนแบบเปน วงกลม
ทันที

ขอดี
1. การเขยี นแบบทีง่ า ยรวดเร็ว เพราะมมี มุ 45 องศา ดา นเดียว
เทาน้นั
2. ประหยดั เวลาและเน้อื ทใ่ี นการเขยี น

ขอเสีย
รูปรางไมเหมอื นของจรงิ ทาํ ใหด ูแบบเขาใจยาก

องคประกอบการเขยี นแบบ
แกนออบลิก มที ัง้ หมด 3 แกน ดังนี้
1. แกนในแนวด่งิ ซ่ึงทาํ มมุ 90 องศา กับแนวระนาบ มาตราสวน 1 :

1
2. แกนในแนวนอนทํามุม 0 องศา กับแนวระนาบ มาตราสว น 1 : 1
3. แกนในแนวนอนดา นท่เี อยี งทาํ มมุ 45 องศา กับแนวระนาบ

มาตราสว น 1 : 1 และ 1 : 2 ดงั รูป

ลักษณะแกนภาพออบลิกแบบคาวาเลยี รแ ละแบบ
คาบิเนต

ขัน้ ตอนการเขียนแบบภาพออบลิกทรงเหลย่ี มแบบคาบิเนต
มีดงั นี้

ลักษณะการเขียนแบบภาพออบลกิ ทรงเหล่ียมแบบคา
บิเนต

5.4.2 การเขียนแบบภาพออบลิกรูปทรงกระบอก
ภาพออบลิกรปู ทรงกระบอก (Oblique Cylinder) หมายถึง ภาพที่
มองเห็น 3 ดานพรอมกนั ในรูปเดียวกนั คอื ดา นกวา ง ดานยาวหรือดาน
หนาหรือดา นลึก และดา นสูง ท่ีมีลกั ษณะเปน รปู ทรงกระบอก นยิ มใช
แบบคาบเิ นตมาก

ลักษณะภาพออบลิกทรง
กระบอก

องคประกอบการ
เขียนแบบ
1. แกนออบลิก ใหน าํ หลกั การของแกนภาพออบลิกทรงเหล่ยี มมา
ใชงานไดเลย เพราะมีลกั ษณะเดยี วกนั
2. การเขยี นวงรีออบลิก (Oblique Ellipse) เปน ภาพทใ่ี ชแ ทนงานท่ี
เปน วงกลมของภาพออบลิกทรงกระบอก

ลกั ษณะการเขียนวงรี
ออบลกิ

สรุปสาระ
สาํ คญั

ภาพสามมิติ หมายถึง ภาพท่แี สดงใหเหน็ มิติของภาพไดถงึ สามดาน
ดว ยกนั ในภาพเดยี ว คอื ขนาดความกวาง ความยาว และความลกึ ของ
ช้ินงาน มลี ักษณะใกลเคียงกับชิ้นงานจรงิ ในทางปฏิบตั ไิ มน ิยมนาํ ภาพ
สามมติ ิเปนแบบทาํ งาน จะใชแ บบของภาพฉายในการปฏบิ ัตงิ าน

ประเภทของภาพสามมิติ แบงออกเปน 3 ประเภท ดงั น้ี
1. ภาพทศั นยี ภาพ
2. ภาพแอกโซโนเมตรกิ
3. ภาพออบลิก

ภาพออบลกิ ทรงเหลี่ยม ท่ีใชในการเขยี นแบบ มี 2 ชนดิ ดงั น้ี
1. แบบคาวาเลยี ร
2. แบบคาบเิ นต


Click to View FlipBook Version