ววิ ัฒนาการของการบญั ชี (ต่อ)
ประวัตยิ าวนานมาก่อน ค.ศ.1,000 ปี แล้ว ตัง้ แต่สมัยอียปิ ต์
หลักฐานการจดบันทกึ ในท้องพระคลัง เช่น พชื ผล ส่งิ ทอ
สมัยบาบโิ ลเนียพบบนั ทกึ ข้อมูลแสดงการรับ การผลติ และ
หนีส้ ินในสมัยกรีกพบ หลักฐานแสดงรายรับ รายจ่าย ยอด
คงเหลือของรายการ และยอดคงเหลือของสนิ ค้า
สมัยราชวงศ์ชางรัฐใช้การจัดทําบัญชีเป็ นเคร่ืองมือในการ
ควบคุมการครอบครองทรัพย์สนิ ของประชาชน
ววิ ัฒนาการของการบญั ชี (ต่อ)
สมัยโรมันพบหลักฐานการบนั ทกึ รายการไว้ทัง้ สองด้านคล้ายบัญชีคู่
ในสมัยฟิ วดัลลซิ มึ ในยุโรปมีการจดบันทกึ ข้อมูลเก่ียวกับค่าเช่าท่ีดนิ
ศตวรรษท่ี 13 ในปี ค.ศ.1494 หรือประเทศไทยเร่ิมมีตัง้ แต่สมัยอยุธยา
ในช่วง ตรงกับสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช บัญชีท่ีถกู จัดทาํ ขนึ้
เป็ นบญั ชีแรก คือบญั ชีเงนิ สดและได้ปฏบิ ัตมิ า ถงึ สมัยรัชกาลท่ี 5
ได้เร่ิมจัดทาํ บัญชีเงนิ พระคลัง เป็ นหมวดหมู่ และวชิ าการบัญชีเร่ิมมี
การศกึ ษาครัง้ แรกในสมัยรัชกาลท่ี 5
ววิ ัฒนาการของการบญั ชี (ต่อ)
สมัยรัชกาลท่ี 6 พระองค์ทรงโปรดคัดเลือกบุตรราชการส่งไปเรียน
ด้านพาณิชย์และบัญชีท่ปี ระเทศอังกฤษ จากนัน้ ทรงโปรดให้ตัง้ โรงเรียน
พาณิชยการขึน้ 2 แห่ง คือโรงเรียนพาณิชยการวัดสามพระยาและ
โรงเรียนพาณิชยการวัดแก้วฟ้ า โดยมีการสอนบัญชีคู่เป็ นครั้งแรกใน
โรงเรียน มีบัญชีเพียง 3 เล่ม คือสมุดบัญชีเงนิ สด สมุดรายวันและสมุด
แยกประเภท ปี พ.ศ. 2481 ได้จัดตัง้ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
ขนึ้ ในจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยและมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ววิ ัฒนาการของการบญั ชี (ต่อ)
ในปี 2491 ได้จัดตัง้ สมาคมนักบัญชีแห่งประเทศไทย ในปี 2518 ได้
เปล่ียนช่ือเป็ นสมาคม นักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศ
ไทย ปี 2505 มีพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชีเป็ นกฎหมายว่าด้วยผู้สอบ
บัญชีฉบับแรก ปี 2547 เกิดสภาวชิ าชีพบัญชีตมพระราชบัญญัตวิ ิชาชีพ
บัญชี และปี 2548 ได้โอนสินทรัพย์สุทธิไปยังสภาวิชาชีพบัญชีโดยมี
ศาสตราจารย์เกษรี ณรงค์เดช เป็ นนายกสภาวิชาชีพบัญชีคนแรกของ
ประเทศไทย
ความหมายของการบญั ชี
การบัญชีหมายถงึ “ ศิลปะของการจดบันทกึ รายการหรือ
เหตุการณ์ทเ่ี กย่ี วกบั การเงนิ ในรูปของเงนิ ตรา การจดั หมวดหมู่
หรือจาํ แนกประเภทของรายการทบ่ี ันทกึ ไว้โดยนํามาสรุปผลใน
รูปแบบของรายงานทางการเงนิ และแปลความหมายของผล
น้ันๆ ”
การบญั ชี สามารถสรุปเป็ นขัน้ ตอนตามลาํ ดบั ดงั นี้
1.การจดบนั ทกึ (recording)
2.การจัดหมวดหมู่ของรายการ (classifying)
3.การสรุปผล (summarizing)
4.การวเิ คราะห์และแปลความหมาย (analysis and
interpreting)
หน้าท่ผี ู้ทาํ บญั ชีและนักบญั ชี
ผู้ทาํ บัญชี (bookkeeper) หมายถงึ ผู้ทาํ หน้าท่ีบนั ทกึ รายการค้าของธุรกจิ
นักการบญั ชี (accountant) หมายถงึ ผู้วางระบบในรูปของงานการบญั ชี
การวางระบบบญั ชี จัดทาํ รายงานทางบญั ชี จัดทาํ งบประมาณและตรวจสอบ
การบญั ชี
รายงานทางบญั ชี
รายงานงบการเงนิ (financial statements)เพ่อื ให้ทราบถงึ ผล
การดาํ เนินงานและฐานะทางการเงนิ ของธุรกจิ
รายงานทางการบริหาร (managerial reports) เพ่ือนําไปใช้
ประโยชน์ต่อการตดั สินใจ การวางแผน การควบคุมและการ
ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน
รายงานเฉพาะ (special reports) เพ่อื เสนอหน่วยงานภาครัฐ
ผู้ใช้ข้อมูลทางบญั ชี
ผู้ใช้ข้อมูลทางการบญั ชี ประโยชน์ท่ไี ด้รับ
1. เจ้าของ, ผ้ถู ือห้นุ 1. ประเมนิ ผลการดําเนินงานของธรุ กิจ
2. นกั ลงทนุ ที่มศี กั ยภาพ, เจ้าหนี ้ 2. ตดั สนิ ใจเพ่ือการลงทนุ
3. ผ้บู ริหาร 3. วางแผนและการควบคมุ
4. ลกู จ้าง, สหภาพแรงงาน 4. ใช้ในการเจรจาต่อรองสญั ญาตา่ งๆ
5. ผ้ใู ห้ก้,ู ผ้จู ดั หา 5. ประเมนิ การให้สนิ เช่อื
6. สว่ นราชการ นกั วางแผนด้านเศรษฐกิจ กลมุ่ ลกู ค้า 6. ประเมนิ ภาษีที่จะต้องจา่ ยพจิ ารณาการออก
ห้นุ สามญั และห้นุ ก้ใู หม่
ประโยชน์ของข้อมูลทางการบญั ชี
เพ่อื ให้มีการจดบนั ทกึ หลักฐานต่างๆ
เพ่อื ให้ทราบฐานะการเงนิ ของธุรกจิ
เพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมูลไว้เป็ นสถติ ิ
เพ่อื เป็ นข้อมูลให้สถาบนั การเงนิ สามารถนําข้อมูลมาใช้ในการพจิ ารณา
การให้สนิ เช่ือแกธุรกจิ
เพ่ือสามารถควบคุมและดูแลรักษาสนิ ทรัพย์ของกจิ การได้
ข้อมูลทางการเงนิ ขงิ กจิ การตัดสนิ ใจในการลงทุน
หลักฐานในการเสียภาษีให้กับสรรพากร
เพ่อื ให้บุคคลภายนอกทราบข้อมูลทางการเงนิ เพ่ือใช้ประโยชน์ในการซือ้
ขายสนิ ค้าได้
อาชีพของนักบัญชี
1.การบญั ชีส่วนบุคคล (private )accounting
2.การบญั ชีสาธารณะ (public )accounting
3.การบญั ชีรัฐบาล (government )accounting
4.การบญั ชีเพ่อื การศกึ ษา (accounting )education
การบัญชีการเงนิ และการบญั ชีบริหาร
1.การบัญชีการเงนิ หมายถงึ การทาํ บญั ชีเพ่ือบนั ทกึ สนิ ทรัพย์ หนีส้ นิ
ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่ายรวมถงึ ผลกาํ ไรและขาดทุนท่เี กดิ ขนึ้
จากการดาํ เนินงานของกจิ การ ตามมาตรฐานการบญั ชี เพ่อื จัดทาํ งบการเงนิ
เสนอต่อเจ้าของกจิ การ หรือบุคคลภายนอก
2.การบญั ชีบริหาร เป็ นการบญั ชีท่ีจัดทาํ ขนึ้ เพ่อื การจัดทาํ รายงานทางการ
เงนิ นําเสนอต่อฝ่ ายบริหารในองค์กร และข้อมูลทางการเงนิ เพ่ือช่วยในการ
บริการงานของฝ่ ายต่างๆ ทัง้ ทางด้านการวางแผนและควบคุมกจิ การ
ประเภทของธุรกจิ
1. การแบ่งประเภทธุรกจิ โดยยดึ ตามกฎหมาย แบ่งได้ 3 ประเภท
1.1 กจิ การเจ้าของคนเดียว
1.2 ห้างหุ้นส่วน
1.2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ
1.2.1.1 ห้างหุ้นส่วนสามญั มีฐานะเป็ นบุคคลธรรมดา
1.2.1.2 ห้างหุ้นส่วนสามญั นิตบิ ุคคลมีฐานะเป็ นนิตบิ คุ คล
1.2.2 ห้างหุ้นส่วนจาํ กัด
1.2.2.1 ห้นุ ส่วนประเภทจาํ กัดความรับผดิ ชอบ
1.2.2.2 ห้นุ ส่วนประเภทไม่จาํ กัดความรับผิดชอบ
1.3 บริษัทจาํ กัด
1.3.1 บริษัทเอกชน
1.3.2 บริษัทมหาชนจาํ กัด
ประเภทของธุรกจิ (ต่อ)
2. การแบ่งประเภทของธุรกจิ ตามรูปแบบขององค์กรธุรกจิ แบ่งได้ 3
ประเภทดงั นี้
2.1 ธุรกจิ บริการ เช่น สาํ นักงานรับทาํ บญั ชี สาํ นักงานทนายความ
ร้านตัดผม โรงแรม ธนาคาร เป็ นต้น
2.2 ธุรกจิ พาณิชยกรรม หรือธุรกจิ ซือ้ มาขายไป เช่น ห้างสรรพสนิ ค้า
ร้านขายเสือ้ ผ้าสาํ เร็จรูป ร้านขายนาฬิกา เป็ นต้น
2.3 ธุรกจิ อุตสาหกรรม ธุรกจิ ผลติ ธุรกจิ ประเภทนีจ้ ะมีการผลติ
สนิ ค้าขนึ้ เองแล้วนําออกจาํ หน่าย เช่น โรงงานผลติ เสือ้ ผ้า
โรงงานผลติ อาหารสาํ เร็จรูป โรงงานผลติ หลอดไฟฟ้ า
โรงงานผลติ รถยนต์ เป็ นต้น
แม่บทการบญั ชี
1. วัตถุประสงค์ของแม่บทการบัญชี
1.1 เพ่อื เป็ นแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการบญั ชี
1.2 เพ่อื เป็ นแนวทางให้องค์กรท่จี ัดทาํ มาตรฐานการบัญชี
1.3 เพ่อื เป็ นแนวทางสาํ หรับผู้จัดทาํ งบการเงนิ ในการนาํ มาตรฐาน
การบญั ชีมาปฏบิ ตั ิ
1.4 เพ่อื เป็ นแนวทางสาํ หรับผู้สอบบญั ชี
1.5 เพ่ือให้ผู้สนใจได้ทราบข้อมูล ในการกาํ หนดมาตรฐานการบัญชี
แม่บทการบญั ชี (ต่อ)
2. ขอบเขตของแม่บทการบัญชี
2.1 วัตถุประสงค์ของงบการเงนิ
2.2 ลักษณะเชงิ คุณภาพ
2.3 การรับรู้และวัดมูลค่า
2.4 แนวคดิ เก่ียวกับทุนและการรักษาระดบั ทุน
3. ผู้ใช้งบการเงนิ และความต้องการข้อมูล
4. วัตถุประสงค์ของงบการเงนิ
แม่บทการบญั ชี (ต่อ)
5. ข้อสมมตใิ นการจดั ทาํ งบการเงนิ
5.1 เกณฑ์คงค้าง
5.2 การดาํ เนินงานต่อเน่ือง
6. ลักษณะเชงิ คุณภาพของงบการเงนิ
6.1 ความเข้าใจได้
6.2 ความเก่ียวข้องกบั การตัดสินใจ
6.3 ความเช่ือถอื
6.3.1 การเป็ นตัวแทนอนั เท่ยี งธรรม
6.3.2 เนือ้ หาสาํ คญั กว่ารูปแบบ
6.3.3 ความเป็ นกลาง
6.3.4 ความระมัดระวัง
6.3.5 ความครบถ้วน
6.4 การเปรียบเทยี บกนั ได้
แม่บทการบญั ชี (ต่อ)
7.ข้อจาํ กัดของข้อมูลท่มี ีความเก่ยี วข้องกบั การตัดสนิ ใจและความ
เช่ือถอื ได้
7.1 ทนั ต่อเวลา
7.2 ความสมดุลระหว่างประโยชน์ท่ีได้รับกับต้นทุนท่เี สียไป
7.3 ความสมดุลของลักษณะเชงิ คุณภาพ
7.4 การแสดงข้อมูลท่ถี ูกต้องตามควร
8.องค์ประกอบของงบการเงนิ
8.1 องค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงนิ ได้แก่
สนิ ทรัพย์ หนีส้ นิ และส่วนของเจ้าของ
8.2 องค์ประกอบท่เี ก่ียวข้องโดยตรงกับการวัดผลการดาํ เนินงาน
ได้แก่ รายได้ และค่าใช้จ่าย
แม่บทการบญั ชี (ต่อ)
9. การรับรู้รายการขององค์ประกอบของงบการเงนิ การรวมรายการเข้เป็ น
ส่วนหน่ึงของงบการแสดงฐานะการเงนิ หรือ งบกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสร็จ
10. การวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงนิ กระบวนการกาํ หนดจาํ นวนท่ี
เป็ นตัวเงนิ เพ่อื รับรู้องค์ประกอบของงบการเงนิ ในงบแสดงฐานะการเงนิ
และงบกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสร็จ
10.1 ราคาทุนเดมิ
10.2 ราคาปัจจุบัน
10.3 มูลค่าท่ีได้รับ (จ่าย)
10.4 มูลค่าปัจจุบนั
แม่บทการบญั ชี (ต่อ)
11. แนวคดิ เก่ียวกับทุนและการรักษาระดับทุน
11.1 แนวคดิ เก่ียวกับทุน เป็ นแนวคดิ เก่ียวกับทุนทางการเงนิ ท่ใี ช้ใน
การจัดทาํ งบการเงนิ
11.2 แนวคดิ การรักษาระดบั ทุนและการวัดผลกาํ ไร เป็ นแนวคดิ ท่ี
กจิ การต้องการรักษาระดับทุน โดยการเช่ือมโยงแนวคดิ
เก่ียวกับทุนและกาํ ไร
สรุป
- การบันทึกบัญชีมีประวัติมายาวนานแล้วซ่ึงเกิดขึน้ ประมาณ 5,000 ปี
มาแล้ว ประเทศไทยเร่ิมมีการศกึ ษาวชิ าบัญชีในสมัยรัชกาลท่ี 5
- การบัญชี ศิลปะของการวเิ คราะห์ จดบันทกึ จาํ แนก จัดหมวดหมู่สรุป
เหตุการณ์ต่างๆ และแปลความหมายของผลการดําเนินงานท่ีเกิดขึน้ เพ่ือ
นําเสนอข้อมูลต่อผู้บริหารและบุคคลภายนอก
- ผู้ทาํ บัญชี แตกต่างจากนักบัญชี คือผู้ทาํ บัญชีเป็ นผู้รวบรวมข้อมูลตาม
เหตุการณ์ท่ีเกิดขึน้ ตามขัน้ ตอนท่ีได้กําหนดไว้ ส่วนนักบัญชีจะเป็ นผู้จดวาง
ระบบและควบคุมการบันทกึ ข้อมูลเพ่อื ยืนยนั ความถูกต้อง
- การบัญชีการเงนิ เป็ นการเสนอข้อมูลทางการเงนิ ให้แก่บุคคลภายนอก
เพ่อื ใช้ในการตัดสนิ ใจลงทุนและให้บริการด้านสนิ เช่ือ
- การบัญชีบริหาร เป็ นการเสนอข้อมูลให้ผู้บริหารของกิจการทราบ
เพ่ือท่จี ะปรับปรุงและแก้ไขการดาํ เนินงานของกจิ การ
- รายงานทางบัญชี ประกอบด้วย รายงานการเงนิ รายงานทางการบริหาร
รายงานเฉพาะประเภทของธุรกจิ
- แม่บทบัญชี สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศ
ไทย วางแผนแนวคดิ ท่เี ป็ นพืน้ ฐานในการจัดทาํ และนําเสนองบการเงนิ ต่อผู้ใช้
งบการเงนิ ท่เี ป็ นบุคคลภายนอก
..............จบ..............