The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by weeraya.pa, 2021-03-15 05:35:06

EBOOK 1

EBOOK 1



รายงานฉบบั E-Book
การวิเคราะหแ์ ละออกแบบเชิงวตั ถุ

จดั ทาโดย
นางสาว วีรยา ปาระณะ
ปวส.1/2 63309010045

เสนอ
อาจารยส์ รายทุ ธ มาลา

วิทยาลยั เทคนิคตรงั สานักงานคณะกรรมการอาชีวภาคใต้ 2
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564



คานา

รายงานฉบบั น้ีจดั ทาข้นึ เพ่อื เป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าการวเิ คราะห์และออกแบบเชงิ วตั ถุ
รหสั วชิ า 30901-2002 ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั้ สูงชนั้ ปีท่ี 1 แผนกวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่อื
ศกึ ษาหาความรใู้ นเรอ่ื งการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบเชงิ วตั ถุ

ความหมายของคอมพวิ เตอร์, ลกั ษณะเด่นของคอมพวิ เตอร,์ คุณสมบตั ิของคอมพวิ เตอร,์ ประเภท
ของคอมพวิ เตอร,์ ความหมายของซอฟตแ์ วร,์ ประเภทของซอฟตแ์ วร์

ขอขอบคณุ อาจารยส์ รายทุ ธ มาลา อาจารยป์ ระจารายวชิ าทไ่ี ดแ้ นะนาแนวทางในการจดั รายงาน
ฉบบั น้เี ป็นอยา่ งดี ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ รายงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ เป็นอยา่ งสงู
หากรายงานเล่มน้ผี ดิ พลาดประการใดขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ้ีดว้ ย

วรี ยา ปาระณะ
ผจู้ ดั ทา

สารบญั ข

เร่อื ง หน้า
หน่วยท่ี 1 Object-Oriented Programming 1
หน่วยท่ี 2 การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 4
หน่วยท่ี 3 System Development Life Cycle 8
หน่วยท่ี 4 Unified Modeling Language 14
หน่วยท่ี 5 Unified Modeling Language II 17
หน่วยท่ี 6 การใชภ้ าษา UML 22
หน่วยท่ี 7 Use Case Diagram 26
หน่วยท่ี 8 Class Diagram 29
หน่วยท่ี 9 Interaction Diagram 32
หน่วยท่ี 10 State Diagram 34
หน่วยท่ี 11 Activity Diagram 36
หน่วยท่ี 12 Component Diagram 39
หน่วยท่ี 13 Deployment Diagram 41
หน่วยท่ี 14 โครงงานการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบเชงิ วตั ถุ 43
หน่วยท่ี 15 โครงงานการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบเชงิ วตั ถุ 2 45
หน่วยท่ี 16 โครงงานการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบเชงิ วตั ถุ 3 48

1

บทที่ 1

2

บทที่ 1

แบบทดสอบบทท่ี 1
1. เทคนิคการเขียนโปรแกรมมีก่ีประเภท
-4

2. ภาษา้ขอใดคือภาษาแบบโครงส้ราง
- Java

3. ภาษา้ขอใดคือภาษาแบบเชิงวัตถุของบริษัทไมโครซอฟ้ต
- C++

4.้ขอใด ้ไม้ใช เทคนิคหรือ้เปนคุณสมบัติที่มีอ้ยูใน O-O Programming

- ประสิทธิภาพ (Efficiency)

5. ความสามารถในการเพ่ิมหรือขยายโปรแกรม(Extendibility) ้เปนคุณสมบัติขอ้งขอใด
- การเขียนโปรแกรมแบบโมดูล

6. เหตผุ ล้ขอใดท่ีโครงส้รางตามแนวคิด O-O programming ดีก้วาแบบ procedural programming
- แบบ procedural programming มีการประกาศ้ขอมูลแบบ Private

7.้ขอใดคือความแตก้ตางระห้วางการเขียนโปรแกรม้ยอยและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
- การประกาศ DATA

8. วธิ ีการเขียนโปรแกรม สามารถแ้บงออก้ได้เปนก่ีแนวคิดหรือก่ีวิธีการในการพัฒนาโปรแกรม ้ไดแ้ก้ขอใด
- วิธีการทาง Procedural Programming และ วิธีการทาง O-O Programming

9. แนวคิดแบบ O-O Programming้ขอมูลจะ้ไดรับการประกาศ้ใชเฉพาะภายใน้ขอใด้เทานั้น
- ภายใน Object

10.้ขอใด ้ไม้ใช เทคนิคการเขียนโปรแกรม
- การเขียนโปรแกรมแบบ UML

3

ใบงานที่ 1 เทคนิคการเขียนโปรแกรม

ตวั อยา่ งโปรแกรม VB.NET

โคด้

Module ObjectExample
Sub Main()
Dim name As Object = "Weeraya"
Dim year As Object = 2001
Dim age As Object = 2020 - CType(year, Integer)
Console.WriteLine("Her name is {0}", name)
Console.WriteLine("She was born in {0}", year)
Console.WriteLine("She is {0} year old", age)
End Sub
End Module

4

บทที่ 2

5

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 2

1. จงอธิบายความหมายระบบ
ระบบ (System) เป็นกลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ทท่ี างานร่วมกนั เพ่อื จุดประสงคใ์ นสงิ่ เดยี วกนั

ระบบอาจประกอบดว้ ยบุคลากร เครอ่ื งมอื วสั ดุ วธิ กี าร การจดั การ ซง่ึ ทงั้ หมดน้ีจะตอ้ งมรี ะบบในการจดั การ
เพ่อื ใหบ้ รรลุจุดประสงคเ์ ดยี วกนั คาว่า "ระบบ" เป็นคาทม่ี กี ารเก่ยี วขอ้ งกบั การทางานและหน่วยงานและ
นิยมใช้กนั มาก เช่น ระบบธุรกจิ (Business System) ระบบสารสนเทศ (Management Information
System) ระบบการเรยี นการสอน (Instructional System) ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (Computer Network
System) เป็นตน้

2. จงบอกองคป์ ระกอบระบบของการเรียนการสอน
1. บุคลากร ไดแ้ ก่ เจา้ หน้าท่ี ครู และนกั เรยี น
2. เครอ่ื งมอื ไดแ้ ก่ ชอลก์ กระดานดา
3. พสั ดไุ ดแ้ ก่โต๊ะ เกา้ อ้ี
4. วธิ กี าร ไดแ้ ก่ เขยี นบนกระดานดา
5. การจดกั ารไดแ้ ก่ โรงเรยี นจดั ตารางเรยี น เกบ็ เงนิ ค่าเลา่ เรยี น จา่ ยคา่ สอนใหแ้ ก่ครเู ป็นตน้

3. จงบอกองคป์ ระกอบของระบบที่ใช้คอมพิวเตอรเ์ ป็นพื้นฐาน
1. บุคลากร (Person) เป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ของระบบ บุคลากรจะนา สารสนเทศต่าง ๆ ท่ไี ด้

ผลติ ขน้ึ ภายในระบบไปใช้ โดยใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจ
2. อุปกรณ์ ( equipment) จะใชเ้ ป็นทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู หรอื นา ขอ้ มลู ไปยงั จดุ ต่าง ๆ ภายในองค์กร และทา

การ ประมวลผลขอ้ มลู อุปกรณ์อาจจะประกอบดว้ ย เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ อุปกรณ์นาเขา้ หรอื อุปกรณ์ชนิดอ่นื
ๆ ทม่ี ใี ชใ้ นระบบสารสนเทศ

3. กระบวนการ (procedures) ทส่ี ามารถมนั่ ใจไดว้ ่า บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งจะไดร้ บั ขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้องทนั
เวลา โดย กระบวนการจะเป็นการตดั สนิ ใจว่า จะทา อะไรกบั ขอ้ มลู ท่ผี ่านเข้ามาในระบบ ระบบท่เี ราควร
ทราบเพอ่ื ประโยชน์ในการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบ ไดแ้ ก่ ระบบธุรกจิ และ ระบบสารสนเทศ (MIS)

4. จงอธิบายระบบธรุ กิจ (Business System)

6

ไดแ้ ก่ระบบท่ที างานเพ่อื จุดประสงคด์ ้านธุรกิจ จุดประสงค์ด้านการผลติ ระบบโรงแรม ระบบการ
พมิ พ์ ลว้ นแลว้ แต่เป็นระบบธรุ กจิ นนั้ ๆ ซง่ึ มจี ดุ ประสงค์ แตกต่างกนั ไปนักวเิ คราะหร์ ะบบต้องทราบขนั้ ตอน
การทางานทร่ี บั มอบหมายและทาความเขา้ ใจใหด้ ี

5. จงบอกมมุ มองเมื่อมกี ารศึกษาระบบงานใด ควรมกี ารพิจารณาจากมมุ มองอะไรบ้าง
1. What คอื วตั ถุประสงคข์ องระบบคอื อะไร มแี ผนงานขนั้ ตอนอยา่ งไรเพ่อื นาไปสคู่ วามสาเรจ็
2. How คอื มวี ธิ กี ารทา งานอยา่ งไร ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งมอื ใดเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ ไดร้ วดเรว็
3. When คอื การเรมิ่ ดาเนินงานและผลสาเรจ็ ของงาน จะสาเรจ็ ลุล่วงไดเ้ ม่อื ไรควรมกี ารจดั ตาราง

การทางานอยา่ งมรี ะบบ
4. Whoคอื บุคคลใดหรอื คณะใดท่รี ับผิดชอบ หมายถึง การมบี ุคคลใดท่ที าหน้าท่รี บั ผิดชอบใน

ขอบเขตงานของตนทแ่ี น่นอน รวมทงั้ ความสามารถในการรบั มอบหมายงานหรอื สานงานต่อ

6. จงอธิบายวงจรสารสนเทศ(Information Cycle)
ขอ้ มลู ทผ่ี ่านการประมวลผลแลว้ จะเป็นปัจจยั ในการนาเขา้ หรอื เกบ็ ไว้หรอื เป็นไปไดท้ งั้ สองกรณี ใน

วงจรสารสนเทศขอ้ มลู อาจจะถูกผลติ เป็นสารสนเทศ เพ่อื ใหผ้ รู้ บั นาไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจและปฏบิ ตั งิ าน

7. จงอธิบายระบบเชิงกายภาพและระบบเชิงตรรกะ
1. ระบบเชงิ กายภาพ (physical systems) ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทเ่ี ป็นรปู ธรรมหรอื สามารถจบั

ตอ้ งไดต้ วั อยา่ งระบบเชงิ กายภาพทม่ี องเหน็ ไดช้ ดั เจนไดแ้ ก่ องคก์ รต่าง ๆ ทงั้ รฐั และเอกชน ซง่ึ ประกอบดว้ ย
องคป์ ระกอบเป็นจานวนมาก เชน่ อาคาร พนกั งาน และเงนิ

2. ระบบเชงิ ตรรกะ (logical systems) หรอื อกี นัยหน่ึงกค็ อื ระบบท่ไี ม่ปรากฏลกั ษณะทางกายภาพ
ระบบเชงิ ตรรกะจะแทนระบบเชงิ กายภาพ ตวั อยา่ งเช่น ในระบบสนิ คา้ คงคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศต่าง ๆ จะมี

7

ใบงานที่ 2

8

บทที่ 3

9

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 3

1. อธิบายจดุ เร่ิมต้นของการพฒั นาระบบงานได้
ก่อนท่ีจะทาการศึกษาถึงขนั้ ตอนการพฒั นาระบบงานนัน้ ควรจะทาความเข้าใจจุดเร่ิมต้นของ

ระบบงานเสียก่อน โดยปกติระบบงานจะมจี ุดเริ่มต้นจากผู้ใช้ระบบ เน่ืองจากผู้ใช้ระบบจะเป็นผู้จะต้อง
เก่ียวข้องในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของธุรกิจมากท่ีสุด ดังนัน้ ในขณะท่ีกิจกรรมทางธุรกิจมีการ
ดาเนินงานอย่างต่อเน่ืองอยู่นัน้ อาจเกดิ ปัญหาหรอื อุปสรรคท่ที าใหก้ ารทางานเกดิ ความไม่คล่องตวั อาจมี
ความยุ่งยากความผดิ พลาด ล่าชา้ หรอื ความเสยี หายอ่นื ๆ เกดิ ขน้ึ ซ่งึ ทาใหผ้ ู้ใชร้ ะบบมคี วามต้องการทจ่ี ะ
พฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ กจิ กรรมต่าง ๆ ในระบบงานของตนเองนกั วเิ คราะหร์ ะบบจงึ จะเรม่ิ เขา้ มามบี ทบาทท่จี ะ
เป็นผศู้ กึ ษาระบบงาน และพฒั นาระบบงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสามารถสนองตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ระบบ
ทาให้ผู้ใช้ระบบมคี วามพงึ พอใจในการทางานและยอมรบั การเปล่ยี นแปลงท่เี กิดข้นึ จงึ อาจกล่าวได้ว่า
จุดเรมิ่ ต้นหรอื จุดกาเนิดของการพฒั นาระบบงานนัน้ เกดิ จากความต้องการท่จี ะพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงแก้ไข
กจิ กรรมต่าง ๆ ในระบบงานของผใู้ ชร้ ะบบนนั่ เอง

10

2. อธิบายขนั้ ตอนต่าง ๆ ของการพฒั นาระบบงานได้

ขนั้ ตอนท่ี 1 การกาหนดปัญหา(Problem Definition) การกาหนดปัญหา หรอื เขา้ ใจปัญหาเป็น

ขนั้ ตอนเรมิ่ ตน้ ของการพฒั นาระบบซง่ึ นักวเิ คราะหร์ ะบบจะตอ้ งทาความเขา้ ใจถงึ ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ และความ

ตอ้ งการของผใู้ ชเ้ พอ่ื หาแนวทางของระบบใหมท่ จ่ี ะตอบสนองความต้องการของผใู้ ช้

ขนั้ ตอนท่ี 2 การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) การศึกษาความเป็นไปได้ เป็น

การศึกษาเบ้อื งต้นโดยมจี ุดประสงค์เพ่อื ค้นหาว่าแนวทางท่เี ป็นไปได้ของการทาโครงการซ่งึ อาจมหี ลาย

แนวทาง ท่สี ามารถแก้ปัญหาของระบบได้โดยเสยี ค่าใช้จ่ายและเสยี เวลาท่นี ้อยท่สี ุด ได้ผลลพั ธ์เป็นท่นี ่า

พอใจ แนวทางต่าง ๆ

➢ ความเป็นไปไดด้ า้ นเทคนคิ (Technically Feasibility)

➢ ความเป็นไปไดด้ า้ นการปฏบิ ตั ิ (Operational Feasibility)

➢ ความเป็นไปไดด้ า้ นการลงทุน (Economic Feasibility)

ขนั้ ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)

การวเิ คราะหร์ ะบบ เป็นขนั้ ตอนของการศกึ ษาการทางานของระบบงานเดมิ (ปัจจบุ นั ) เพอ่ื ตอ้ งการ

คน้ หาว่าทางานอย่างไร ทาอะไรบา้ ง และมปี ัญหาใดเกดิ ขน้ึ บา้ งหรอื ผใู้ ชร้ ะบบตอ้ งการใหมก่ ารเปลย่ี นแปลง

อยา่ งไร เปลย่ี นแปลงสว่ นใดบา้ งของระบบ หรอื ตอ้ งการใหร้ ะบบใหมท่ าอะไรไดบ้ า้ งนกั วเิ คราะห์ระบบจะต้อง

เก็บรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ ขององค์กรเพ่อื นามาจดั ทารายงานการทางานของระบบซง่ึ จะต้องใชเ้ ทคนิคการ

เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู (Fact – Gathering Techniques) โดยการศกึ ษาเอกสารทร่ี ะบบใชง้ านอยใู่ นปัจจบุ นั การ

ตรวจสอบวธิ กี ารทางานในปัจจบุ นั ดว้ ยการสงั เกต

ขนั้ ตอนที่ 4 การออกแบบระบบ (System Design) โดยทวั่ ไปในการออกแบบระบบ จะเริ่ม

ดาเนินการออกแบบกวา้ งๆ ก่อนโดยออกแบบระบบ จะนาแนวทางทไ่ี ดศ้ กึ ษาไวใ้ นขนั้ ตอนการศกึ ษาความ

เป็นไปได้ มาพจิ ารณาในรายละเอยี ด ซง่ึ จะเสนอกระบวนการทา งานของระบบใหมเ่ ฉพาะขนั้ ตอน

หลกั ๆ หรอื เปล่ยี นแปลงการทางานบางอย่างของระบบเดมิ กาหนดขอ้ มลู เขา้ และขอ้ มลู ออกงานทจ่ี ะเป็น

จะตอ้ งกระทาส่วนใดจะตอ้ ใชเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอรท์ างาน จงึ ควรเลอื กแนวทางทเ่ี หมาะสมใหม้ ากทส่ี ุด แลว้ จงึ

จะเรมิ่ ดาเนนิ การออกแบบรายละเอยี ด ไดแ้ ก่ฐานขอ้ มลู แบบฟอรม์ สาหรบั ขอ้ มลู เขา้

ขนั้ ตอนท่ี 5 การสร้างงระบบ หรือพฒั นาระบบ (System Construction) การสรา้ งระบบหรอื

พฒั นาระบบจะเป็นการสรา้ งส่วนประกอบแต่ละส่วนของระบบโดยเรมิ่ เขยี นโปรแกรมและทดสอบโปรแกรม

พฒั นาการติดต่อระหว่างผู้ใช้กบั ระบบ และฐานข้อมูลจากข้อต่าง ๆ ของระบบ โปรแกรมเมอร์จะเขยี น

11

โปรแกรมตามข้อมูลท่ไี ด้จากการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ ซ่งึ ควรมกี ารตรวจสอบผลการทางานของ
โปรแกรมรว่ มกนั วเิ คราะหร์ ะบบ เพ่อื คน้ หาว่า อาจเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดขนั้ ทใ่ี ดบา้ ง ในการทดสอบโปรแกรมนัน้
เป็นหน้าทข่ี องโปรแกรมเมอรเ์ พ่อื ให้แน่ใจว่า โปรแกรมจะต้องไม่มคี วามผดิ พลาด หลังจากการเขยี นและ
ทดสอบโปรแกรมเรยี บรอ้ ยแลว้ จะตอ้ งมกี ารเขยี นคู่มอื การใช้งาน พจนานุกรม (Data Dictionary) ส่วนของ
การขอความช่วยเหลอื (Help) บนจอภาพ เป็นตน้

ขัน้ ตอนที่ 6 การติ ดตัง้ ระบบ (System Implementation ) การติดตัง้ ระบบจะเป็ นการนา
ส่วนประกอบต่าง ๆ ทไ่ี ดส้ รา้ งไวใ้ นขนั้ ตอนตอนของการสรา้ งหรอื การพฒั นาระบบมาตดิ ตงั้ เพอ่ื ใชท้ างานจรงิ
สามรถตดิ ตงั้ ไดส้ องวธิ ดี ว้ ยกนั

ขนั้ ตอนท่ี7 การประเมินผลและการบารุงรกั ษาระบบ ( Maintenance) การประเมินผลและ
บารงุ รกั ษาระบบ เป็นขนั้ ตอนสุดทา้ ยของการพฒั นาระบบ ภายหลงั ขนั้ ตอนการตดิ ตงั้ ระบบและมกี ารใชง้ าน
ระบบใหมม่ าเป็นเวลาพอสมควร จะตอ้ งมกี ารประเมนิ ผลการทางานของระบบ ซง่ึ เป็นการตรวจสอบวา่ ระบบ
ใหม่ท่ตี ดิ ตงั้ ใชง้ านน้ีสามารถใช้งานตรงตามวตั ถุประสงค์ สนองตอบความต้องการของผูใ้ ช้ ผู้ใช้มคี วามพงึ
พอใจและยอมรบั การทา งานกบรั ะบบใหม่มากน้อยเพยี งใดหรอื มปี ัญหาอุปสรรคอย่างไร โดยจะตอ้ งกลบั ไป
ศึกษาวตั ถุประสงค์หรอื เป้าหมายของโครงการท่ไี ด้วางไว้ว่าระบบใหม่น้ีสามารถทางานได้บรรลุตามท่ี
ต้องการการหรอื ไม่ การประเมนิ ผลการทางานของระบบมกั กาหนดไว้เป็นแนวทางเพ่อื ตดั สนิ ใจว่าจะมี
ดาเนนิ การโครงการต่อไป
3. อธิบายวงจรการพฒั นาระบบได้

วงจรการพฒั นาระบบหรอื ท่นี ิยมเรยี กย่อ ๆ ว่า SDLC เป็นวธิ กี ารท่นี ักวเิ คราะห์ระบบใช้ในการ
พฒั นาระบบงาน เพ่อื ทจ่ี ะใชเ้ รยี งลาดบั เหตุการณ์หรอื กจิ กรรม ทจ่ี ะตอ้งกระทา ก่อนหรอื กระทาในภายหลงั
เพ่อื ท่จี ะช่วยให้การพฒั นาระบบงานทาได้ง่ายข้นึ ซ่งึ นักวเิ คราะห์ระบบจะต้องทาความเข้าใจให้ชดั เจน
ถูกต้องว่าในแต่ละขนั้ ตอนนัน้ จะต้องทาอะไรทาอยา่ งไรเพ่อื ใหไ้ ด้ผลลพั ธต์ ามทต่ี ้องการโดยทวั่ ไปวงจรการ
พฒั นาระบบจะมกี ารทางานเป็นขนั้ ตอนต่าง ๆ ในแต่ละขนั้ ตอนจะประกอบดว้ ยรายละเอยี ดของการทางาน
หลายอย่างรวมทงั้ กาหนดเป้าหมายของการทางานของแต่ละขนั้ ตอน และจะต้องแสดงความก้าวหน้าของ
โครงการท่ไี ด้กระทาในแต่ละขนั้ ตอนด้วย โดยจะต้องมกี ารทารายงานเพ่อื แสดงผลการทา งานในแต่ละ
ขนั้ ตอน เพ่อื เสนอใหผ้ ู้บรหิ ารพจิ ารณาตดั สนิ ใจว่า จะดาเนินการในขนั้ ตอนต่อไปของการพฒั นาระบบ
หรอื เปลย่ี นทศิ ทางของการทาโครงการนนั้ หรอื ไมห่ รอื หากขนั้ ตอนการพฒั นาระบบในขนั้ ตอนใดยงั ไมช่ ัดเจน

12

เพยี งพอทจ่ี ะทาใหผ้ บู้ รหิ ารตดั สนิ ใจได้ กอ็ าจจะต้องใหน้ ักวเิ คราะหร์ ะบบกลบั ไปศกึ ษารายละเอยี ดของการ
ทางานในขนั้ ตอนก่อนหน้านนั้ อกี จนกวา่ ผบู้ รหิ ารจะสามารถตดั สนิ ใจได้

ให้นักศึกษาใช้ วงจรการพฒั นาระบบ SDLC มาใช้วิเคราะห์การทาโครงงานของตนเอง

ขนั้ ตอนที่ 1 การกาหนดปัญหา (Problem Definition)

1. เพอ่ื ้ใหตรงตามจดุ ประส้งคโครงงานท้่ตี องทา
2. เพือ่ ประเมนิ ประสิทธภิ าพ ระบบโปรแกรมเตอื นระยะเวลาหมดคาบเรยี น
3. เพือ่ ประเมนิ ความพึงพอใจ ระบบโปรแกรมเตือนระยะเวลาหมดคาบเรยี น้ใชงาน้ได
ขนั้ ตอนท่ี 2 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
1. ศกึ ษาความเป็นไปไดด้ า้ นเทคนคิ (Technically Feasibility)
2. ศกึ ษาความเป็นไปไดด้ า้ นการปฏบิ ตั ิ (Operational Feasibility)
3. ศกึ ษาความเป็นไปไดด้ า้ นการลงทุน (Economic Feasibility)
ขนั้ ตอนท่ี 3 การวิเคราะหร์ ะบบ (System Analysis)
เรม่ิ จากศกึ ษาค้นควา้ หาขอ้ มลู การทางานการตรวจจบั เวลาของระบบ และตรวจสอบประสทิ ธภิ าพ
การใชง้ านทไ่ี ดใ้ ชง้ านจรงิ แลว้ จงึ นามาวเิ คราะหเ์ พ่อื จะไดเ้ ขา้ ใจถงึ หลกั การทางานของระบบโปรแกรมเตือน
ระยะเวลาหมดคาบเรียน
ขนั้ ตอนที่ 4 การออกแบบระบบ (System Design)
มกี ารออกแบบการทางานโดยสามารถบนั ทกึ รายละเอยี ดของระยะเวลาทไ่ี ดใ้ ชง้ านจรงิ และปรบั ปรงุ
แกไ้ ขหากระบบทางาน ซง่ึ จะมรี ายละเอยี ดต่าง ๆ ว่าโปรแกรมทางานไดต้ ามวตั ถุประสงคห์ รอื ไม่
ขนั้ ตอนที่ 5 การสร้างระบบหรอื พฒั นาระบบ (System Construction)
โดยใช้โปรแกรม Visual studio code 2019 ในการทาระบบและใช้ php MyAdmin ในการทา
ฐานขอ้ มลู ของระบบ
ขนั้ ตอนที่ 6 การติดตงั้ ระบบ (System Implementation )
จะเป็นการนาสว่ นประกอบต่าง ๆ ทไ่ี ดส้ รา้ งไวใ้ นขนั้ ตอนของการสรา้ งหรอื การพฒั นาระบบมาตดิ ตงั้
เพ่อื ใหส้ ามารถใชง้ านไดจ้ รงิ
และเป็นการนาระบบทเ่ี สรจ็ แลว้ มาทดลองกบั ผใู้ ชเ้ พอ่ื ใหส้ ามารถใชง้ านไดจ้ รงิ
ขนั้ ตอนท่ี7 การประเมินผลและการบารงุ รกั ษาระบบ ( Maintenance)

13

ขนั้ ตอนสุดทา้ ยของการพฒั นาระบบหลงั จากทผ่ี ใู้ ชไ้ ดท้ าการทดสอบระบบโปรแกรมเตอื นระยะเวลา
หมดคาบเรยี น เพ่อื เป็นการตรวจสอบและประเมนิ ผลว่าสามารถใช้งานได้ถูกต้องตามวตั ถุประสงค์ของ
ผใู้ ชง้ านหรอื ไม่

14

บทที่ 4

15

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 4

1. จงอธิบายการพฒั นาโปรแกรม
การพัฒนาด้วยทีมงานเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ในลกั ษณะท่ีเรยี กว่า “In-house development” ซ่ึงการ

พฒั นาจไม่มรี ูปแบบแน่นอนตายตวั ข้นึ อยู่กบั โปรแกรมเมอร์แต่ละคน และการพฒั นาในลกั ษณะท่เี ป็น
“Industry development” หรอื การพฒั นาในระดบั อุตสาหกรรม คอื การพฒั นาระบบท่มี กี ารสรา้ งกรอบและ
มาตรฐานการทางานเพ่อื ใหผ้ พู้ ฒั นายดึ ถอื และพฒั นาระบบไปในแนวทางเดยี วกนั

2. จงอธิบายกลวิธีในการพฒั นาโปรแกรม
วมิ ี 2 วธิ ที เ่ี ป็นทน่ี ิยมเทา่ นนั้ ๆไดแ้ ก่ 1. วธิ กี ารเชงิ ฟังกช์ (Functional)
2. วธิ กี ารเชงิ วตั ถุ(Object Oriented)

3.จงอธิบายคณุ ลกั ษณะวตั ถุ
วตั ถุหรอื ออปเจก็ ตค์ อื สง่ิ ใด ๆ ทเ่ี ราสนใจอาจจะเป็นสงิ่ ทจ่ี บั ตอ้ งไดเ้ ช่น สนิ คา้ ลกู คา้ หรอื อาจเป็นสง่ิ ท่ี

จบั ตอ้ งไมไ่ ด้ เชน่ บรษิ ทั ฝ่ายต่าง ๆ เป็นตน้

4.จงอธิบายลกั ษณะของคลาส
คลาส (Class) ซง่ึ เป็นการจดั กลุ่มใหแ้ ก่วตั ถุต่าง ๆ ทม่ี คี ุณสมบตั หิ รอื พฤตกิ รรมบางอยา่ งเหมอื นกนั

เมอ่ื เวลาทเ่ี ราจะใชง้ าน เราจะไม่ใชง้ านคลาสโดยตรง ๆ แต่เราจะสรา้ งสงิ่ ทเ่ี รยี กว่า “อนิ สแตนซ์” (Instance)
ของคลาสขน้ึ มาใช้งานแทน กลไกดงั กล่าวทาให้เราสามารถใช้เพยี งคลาส ๆ เดยี วแต่สรา้ งอนิ สแตนซ์ซ่งึ
อนิ สแตนซข์ องคลาสกค็ อื วตั ถุนนั่ เอง เราจงึ กล่าวว่าวตั ถุหน่งึ ๆ เป็นอนิ สแตนซข์ องคลาสหน่งึ

5.จงอธิบายคณุ ลกั ษณะของวิธีการเชิงวตั ถุ
วธิ กี ารเชงิ วตั ถุจะสมบรู ณ์ไดต้ อ้ งประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 4 อยา่ งไดแ้ ก่
1.Abstraction
2.Encapsulation
3.Hierarchy
4.Polymorphism

16

6. จงอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างวตั ถุ
มอี ยู่ 2 แบบ คอื 1) Links เป็นความสมั พนั ธใ์ นลกั ษณะทว่ี ตั ถุหน่งึ ขอใชบ้ รกิ ารบางอย่างจากอกี วตั ถุ

หน่ึง โดยในการลงิ คน์ ัน้ วตั ถุจะมกี ารส่งเมสเสจถงึ กนั ด้วยโดยปกตแิ ล้วการลงิ ค์ของวตั ถุจะเป็นในทศิ ทาง
เดยี ว(Unidirectional) แต่กม็ บี างกรณที เ่ี ป็นการลงิ คแ์ บบสองทาง (bidirectional)

2) Aggregation คอื ความสมั พนั ธ์ในลกั ษณะท่วี ตั ถุหน่ึงเป็นส่วนหน่ึงของอกี วัตถุ
หน่งึ จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ ป่มุ ,ตวั เลข, สว่ นแสดงผลและ ชปิ ต่างกเ็ ป็นส่วนหน่งึ ของวตั ถุเครอ่ื งคดิ เลขเป็นตน้

7. จงอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างคลาส
มอี ยู่ 2 แบบ คอื 1) Inheritance เป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างคลาสในลกษั ณะของคลาสๆ หน่งึ เป็น “ชนิดหรอื
ประเภทหน่งึ ”ของอกี คลาสหน่งึ ยกตวั อยา่ ง เช่น เราจะมองว่าสง่ิ มชี วี ตแิ บ่งเป็นพชื และสตั วซ์ ง่ึ เรากลา่ ววา่
คลาสพชื และคลาสสตั วต์ วั นนั้ เป็นประเภทหน่งึ ของคลาสสง่ิ มชี วี ตนิ นั่ เอง

2) Utilization เป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างคลาสคอื การทค่ี ลาสหน่งึ มกี ารขอให้วตั ถุจากอกี
คลาสหน่งึ ยกตวั อยา่ ง เช่น คลาสของนกั เรยี นใชว้ ตั ถุดนิ สอของคลาสเครอ่ื งเขยี น เป็นตน้

17

บทที่ 5

18

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 5

1. จงอธิบายการพฒั นาระบบงานด้วยการสร้างโมเดล

ในการพฒั นาระบบคอมพวิ เตอรห์ รอื ระบบอ่นื ๆ จะหลกี เล่ยี งการใช้เคร่อื งมอื จาพวกโมเดลหรอื

ไดอะแกรมไม่ได้ตงั้ แต่อดตี จนถึงปัจจุบนั นักพฒั นาซอฟต์แวรพ์ ยามคดิ คนั้ วธิ กี ารท่เี หมาะสม ให้รองรบั

ระบบท่มี คี วามซับซ้อนมาก ๆ และด้วยหตุผลหน่ึงท่กี ็พบก็คอื ขงั ไม่ปรากฎว่ามวี ธิ แี ก้ปัญหาใดเลยท่ใี ช้

โมเดลเพยี ง 1 โมเดล แลว้ สามารถรองรบั กบั ปัญหาไดท้ งั้ หมด เราจงึ มคี วามจาเป็นทต่ี อ้ งดงึ เอาโมเดลหน่ึง

มาใชใ้ นขนั้ ตอนหน่ึง และนาเอาอกี โมเดลหน่ึงมาใชอ้ กี ขนั้ ตอนหน่งึ ในภายหลงั จงึ ไดม้ กี ารคดิ กนั ววธิ ี

ท่ดี ีท่สี ุดก็คือการนาเอาโมคลหลาย ๆ มาช่วยแก้ปัญหา โดยในแต่ละโมคลท่ผี ู้พัฒนาคิดกันข้นึ มาหรอื

นามาใชน้ ควรทจ่ี ะใหภ้ าพหรอื ความชดั จนในระดบั ทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป คอื โมเดลท1่ี ใชค้ วรมมี มุ มองไดค้ รบ

ถวั่ น เช่น มมุ มองของผอู้ อกแบบระบบ มมุ มองของผพู้ ฒั นาโปรแกรม มมุ มองของผใู้ ชง้ านระบบ เป็นตน้ เพ

ระณะนนั้ เป้หมายในขนั้ ตอนต่อมาคอื เราจะต้องลอื กเอาโมเดลทด่ี แี ละหมาะสมทส่ี ุดมาใชง้ าน แต่คาถามท่ี

ตดิ ตามมากค็ อื โมคลทด่ี คี วรจะมลี กั ยณะอยา่ งไร ซง่ึ ขอ้ สรปุ ขอ้ ใหญ่ทผ่ี อู้ อกแบบและพฒั นาระบบสรปุ ออกมา

ไดก้ ค็ อื "โมคลทด่ี จี ะตอ้ งทาใหเ้ กดิ วธิ กี ารแกป้ ัญหาในโลกแห่งความเป็นจรงิ ได"้ และโมเดลนนั้ ตอ้ งตอบสนอง

ต่อความตอ้ งการของอุตสาหกรรมซอฟตแ์ วร์ โดยจะตอ้ งมกี ุณสมบตั ดิ งั น้ี

- ลดคา่ ใชจ้ า่ ข(Cost)

- ลดเวลาในการพฒั นาออกสตู่ ลาด (time-lo-market)

- สามารถจดั การกบั ความซบั ซอ้ นของปัญหาไดส้ มอ ถงึ แมว้ า่ ขอบเขตและขนาดของปัญหาจะขยาย

ใหญ่ขน้ึ กต็ าม (scalability)

ด้วยสาหตุและความจาเป็นดงั กล่าว จงึ เป็นแรงผลกั คนั ให้บุคคล 3 ท่าน ได้แก่ Grady Booch,

Jamcs Rumbaugh และ Ivar Jacobson ได้นาเอาโมเดลของตนเองมารวมกนั และมกี ารพฒั นาปรบั ปรุงจน

กลายมาเป็น ภายาทใ่ี ชส้ รา้ งโมดลภายาใหมท่ เ่ี รยี กวา่ UML (The Unified Modeling Langauge)

2.จงบอกประโยชน์ของโมเดล

บรษิ ทั ผลติ ซอฟตแ์ วรท์ ถ่ี อื ว่าประสบความสาเรง็ คอื บรษิ ทั ทส่ี ามารถสรา้ งซอฟตแ์ วรไ์ ดต้ รงกบั ความ
ตอ้ งการของผใู้ ชต้ ามระยะวลาและใชท้ รพั ยากรตามทไ่ี ดก้ าหนดไวใ้ นแผนงาน ทงั้ น้ีบรษิ ทั ท่ีผลติ ซอฟต์แวร์
ยอ่ มมุ่งหวงั ทจ่ี ะสรา้ งซอฟต์แวรท์ ด่ี มี คี ุณภาพ แต่ความหมาของซอฟต์แวรท์ ม่ี คี ุณภาพนัน้ มกี ารใหก้ าจากดั
กวามแตกต่างกนั ไป ในทางของการพฒั นาซอฟต์แวรใ์ นปังจุบนั นัน้ การพฒั นาซอฟต์แวรท์ ่มี คี ุณภาพคอื
ซอฟตแ์ วรท์ ส่ี รา้ งขน้ึ มาจะมโี ครงสรา้ งทส่ี ามารถนาไปปรบั ปรงุ แกไ็ ขในภายหลงั ได้

19

3. จงบอกความสาคญั ของโมเดล
นบั เป็นสงิ่ สาคญั อย่างยงิ่ ทเ่ี ราจะมกี ารวางแผนหรอื สรา้ งความคาดหวงั ไวต้ งั้ แต่ตน้ ว่าระบบงานของ

เราจะมที ศิ ทางไปอยา่ งไร พรอ้ มทงั้ มกี ารจดั การในส่วนของการเปลย่ี นแปลงทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ มาอย่างระมดั ระวงั
การสรา้ งโมเดลจะทาใหเ้ ราสามารถพฒั นาระบบงานไดอ้ ยา่ งมขี นั้ ตอนและมคี วามเขา้ ใจในระบบงานท่กี าลงั
จะพฒั นามากขน้ึ เป้าหมายของการใชโ้ มเดลในการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ คอื

1. โมเดลช่วยใหเ้ ราสามารถมองเหน็ ภาพของระบบงานไดอ้ ยา่ งชดั เจนขน้ึ วา่ ระบบงานจะออกมาใน
ลกั ษณะไหน หรอื มองเหน็ ภาพวา่ เราตอ้ งการใหร้ ะบบงานออกมาในทศิ ทางใด

2. โมเดลจะทาใหเ้ ราสามารถระบถุ งึ โครงสรา้ งและพฤตกิ รรมของระบบงานทจ่ี ะพฒั นาได้
3. โมเดลเป็นเสมอื นเทมเพลตใหแ้ ก่การสรา้ งระบบงานจรงิ ๆ
4. โมเดลช่วยใหเ้ ราสามารถทาใหก้ ารตดั สนิ ใจในเรอ่ื งต่าง ๆ อย่ใู นรปู ของเอกสารอา้ งองิ ไดง้ ่ายข้นึ
การใชโ้ มเดลไม่ไดจ้ ากดั เฉพาะกบั ระบบงานทม่ี คี วามซบั ซอ้ นเท่านัน้ ระบบงานขนาดเลก็ กส็ ามารถใชโ้ มเดล
มาช่วยได้ แต่โดยมากแลว้ เรามกั ไมค่ ่อยเหน็ การใชโ้ มเดลมาพฒั นาระบบงานขนาดเลก็ เพราะระบบงาน
ขนาดเลก็ มกั พฒั นาได้ง่ายและต้องการใหเ้ สรจ็ ในเวลาอนั สัน้ ซ่งึ แน่นอนว่าการสรา้ งโมเดลนัน้ เราจะต้อง
เสยี เวลาเพม่ิ ขน้ึ ในสว่ นของการวเิ คราะหแ์ ละสรา้ งโมเดลขน้ึ มา

4. จงบอกหลกั การใช้โมเดล
ยุทธวิธี(Method War) ของ UML สาเหตุของการกาเนิดภาษา UML สาหตุหน่ึงก็คือมาจาก

สถานการณ์ทเ่ี รยี กว่า "Method War" กล่าวคอื แนวทางการเขยี นโปรแกรมทไ่ี ด้รบั การขอรบั ว่าเป็นวธิ ที ่มี ี
ประสทิ ธภิ าพท่ดี ที ่สี ุดของยุคน่ีกค็ อื การเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ (Objec- Oriented Progamming) และใน
การเขยี นโปรแกรมชงิ วตั ถุใหด้ นี นั้ จาเป็นตอ้ งผ่านขนั้ ตอนการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบงานมาเป็นอย่างดี
ซง่ึ ในขนั้ ตอนของการออกแบบน้ีเองทท่ี าใหม้ ปี ัญหาเรอ่ื งการใชไ้ ดอะแกรมต่าง ๆ ร่วมกนั ทผ่ี ่านมามอื มกี าร
วเิ คราะห์และออกแบบระบบเชงิ วตั ถุ (Object-Oriented Analysis & Design : OOD) จะมบี ุคลากรอยู่ 3-4
ท่านทม่ี บี ทบาทในการกาหนดไดอะแกรมเชงิ วตั ถุ (Object - Oriented Diagram) นนั่ คอื

- Grady Booch : Booch ใช้ไดอะแกรมร่วมก้บทคนิกในการออกแบบท่เี รยี กว่า Booch Method
หรอื บางทเ่ี รยี กว่า Booch Method & Booch Diagram เนนั้ ทก่ี ารออกแบบ, การสรง้ คลาส และการนาวธิ กี าร
แกไ้ ขปัญหาทไ่ี ดไ้ ปใชง้ านกบั ระบบจรงิ

20

- James Rambaugh : 1991 ใชว้ ธิ กี ารทเ่ี รยี กว่า Object Modeling Technique (OMT) รว่ มกบั การ
ทางานของระบบ โคยนนั้ และใหค้ วามสาคญั กบั ขอ้ มลู ดบิ เป็นคนั้

- Var Jacobson : 1994 1ช้วิธี OOSE & Objectory Proces เนัน้ ในเร่อื งการหาความต้องการ
ระบบ (Requirement ทร่ี ยี กว่า Us cas: โดขนนทค่ี วามตอ้ งการของระบบเพยี งอย่างเดยี ว ไมส่ นใจอขา่ งอ่นื

- HP (Hewlett Packad) : ใช้วิธกี ร Fusion Method คอื ใช้คลาสไดอะแกรมเน้นท่กี ารนาวิธกี าร
แกไ้ ขปัญหาทไ่ี ดไ้ ปใชง้ พกบั ระบบจรงิ

- Coad and Yoardon : ใช้รี OOAOOD เป็ นการเขีขน Data Flow Diagam (DFD) นั้นท่ีการ
วเิ คราะหแ์ ละออกแบบ แทบจะ ไมม่ ใี นสว่ นของการนาระบบไปใชง้ านจรงิ

5. จงบอกความหมายของ UML
ยเู อม็ แอล (UML) ยอ่ มาจาก Unified Modeling Language เป็นภาษาทใ่ี ชอ้ ธบิ ายแบบจาลองต่าง ๆ

หรอื เป็นภาษาสญั ลกั ษณ์รูปภาพมาตรฐานสาหรบั ใช้ในการสร้างแบบจาลองเชงิ วตั ถุ โดยยูเอ็มแอลเป็น
ภาษามาตรฐานสาหรบั สร้างแบบพมิ พ์เขยี วให้แก่ระบบงานเราสามารถใช้ยูเอ็มแอลในการสร้างมุมมอง
กาหนดรายละเอยี ดสรา้ งระบบงานและจดั ทาเอกสารอา้ งองิ ใหแ้ ก่ระบบงานได้ เน่อื งจากยเู อม็ แอล เป็นภาษา
ทม่ี กี ารใชส้ ญั ลกั ษณ์รปู ภาพ จงึ อาจมผี เู้ ขา้ ใจสบั สนว่ายเู อม็ แอลเป็นการสรา้ งแผนภาพหรอื เป็นเพยี งการใช้
สญั ลกั ษณ์เพ่อื อธบิ ายระบบงานเท่านัน้ แต่แท้จรงิ แล้วยูเอ็มแอลมลี กั ษณะของแบบจาลองข้อมูล คอื เป็น
แบบจาลองท่เี อาไว้อธบิ ายแบบจาลองอ่ืน ๆ อีกทกี ารใช้งานภาษายูเอ็มแอล นอกจากจะต้องเข้าใจใน
แนวความคดิ เชงิ วตั ถุแลว้ ยงั จาเป็นตอ้ งมพี น้ื ฐานความเขา้ ใจเกย่ี วกบั แบบจาลองภาพดว้ ยเช่นกนั

6.จงอธิบายเหตผุ ลว่าทาไมเราจึงใช้ UML
UML ไดร้ วมขอ้ ดขี องโมเดลต่าง ๆ เอาไวไ้ ด้ ดงั น้ี
- Data Model ซง่ึ นามาจากโมเดล OMT ของ James Rambaugh ซง่ึ Rambaugh
เน้นหนกั

มากในเรอ่ื งขอ้ มลู โดยเอาแนวความคดิ มาจาก ER-Diagram
- Business Model หรอื เวริ ก์ โฟลว์ (Work Flow) คลา้ ยกบั Data Flow Diagram (DFD) แต่ดกี ว่าใน

เรอ่ื ง sequence, Loop, check if condition
- Object Model คอื สามารถทจ่ี ะสรา้ งออ็ ปเจก็ ตใ์ นแบบต่าง ๆ ได้

21

- Component Model เป็นโมเดลทม่ี คี วามคดิ ว่าทาอย่างไรจงึ จะผลติ ซอฟต์แวรใ์ ห้เหมอื นการผลติ
ฮารด์ แวรน์ ัน่ คอื สามารถท่จี ะปัม๊ แต่ละส่วนออกมาประกอบกนั ในลักกษณะของคอมโพเนนตไ์ ดโ้ ดยเรม่ิ จาก
ช้นิ ส่วนทเ่ี ลก็ ทส่ี ุดมาประกอบกนั ใหเ้ ป็นชน้ิ ส่วนใหญ่ข้ึนมาเร่อื ย ๆ เม่อื เทยี บกบั การผลติ ฮารด์ แวรแ์ ล้วก็
เทยี บไดก้ บั การผลติ ไอซี (IC) เป็นตวั ๆ แลว้ นามาประกอบใชง้ านตามแต่ผพู้ ฒั นาตอ้ งการ

22

บทที่ 6

23

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 6

1. UML ประกอบด้วย 3 ส่วนหลกั คือ Things, Relationships และ Diagrams
เป็นสง่ิ ท่ใี ช้อธบิ ายกลุ่มของ object หรอื method ท่มี คี ุณสมบตั ิ การทางาน และความสมั พันธ์ท่ี

เหมอื นกนั โดยสญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชว้ าด Class จะแบ่งเป็น 3 ส่วนคอื ช่อื คลาส(Name), แอตทรบิ รวิ ต(์ Attribute)
และโอเปอรเ์ รชนั (Operation)

1.1 Things เป็นรปู แบบทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของโมเดล

1.2 Relationships เป็นสงิ่ ทใ่ี ชแ้ สดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง Things

1.3 Diagrams การรวมคณุ สมบตั บิ างประการของ Things ใหอ้ ยใู่ นกลมุ่ เดยี วกนั

2.จงบอกคานามของภาษา UML แบง่ ย่อยเป็น 2 ประเภทได้แก่อะไรบ้าง
Structural thing เม่อื เทยี บกบั ภาษาทวั่ ๆ ไปแล้ว structural things ก็คอื คานามของภาษา UML

นนั่ เองโดยเป็นองคป์ ระกอบทม่ี ลี กษั ณะเป็น สแตตคิ (static) เราใช้ structural things เพ่อื แทนอลี เิ มนต์ต่าง
ๆ ซง่ึ อลี เิ มนตเ์ หล่านนั้ อาจจะเป็นไดท้ งั้ อลี เิ มนตท์ จ่ี บั ตอ้ งไดห้ รอื จบั ตอ้ งไมไ่ ดท้ งั้ น้ี structural things ยงั มกี าร
แบ่งยอ่ ยออกเป็น 2 ประเภท

2.1 Logical Things เป็น things ทส่ี ามารถจบั ตอ้ งไมไ่ ด้ ประกอบดว้ ย
- Class
- Interface
- Collaboration
- Use case
- Active class

2.2 Physical Things เป็ น things ทส่ี ามารถจบั ตอ้ งได้ ประกอบดว้ ย
- Component
- Node

24

3.จงเขียนสญั ลกั ษณ์ของส่ิงต่อไปนี้
a. Class

b. Interface
c. Collaboration
d. Use case

25

e. Active class
f. Component
g. Node

26

บทที่ 7

27

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 7

1. จงอธิบายความหมายของ Use Case Diagram
ในอดีตการสร้างโมเดลจะมองระบบ 2 รูปแบบ คือมุมมองของระบบในแง่ท่ีมลี กั ษณะคงท่ีไม่

เปลย่ี นแปลง(Static View) และมุมมองของระบบในแงท่ ม่ี ลี กั ษณะไมค่ งทส่ี ามารถเปลย่ี นแปลงได(้ Dynamic
View) ซ่งึ ยงั ขาดมุมมองท่สี าคญั อกี มุมมองหน่ึง นัน่ ก็คอื “มุมมองของผู้ใช้ระบบ” (User’s View) และการ
สรา้ งโมเดลจากมุมมองของผูใ้ ช้ระบบกค็ อื งานของ Use Case DiagramUse Case คอื การสรา้ งโมเดลทจ่ี ะ
ช่วยใหน้ กั วเิ คราะหร์ ะบบกบั ผใู้ ชร้ ะบบสามารถส่อื สารเขา้ ใจตรงกนั ว่าผใู้ ชร้ ะบบจะนาระบบงานทเ่ี สรจ็ แลว้ ไป
ใชง้ านอะไร

2. จงบอกความสาคญั ของ Use Case Diagram
เราใช้ Use Case Diagram เป็นเคร่อื งมอื ในการกระตุ้นใหผ้ ู้ใช้ระบบสามารถส่อื สารให้ผูอ้ อกแบบ

ระบบได้รบั รวู้ ่าผูใ้ ชต้ ้องการใช้ระบบในลกั ษณะไหน ซ่งึ การสอบถามผูใ้ ช้ถงึ อินพตุ และเอาพุตต์ จากผู้ใช้
เท่านนั้ เป็นมมุ มองทแ่ี คบเกนิ ไป ทงั้ ยงั อาจทาใหร้ ะบบทางานไดไ้ ม่ครบถว้ นตามทผ่ี ใู้ ชร้ ะบบตอ้ งการ ดงั นนั้
แนวความคดิ ของการใช้ Use Case Diagram กค็ อื การใหผ้ ใู้ ชร้ ะบบไดเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการวเิ คราะหแ์ ละ
ออกแบบระบบตงั้ แต่เฟสแรก ๆ ของการพฒั นาระบบ

3. จงอธิบายการใช้ Use Case Diagram
ลกั ษณะของการใช้ Use Case Diagram จะมเี งอ่ื นไขหรอื สภาพทเ่ี ราตอ้ งคานึงถงึ อย่2ู อยา่ ง ไดแ้ ก่
1. Precondition
2. Postcondition

4. จงอธิบายการสร้าง Use Case Diagram
ขนั้ ตอนของการเกดิ Use Case Diagram หน่งึ ๆ นนั้ มอี ย5ู่ ขนั้ ตอนหลกั ๆ ไดแ้ ก่

1. actor หน่งึ ทาใหเ้ กดิ use case หน่งึ ขน้ึ
2. เกดิ Precondition สาหรบั use case
3. use case มกี ารทางานบางอยา่ ง
4. เกดิ Postcondition เมอ่ื use case ทางานเสรจ็ สน้ิ
5. มี actor หน่งึ ไดร้ บั ผลลพั ธจ์ ากการทางานของ use case

28

5. จงอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่าง Use Case Diagram
ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง use cases มอี ยู่ 4 แบบ คอื
1. Inclusion
2. Extension
3. Generalization
4. Grouping

6. จงอธิบายการใช้ Use Case Diagram ในกระบวนการวิเคราะหร์ ะบบ
กระบวนการวเิ คราะหร์ ะบบ (Analysis Process) จะเรมิ่ ต้นจากการทเ่ี ราต้องไปสมั ภาษณ์ผู้ใช้งาน

ระบบเพอ่ื หาว่าผใู้ ชต้ อ้ งการใหร้ ะบบออกมาในลกั ษณะอยา่ งไร การสมั ภาษณ์ควรเน้นไปทภ่ี าพโดยรวมของ
ระบบมากกว่าท่ีจะลงในรายละเอียด และในระหว่างการสมั ภาษณ์เราจะได้ Use Case Diagram ออกมา
หลายไดอะแกรม จากนนั้ นาไดอะแกรมเหล่านนั้ ไปวเิ คราะหต์ ่อซง่ึ ผลลพั ธท์ เ่ี ราจะไดจ้ ากขนั้ ตอนน้คี อื Class
Diagram ต่าง ๆ ทเ่ี ป็นพน้ื ฐานของ ระบบ ซง่ึ เป็นขอบเขตโดยรวมเทา่ นนั้

ลาดบั ต่อไปเราจงึ สมั ภาษณ์เจาะลงไปในรายละเอยี ดของระบบ ซง่ึ เราจะคน้ พบว่า เราอาจมกี ารสรา้ ง
Use Case Diagram เพม่ิ เตมิ หรอื อาจนา use case ทม่ี อี ยแู่ ลว้ มาสรา้ งความสมั พนั ธแ์ บบ inclusion และ
extension ได้ ในขนั้ ตอนของการวเิ คราะหร์ ะบบสง่ิ ทส่ี าคญั ทส่ี ดุ คอื ความเขา้ ใจถงึ ขอบเขตของระบบอย่าง
แทจ้ รงิ เราตอ้ งแน่ใจวา่ สงิ่ ทเ่ี ราหามาไดเ้ ป็นสง่ิ ทจ่ี าเป็นต่อระบบจรงิ ๆ ไมเ่ ช่นนนั้ เราจะได้use case ต่าง ๆ
มากมายทอ่ี าจเป็นสว่ นเกนิ ของระบบ

29

บทที่ 8

30

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 8

1. จงอธิบายลกั ษณะทวั่ ไปของ Class Diagram
คลาส(Class) เป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั อยา่ งยง่ิ สาหรบั ระบบงานเชงิ วตั ถุ(Object – Oriented

System) คลาส เป็นการนาเอากลมุ่ ของวตั ถุมาอธบิ ายความหมายวตั ถุซง่ึ ถูกจดั ใหอ้ ยใู่ นคลาสเดยี วกนั จะมี
แอตทรบิ วิ ตโ์ อเปอเรชนั่ ,ความสมั พนั ธแ์ ละความหมายบางอยา่ งเหมอื นกนั โดยการจดั กลุ่มกนั เราสามารถทา
ไดท้ งั้ วตั ถุทเ่ี ป็นซอฟตแ์ วรแ์ ละฮารด์ แวร์

2. จงอธิบายองคป์ ระกอบของคลาส
1.ส่วนของช่ือคลาส ทุก ๆ คลาสจะตอง้ มกี ารกา หนดช่อื (name) เอาไวเ้ พ่อื แยกแยะจากคลาสอ่นื

ๆ โดยการตงั้ ช่อื จะใชต้ วั อกั ษรเป็นสตรงิ ธรรมดาทวั่ ไป (a-z, A-Z, 0-9) การตงั้ ชอ่ื มอี ย2ู่ ลกษั ณะคอื
1.1 simple name
1.2 path name

2.แอตทริบิวต์ (attribute) เป็นการบอกถงึ คุณสมบตั ขิ องคลาส คลาสๆหน่ึงอาจจะมแี อตทรบิ วิ ตไ์ ด้
ตงั้ แต่1ค่าขน้ึ ไปหรอื อาจเป็นคลาสท่ไี ม่มแี อตทรบิ วิ ต์กไ็ ดแ้ อตทรบิ วิ ต์จะแสดงถงึ คุณสมบตั ทิ ว่ี ตั ถุซ่งึ อยู่ใน
คลาสเดยี วกนั มรี ว่ มกนั หรอื ใชร้ ว่ มกนั

3.โอเปอรเ์ รชนั่ (Operations) คอื พฤตกิ รรมทเ่ี ราสามารถกระทากบั วตั ถุไดโ้ ดยทว่ี ตั ถุทงั้ หมดทอ่ี ยู่
ในคลาสเดยี วกนั จะมกี ารใชโ้ อเปอรเ์ รชนั่ ของคลาสของตนเองร่วมกนั คลาส ๆ หน่ึงสามารถมโี อเปอรเ์ รชนั่
ไดม้ ากกว่า 1 โอเปอรเ์ รชนั่ หรอื อาจจะไมม่ โี อเปอรเ์ รชนั่ เลยกไ็ ด้

3. จงบอกหน้าท่ีของคลาส
ในภาษา UML เราสามารถจะกาหนดภาระหน้าท่ีของคลาสได้ด้วยการใช้กลไกท่ีช่ือว่า

“responsibility” โดยท่ี responsibility จะเป็นการบ่งบอกถงึ ภาระหน้าท่ขี องคลาส เช่น คลาส Wall มหี น้าท่ี
จะต้องบอกถึงความสูง ความกว้างและความหนาของกาแพง ,คลาส FraudAgent เม่ือนาไปใช้กับ
แอพพลเิ คชนั่ เกย่ี วกบั บตั รเครดติ จะมหี น้าทใ่ี นการประมวลผลขอ้ มลู ว่าบตั รดงั กล่าวถูกตอ้ งตามกฎหมายอยู่
ในเกณฑน์ ่าสงสยั หรอื เป็นบตั รปลอมเป็นตน้

31

4. จงอธิบายการสร้างข้อบงั คบั ให้แก่คลาส
การสรา้ งขอ้ บงั คบั เพม่ิ เตมิ ใหแ้ ก่คลาสจะทาใหค้ ลาสมคี วามชดั จนมากขน้ึ ซง่ึ ในภาษา UML เราจะ

ใช้กลไกท่ชี ่อื ว่า Constrains มาอธบิ ายคลาสใหม่ความชดั เจนยงิ่ ขน้ึ การใช้constrains จะมรี ูปแบบง่ายๆ
โดยเขยี นอยภู่ ายในเครอ่ื งหมายวงเลบ็ ปีกกา

5. จงอธิบายการเขียนหมายเหตใุ ห้แก่คลาส
Attached Notes หรอื Note เป็นกลไกของภาษา UML ทใ่ี ชใ้ นการใหค้ า อธบิ ายแก่คลาส ในลกั ษณะ

ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ หรอื โน้ตย่อ เป็นเพยี งขอ้ มลู เสรมิ ไม่ใช่ขอ้ มลู ท่จี าเป็นจรงิ ๆ จะใส่หรอื ไม่ใส่กไ็ ดย้ กตวอั ย่าง
เชน่ จากคลาส customer เราอาจมกี ารใช้ Attached Note
{

Customer
id:Integer
name: String
position: String
department: String=”STD”
phoneNumber:Integer
}

6. จงอธิบายการสรา้ งตวั แทนของคลาสด้วย Object Diagram
การสรา้ งตวั แทนของคลาสดว้ ย Object Diagramตามนิยามของหลกั การเชงิ วตั ถุ (Object-Oriented

Principles) แลว้ วตั ถุเป็นอนิ สแตนซ์ (instance) ของคลาสทงั้ น้ีเน่ืองจากเมอ่ื เรากาหนดคลาสขน้ึ มา เราจะ
ไมส่ ามารถนาคลาสนัน้ ไปใชไ้ ด้โดยตรงแต่จะตอ้ งสรา้ งอนิ สแตนซข์ องคลาสขน้ึ มา ซง่ึ การสรา้ งอนิ สแตนซ์
ของคลาสกค็ อื การสรา้ งวตั ถุนัน่ เองวตั ถุจะมคี ุณลกษั ณะและพฤตกิ รรมท่เี ฉพาะเจาะจง เช่น ถ้าเรากาหนด
คลาสเป็นคลาสของเคร่อื งพมิ พซ์ ง่ึ มแี อตทรบิ วิ ตเ์์ป็นยห่ี อ้ ช่ือรุ่น และราคานัน่ คอื วตั ถุท่เี ราสรา้ งอาจเป็น
เคร่อื งพมิ พ์ยห่ี อ้ HP รุ่น Photosmart7800 และมรี าคา 4,990 บาท เป็นต้นการวาดสญั ลกั ษณ์แทน
วตั ถุจะมลี กษั ณะเดยี วกบั สญั ลกั ษณ์ของคลาสทุกประการแต่จะมกี ารขดี เสน้ ใต้ท่ชี ่อื ของวตั ถุและช่อื คลาส
ของวตั ถุนนั้ โดยมเี คร่อื งหมายโคลอ่ น ( : )

32

บทที่ 9

33

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 9

34

บทท่ี 10

35

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 10

จงเขยี น State Diagram จากโจทยท์ ก่ี าหนดใหต้ ่อไปน้ี (ms Word) ผู้ใชร้ ะบบถอนเงนิ จากตู้เอทเี อ็ม สง่ิ ท่ี
เกดิ ขน้ึ ในระบบมลี าดบั ขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี
1. ผใู้ ชส้ อดบตั รเอทเี อม็
2. ตเู้ อทเี อม็ แสดงขอ้ ความใหใ้ ส่รหสั ผา่ น
3. ผใู้ ชป้ ้อนรหสั ผ่าน
4. ผใู้ ชก้ ดป่มุ ตกลง
5. ตเู้ อทเี อม็ ตรวจสอบรหสั ผ่าน
6. ตเู้ อทเี อม็ แสดงรายการใหเ้ ลอื กถอนเงนิ
7. ผใู้ ชป้ ้อนจานวนเงนิ ทต่ี อ้ งการ
8. ตเู้ อทเี อม็ จา่ ยเงนิ

36

บทท่ี 11

37

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 11

จงเขยี น Activity Diagram จากโจทยท์ ก่ี าหนดใหต้ ่อไปน้(ี Ms Word)
ผใู้ ชร้ ะบบถอนเงนิ จากตเู้ อทเี อม็ สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระบบมลี าดบั ขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี
1. ผใู้ ชส้ อดบตั รเอทเี อม็
2. ตเู้ อทเี อม็ แสดงขอ้ ความใหใ้ ส่รหสั ผ่าน
3. ผใู้ ชป้ ้อนรหสั ผ่าน
4. ผใู้ ชก้ ดป่มุ ตกลง
5. ตเู้ อทเี อม็ ตรวจสอบรหสั ผ่าน
6. ตเู้ อทเี อม็ แสดงรายการใหเ้ ลอื กถอนเงนิ
7. ผใู้ ชป้ ้อนจานวนเงนิ ทต่ี อ้ งการ
8. ตเู้ อทเี อม็ จา่ ยเงนิ

38

39

บทท่ี 12

40

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 12

จงเขยี น Component Diagram ของการทางานของเครอ่ื ง ATM หน้าวทิ ยาลยั เทคนคิ ตรงั ต่อเชอ่ื มกบั
สานกั งานใหญ่ของธนาคาร (MS WORD)
- เตมิ ช่องว่างใหส้ มบูรณ์

41

บทท่ี 13

42

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 13

จงเขยี น Deployment Diagram ของการทางานของเครอ่ื ง ATMหน้าวทิ ยาลยั เทคนิคตรงั ต่อเช่อื มกบั
สานกั งานใหญ่ของธนาคารและเตมิ ขอ้ ความใหส้ มบรู ณ์

43

บทท่ี 14

44

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 14

1. การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบใหม่ ต้องพิจารณาความเป็นไปได้ด้านใดบ้าง จงอธิบาย
1. ความเป็นไปไดท้ างเทคนิค (Technical Feasibility)
2. ความเป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน (Operational Feasibility)
3. ความเป็นไปไดใ้ นเชงิ เศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility)

2. หลกั การในการรวบรวม Requirements เพื่อให้ประสบผลสาเรจ็ มอี ะไรบ้าง จงอธิบาย
1. ตรงกบั วตั ถุประสงคแ์ ละหาขอ้ มลู กบั บุคคลทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยตรง
2.ควรระบคุ วามตอ้ งการต่าง ๆ ลงในรปู ของเอกสารและเขา้ ใจทงั้ สองฝ่าย
3.Requirements ทด่ี ตี อ้ งตกลงรว่ มกนั ทงั้ สองฝ่ายอยา่ คดิ วเิ คราะหห์ รอื ออกแบบเองทงั้ หมด
4.คาจากดั ความบนเอกสารต่าง ๆ ตอ้ งชดั เจน
5.เป็นการยากในการหา Requirements ทส่ี มบูรณ์แบบดว้ ยการหาขอ้ มลู เพยี งครงั้ เดยี ว ดังนนั้ ควร

ยอมรบั การเปลย่ี นแปลงภายภาคหน้า

3. วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู สามารถค้นหาจากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ อะไรบ้าง จงอธิบาย
1. เอกสาร(Documentation)
2. แบบสอบถาม(Questionnaires)
3. การสมั ภาษณ์(Interview)
4. การสงั เกต(Observation)

4. คาถามปลายเปิ ดและปลายปิ ด มีความแตกต่างกนั อย่างไร และมีข้อดีข้อเสียอย่างไร จงอธิบาย
เพ่ือให้การสมั ภาษณ์เกิดผลท่ีดี ควรปฏิบตั ิอย่างไร

คาถามปลายเปิด คอื คาถามท่สี รา้ งขน้ึ เพ่อื ให้ผู้ตอบแบบสอบถามมอี สิ ระในการตอบ ไม่ควรตงั้
คาถามในลกั ษณะทก่ี วา้ งเกนิ ไป

คาถามปลายปิด คอื คาถามทม่ี กี ารกาหนดคาตอบใหผ้ ู้ตอบแบบสอบถาม คาถามประเภทน้ีควรมี
รายการคาตอบทช่ี ดั เจน

45

บทท่ี 15

46

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 15

1. สาเหตทุ ่ีต้องออกแบบเอาตพ์ ตุ ก่อนการออกแบบอินพตุ เพราะอะไร
การออกแบบเอาตพ์ ุต จะตอ้ งคานึงถงึ ก่อนการออกแบบขอ้ มลู เขา้ ดว้ ยเหตุผลสาคญั คอื รปู แบบของ

รายงานทท่ี าการออกแบบ ทาใหไ้ ดข้ อ้ มลู นาเชา้ ดงั นนั้ การออกแบบรายงานจงึ ทาใหท้ ราบถงึ ขอ้ มลู ทน่ี าเขา้ ท่ี
จาเป็นตอ้ งป้อนส่รู ะบบ

2. Report layout form คืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร จงอธิบาย
เป็นสง่ิ สาคญั เพ่อื ใชใ้ นการตดั สนิ ใจไดว้ ่า มรี ายละเอยี ดของขอ้ มลู ใดบ้างในรายงาน โดยเอาต์พุตท่ี

ออกแบบนนั้ จะต้องตรงกบั ความตอ้ งการ ( Requirements ) รวมทงั้ พจนานุกรมขอ้ มลู ( Data Dictionary )
ท่ที าให้ทราบถงึ ประเภทขอ้ มูล ทราบถึงขนาดความกว้างข้อมูล ทาให้สามารถกาหนดจานวนคอลมั น์ท่ี
ตอ้ งการใชใ้ นรายงานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง โดยรายละเอยี ดทเ่ี ขยี นลงในแบบฟอรม์ อาจใชข้ อ้ ความหรอื ใชต้ วั อกั ษร
X เพ่อื แทนขอ้ มลู ตวั อกั ษรและเลข 9 เพอ่ื แทนขอ้ มลู ตวั เลข

3. ชนิดของเอาตพ์ ตุ มีอะไรบ้าง
1.รายงาน ( Report )
2. เอกสาร ( Document )
3.ขอ้ ความ ( Message )

4. จงบอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการออกแบบเอาตพ์ ตุ
1. ใชส้ าหรบั ตดิ ต่อส่อื สารระหวา่ งการดาเนนิ กจิ กรรม
2. ใชร้ ายงานเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระบบ
3. แสดงกลไกหรอื กระบวนการทางาน
4. เป็นสงั่ ยนื ยนั วา่ ไดเ้ กดิ การทางานจรงิ

5. การออกแบบรายงานเพ่ือใช้งาน ควรพิจารณาในด้านใดบ้าง
1.การออกแบบรายงานเพ่อื ตอบสนองต่อความตอ้ งการของผใู้ ชร้ ะบบ
2.การออกแบบรายงานใหเ้ หมาะสมต่อผใู้ ชร้ ะบบ
3.ส่งมอบรายงานตามจานวนทผ่ี ใู้ ชร้ ะบบตอ้ งการ

47

4.ใหแ้ น่ใจว่ารายงานไดอ้ ยใู่ นตาแหน่งทเ่ี หมาะสม
5.รายงานถกู ส่งมอบใหก้ บั ผใู้ ชร้ ะบบตามเวลาทก่ี าหนด
6.เลอื กวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมสาหรบั รายงานแต่ละแบบ

6. รปู แบบรายงานที่ดีควรประกอบด้วยรายละเอียดใดบ้าง
รายงานท่ีดีควรประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วนดังน้ีคือ ส่วนประกอบตอนต้น หรือส่วนนา

สว่ นประกอบตอนกลางหรอื ส่วนเน้อื เรอ่ื ง และส่วนประกอบตอนทา้ ย
1. ส่วนประกอบตอนต้น หรือส่วนนา คือส่วนท่ีอยู่ตอนต้นเล่มของรายงานก่อนถึงเน้ือเร่ือง

ประกอบดว้ ย ปกนอก หน้าปกใน คานา สารบญั บญั ชตี าราง บญั ชภี าพประกอบ
2. ส่วนประกอบตอนกลาง หรอื ส่วนเน้ือเร่อื ง คอื ส่วนทอ่ี ยตู่ ่อจากส่วนประกอบตอนต้นหรอื ส่วนนา

เป็นส่วนทส่ี าคญั ทส่ี ุดของรายงาน เพราะจะครอบคลุมเน้ือเร่อื งทงั้ หมดของรายงานตามโครงเร่อื งทก่ี าหนด
ไว้ หรอื ตามหวั ขอ้ ทแ่ี จง้ ไวใ้ นสารบญั

3. ส่วนประกอบตอนท้าย คอื ส่วนเพมิ่ เตมิ ให้ทราบถงึ ความพยายามหรอื แนวค้นคว้าของผู้จดั ทา
รายงาน ตลอดจนสว่ นทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ อู้ ่านหรอื ผใู้ ชป้ ระโยชน์จากรายงานสามารถตรวจสอบคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ

7. Screen layout form คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร
มลี กั ษณะคล้ายกบั แบบฟอร์มของการออกแบบเอาต์พุต แต่จานวนแถวและคอลมั น์จะถูกจากัด

กลา่ วคอื จอภาพปกตทิ แ่ี สดงผลในลกั ษณะของขอ้ ความจะมจี านวน 25 แถว 80 คอลมั น์


Click to View FlipBook Version