The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรม SOMPOI MODEL
กศน.ตำบลส้มป่อย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นวัตกรรม SOMPOI MODEL

นวัตกรรม SOMPOI MODEL
กศน.ตำบลส้มป่อย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ

1

2

คำนำ

กศน.ตำบลส้มป่อย อำเภอจัตุรัส สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
จัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ได้จดั ทำรายงานการ “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักศึกษา กศน. ตำบลส้มป่อย
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของ กศน . ตำบลส้มป่อย
ด้วยรูปแบบ SOMPOI MODEL.” เป็นนวัตกรรมพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา
ภายใต้สถานการณ์ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า โควิด-19 ตามมาตรการป้องกันโรคติดต่อของรัฐบาล
ซ่ึงคณะครูได้นำมาเป็นกรอบในการจัดกระบวนการเรียนรู้มาสู่การปฏิบัติด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายตามความ
ต้องการและความพร้อมของผู้เรียน ที่มีความแตกต่างทั้ง อายุ อาชีพ และส่ืออุปกรณ์การเรียนรู้ อย่างเป็น
รูปธรรมและมีประสิทธิภาพ ซ่ึงนวัตกรรมดังกล่าวสามารถนำไปเป็นต้นแบบหรือพัฒนาต่อยอดเพ่ือพัฒนา
ผ้เู รียนใหม้ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหส้ ูงขนึ้ ไดจ้ ริง

คณะครกู ศน.ตำบลส้มป่อย หวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่า รายงานฉบับนจี้ ะเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ี่สนใจและกำลัง
ศึกษาเพื่อหาข้อมูลในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แก่ผู้เรียนหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

กศน.ตำบลสม้ ปอ่ ย
มนี าคม 2565

สารบญั 3

เรื่อง หนา้

ชอ่ื ผลงาน 1
ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเนน้ ตน้ สงั กัด 2
ความสำคญั และความเป็นมา 2
วัตถปุ ระสงค์ 2
วิธดี ำเนนิ การ 2
ตวั ช้ีวัดและความสำเรจ็ 3
การประเมินผลและเคร่ืองมอื การประเมินผล 4
ผลการดำเนนิ งาน (ผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงคแ์ ละตัวชว้ี ดั ) 4
บทสรุป 6
กลยทุ ธห์ รอื ปจั จยั ที่ทำใหป้ ระสบผลสำเร็จ 6
ขอ้ เสนอแนะ 6
อา้ งอิง
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง 4

ตารางที่ หน้า
1 สรปุ จำนวนนักศกึ ษา กศน.ตำบลสม้ ปอ่ ย ภาคเรียนที่ 2/2564 6
2 สรปุ จำนวนนักศกึ ษาและความตอ้ งการการเรยี นรู้วิธีการรู้ 6
17
กศน.ตำบลสม้ ป่อย ภาคเรียนที่ 2/2564
3 เปรียบเทยี บผลการสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ภาคเรยี นที่ 1/2564

กบั ภาคเรียนท่ี 2/2564

5

นวตั กรรม (Innovation)

1. “การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น นักศกึ ษา กศน. ตำบลสม้ ป่อย
2. หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
1. ชอ่ื ผลงาน ด้วยรปู แบบ SOMPOI MODEL.”
กศน.อำเภอจตั ุรสั จังหวดั ชยั ภูมิ
2. สังกัด กศน.ตำบลส้มป่อย
3. จัดทำโดย 044-852115 โทรสาร 044-852115
นางจิตมาษ ฉัตรวชิ ัย ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอจัตรุ สั
โทรศพั ท์
ผู้บริหาร

6

4. ความสอดคล้องกบั นโยบายหรอื จดุ เนน้ ต้นสงั กดั

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ของ กศน. ตำบลส้มป่อย ด้วยรูปแบบ SOMPOI MODEL. มีความสอดคล้องกับนโยบาย
และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2565 ดงั น้ี

จดุ เนน้ การดำเนนิ งานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
1. ดา้ นการจัดการเรยี นรูค้ ุณภาพ

1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือให้
ผเู้ รียนสามารถถงึ การประเมนิ ผลกาเรยี นรูไ้ ด้ตามความตอ้ งการ

1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเอง
ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้
ใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมายทสี่ ามารถเรยี นร้ไู ดส้ ะดวก และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผู้เรยี น

1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน.
ตลอดจนพัฒนาสื่อการเรียนรู้ทัง้ ในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์ และให้มคี ลังสื่อการเรียนรู้ท่เี ป็นสื่อที่ถูกต้อง
ตามกฎหมาย ง่ายตอ่ การสืบคน้ และนำไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้

1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ทั้งในระบบ On site และ On line
รวมทั้งสง่ เสรมิ การวจิ ัยเพ่ือเป็นฐานในการพัฒนาการดำนเนงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย

2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ
2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เน้นการพัฒนาทักษะท่ีจำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และ

การจัดการศึกษาและการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะกลุ่มเปา้ หมายและบรบิ ทของพนื้ ท่ี
3. ดา้ นองค์กร สถานศกึ ษา และแหล่งเรยี นรู้คุณภาพ
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน. ตำบล และศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”

(ศศช.) ใหม้ คี วามพรอ้ มเพือ่ เป็นพน้ื ท่ีการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ท่ีสำคญั ของชมุ ชน
3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพ่ือเพิ่มอัตรา

การอ่านและการรู้หนังสอื ของประชาชน
3.5 สง่ เสริมและสนบั สนุนการสรา้ งพื้นทก่ี ารเรียนรู้ในรปู แบบ Public Learning Space/

Co- learning Space เพ่อื การสร้างนเิ วศการเรียนรูใ้ หเ้ กิดข้ึนในสงั คม

กศน.ตำบลส้มป่อย สงั กัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอจัตุรัส สำนักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชัยภูมิ ในฐานะหน่วยจัดการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในระดบั พน้ื ท่ี ซงึ่ มีหน้าท่ีนำนโยบายตน้ สังกัดมาสกู่ ารปฏิบตั ิ เพ่ือพัฒนาการศึกษา
และคณุ ภาพใหก้ ับประชาชนในพ้ืนทอ่ี ย่างเป็นรปู ธรรมทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในปจั จบุ ันท่ีสังคมไทยและ
สังคมโลกก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล และขณะเดียวกันก็มีความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ครู กศน. ก็ต้อง
พร้อมท่ีจะเรียนรู้และปรับตวั ในการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายให้สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบท
ของชุมชน โดยมีเป้าประสงค์เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงและอยู่ร่วมกับ

7

ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สอดรับกับนโยบายของสถานศึกษาและนโยบาย ด้านการศึกษาของชาติ.ท่ีมุ่งให้
สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายตรงกับ ความต้องการของผู้เรียน โดยเน้น
ผู้เรยี นเป็นสำคัญ และยึดหลักของความเสมอภาคดา้ นการเรียน

การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ควบคู่กับการปฏิรูปท่ีสำคัญ โดยปฏิรูปการเรียนร้แู บบพลิกโฉม
ในทุกระดับต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนา
ผเู้ รยี นให้สามารถไดร้ บั การเรยี นร้ทู ี่เหมาะสมกบั ตนเองได้อยา่ งต่อเนื่องแม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว ท้ังนี้
เพอ่ื ให้ผเู้ รยี น มีศักยภาพและมีคณุ ภาพและนำความรู้ที่ได้รบั ไปพฒั นาตนเอง ครอบครัวและประเทศชาติต่อไป
ในอนาคต

5. ความสำคญั และความเป็นมา

ทรัพยากรมนุษย์ เป็นปัจจัยขับเคล่อื นสำคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมาย
จึงจำเป็นต้องมีการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา
และยกระดับคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีดี เก่ง และมีคุณภาพพร้อมขับเคล่ือน
การพัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ดังนั้น เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์ในทุกมิติและในทุกช่วงวัย
สามารถได้รับการพัฒนาและยกระดับได้เต็มศักยภาพและเหมาะสม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่เน้นท้ังการแก้ไขปัญหาการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน และการเสริมสร้างและยกระดับการพัฒนา โดยปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม
ในทุกระดับต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนา
ผเู้ รียนใหส้ ามารถได้รับการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ตนเองได้อย่างตอ่ เนือ่ ง ประเด็นยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง
ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นผู้เรียนให้เรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่
การเปล่ียนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ด้วยการวางพ้ืนฐานระบบรองรับการเรียนรู้ โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มและการสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็น
เลิศทางวิชาการ มีการพัฒนาระบบ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ โดยเน้นการจัดระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรม
ฐานสมรรถนะท่ีมีคุณภาพสูงและยืดหยุ่นผ่านการพัฒนากลไกต่าง ๆ อาทิการพัฒนาการศึกษาออนไลน์และ
เปิดการพัฒนาระบบการเรียนรู้เก่ียวกับทักษะการรู้ดิจิทัล พัฒนาระบบการเรียนรู้ในชุมชนที่เข้าถึงความรู้ได้
ทุกที่ ทุกเวลา ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพ้ืนท่ีเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต รวมถึงการเรียนรู้
และทบทวนทักษะพื้นฐาน ได้แก่ การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชน
และภาคประชาสังคมการพัฒนาทัศนคตแิ ละแรงบันดาลใจทอี่ ยากเรียนรู้ การสรา้ งนสิ ัยใฝเ่ รียนรู้และใหผ้ เู้ รียน
ไดต้ ระหนกั ถึงส่งิ ที่เกิดขึน้ รอบตัว รวมทง้ั นำความรู้ไปพัฒนาตอ่ ยอดหรือประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชีวิตได้

จากสรุปผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ 1/2564 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของสถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สำนักปลัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธกิ าร พบวา่

➢ผลสัมฤทธ์ิภาพรวมทง้ั ประเทศมคี ่าเฉล่ยี โดยภาพรวม 72.93
➢ ผลสัมฤทธิ์ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีค่าเฉล่ยี โดยภาพรวม 62.72 ซึ่งตำ่ ท่ีสดุ เมอื่ เทยี บกบั

ภาคอนื่ ๆ
➢ ผลสัมฤทธ์ปิ ลายภาคเรยี นของจงั หวัดชัยภูมอิ ยใู่ นลำดับสดุ ทา้ ย (ลำดบั ท่ี 20)

ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ โดยมคี า่ เฉลีย่ เพียง 49.10
➢ ผลสัมฤทธิป์ ลายภายเรยี นของอำเภอจัตรุ สั อย่ใู นลำดับท่ี 5 จาก กศน.อำเภอทงั้ 16 แห่ง

ของสำนักงาน กศน. จังหวัดชยั ภมู ิ โดยมีคา่ เฉล่ยี 58.24

8

➢ และในส่วนของ กศน. ตำบลส้มป่อยมีผลสมั ฤทธิ์ปลายภายเรยี นเฉลีย่ 59.87

กศน. ตำบลส้มป่อยตระหนักถึงความจำเป็นดังกล่าว ที่จะต้องพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างเร่งด่วน
อีกท้ัง ผู้บริหารสำนักงาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ และผู้อำนวยการสถานศึกษา กศน. อำเภอจัตุรัส ได้สั่งการและ
กำชับให้ครูทุกตำบลจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) และหากลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการ
สอน คณะครู กศน. ตำบลส้มป่อยจึงนำนโยบายมาสู่การปฏิบัติ โดยเร่ิมต้นจากวิเคราะห์ SWOT หาจุดเด่น
จุดดอ้ ย โอกาสและอปุ สรรค เพ่ือคิดค้น พัฒนา และหา กลยุทธ์ในการปฏิบัตงิ านที่เป็นเลิศ (Best Practice)
หรอื ถือได้ว่าเปน็ การบรูณาการรูปแบบการจดั การเรยี นรู้ หรือ นวัตกรรม (Innovation) อย่างหนง่ึ คือ “การ
พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน นักศึกษา กศน. ตำบลส้มป่อย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยรปู แบบ SOMPOI MODEL.”

สำหรับเทคนิคหรือวิธีการที่จะสามารถดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ
ตามทีน่ กั ศกึ ษาแตล่ ะคนตอ้ งการ โดยมนี ยิ าม “SOMPOI MODEL.” ดงั น้ี

✓ S=Social คอื การจดั กระบวนการเรยี นรู้ผา่ น Social network ด้วย plat from ตา่ ง ๆ
✓ O=On site & On hand คือการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา ณ กศน.ตำบล

ศูนย์การเรียนชุมชน หรือพบกลุ่มย่อยรายคนให้กับนักศึกษาท่ีไม่สามารถมาพบกลุ่มได้
สำหรับนักศึกษาท่ีไม่อยู่ในพ้ืนที่ครูจะส่งส่ือการเรียนการสอน ใบความรู้ ใบงานให้นักศึกษา
เรียนร้ดู ้วยตนเอง

✓ M=Mix คือ การจัดกระบวนการเรยี นรู้แบบผสมผสาน ท้ังการพบกลุม่ และการเรยี นผ่านสื่อ
โซเชียล Plat from ต่าง ๆ ทงั้ น้ี นักศึกษาสามารถเลือกท่ีจะเข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้ในแต่
ละครั้งแต่ละเนือ้ หาไดต้ ามความต้องการ

✓ P=Participate คือ การจัดกระบวนการเรียนรโู้ ดยเน้นการมีสว่ นรว่ มของผู้เรยี น
✓ O=Offer คอื การสนับสนนุ สือ่ การเรียนการสอน และการตดิ ตามชว่ ยเหลือผูเ้ รียน การติดต่อ

เพื่อแจง้ ขา่ วสารการเรยี น ดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลายและตอ่ เน่ือง
✓ I= Idea คือ นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาบูรณาการเพ่ือสร้างองค์องค์ความรู้ใหม่/

ต่อยอดความรู้เดมิ หรือนำความรู้มาปรบั ใช้ในวถิ ชี วี ิตไดจ้ รงิ หรือนำความรเู้ พือ่ ไปศกึ ษาตอ่

6. วัตถุประสงค์

6.1 เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สนองตอบความต้องการ
ของผ้เู รยี นยุคดิจทิ ัล ภายใตส้ ถานการณ์โรคระบาดโควิด-19

6.2 เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา กศน. ตำบลส้มป่อย หลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

9

7. วธิ ดี ำเนนิ การ

หลังจากที่คณะครู กศน. ตำบลส้มป่อยทุกคน ได้เข้าร่วมประชุมกับผู้บริหารและคณะครู กศน.
อำเภอจัตุรัสทุกคน เพ่ือระดมความคิดหาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการเรียนให้กับนักศึกษา เน่ืองจาก
จึงปรึกษาหารือและดำเนนิ การ ดงั นี้

7.1 ขั้นตอนการวางแผน (Plan = P)
1) วิเคราะห์ SWOT จดุ เดน่ จดุ ด้อย โอกาส และอุปสรรคของ กศน. ตำบลสม้ ป่อย
2) วางแผนการรบั สมัครนักศึกษา
3) จัดทำแผนการลงทะเบยี นใหน้ กั ศกึ ษาลงทะเบยี นตามความพร้อม
4) ศกึ ษาหลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชี้วัดตามแผนการลงทะเบยี น
5) วางแผนการผลติ สื่อ โดยกำหนดจุดมงุ่ หมายและรปู แบบของส่ือให้เหมาะสมกบั ผู้เรยี น
6) สร้างและพฒั นาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นร้สู อดคลอ้ งกับกิจกรรม
การเรยี นรู้
7) จดั ทำส่อื การเรยี นรู้ใบงาน ใบความรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ บนั ทึกหลงั สอน
8) ประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนกั ศกึ ษาใหม่ทกุ ราย เพือ่ เปน็ ข้อมลู พ้นื ฐานในการ
คัดแยกกลุ่มผ้เู รยี น และการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับพื้นฐานความรู้
9) วิเคราะห์ผู้เรยี นรายบคุ คลวเิ คราะห์ผู้เรียนรายบุคคล และสภาพปญั หา ให้ผู้เรียน
เลือกรูปแบบการเรียนรูใ้ น 3 รปู แบบ ON-SITE ON-LINE และ ON-HAND ซง่ึ
นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลส้มป่อยมนี กั ศึกษารวมทัง้ สิ้น 181 คน มคี รูรับผิดชอบ 3 ราย
พบว่า ผู้เรียนมีความประสงค์ที่จะเรยี นรตู้ ามความตอ้ งการและความพรอ้ มโดยสามารถ
แยกนกั ศกึ ษาออกเป็น 4 กลุ่ม ดงั น้ี
✓ แบบพบกลมุ่ ปกติ On Site จำนวน 40 คน
✓ เรยี นรูแ้ บบ On line จำนวน 71 คน
✓ เรยี นรู้แบบผสมผสานทัง้ พบกลมุ่ ปกติ On Site และออนไลน์ On line
จำนวน 17 คน
✓ เรียนรู้แบบ On Hand จำนวน 53 คน

7.2 ข้นั ลงมอื ปฏบิ ัติ D = Do
1) แจ้งประชาสัมพันธ์การเปิดภาคเรียน นัดหมายนักศกึ ษาเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ตามท่ี
ได้แจ้งความประสงค์ไวใ้ นแบบสำรวจ
2) ครูจัดทำใบงาน ใบความรู้ หรือส่ือการเรียนการสอน ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของก
นกั ศกึ ษาตามวชิ าทลี่ งทะเบียนเรยี น
3) หลังจาการสำรวจข้อมูลความต้องการในการเรียนรู้ของนักศึกษา กศน.ตำบลส้มป่อย
เรียบร้อยแล้ว คณะครู กศน.ตำบลส้มป่อย จึงได้รวบรวมข้อมูลนักศึกษาแต่ละคนว่ามี
จำนวนของนักศึกษา กศน.ตำบลส้มป่อยของครูคนใดบ้างที่มีความต้องการการเรียนใน
รปู แบบที่ตนเองต้องการ มีจำนวนเท่าใด โดยแยกออกเป็นกลุ่มความต้องการของครูเป็น
รายคน ดังตารางต่อไปน้ี

10

ตารางท่ี 1สรปุ จำนวนนกั ศกึ ษา กศน.ตำบลส้มปอ่ ย ภาคเรยี นท่ี 2/2564

ที่ ช่ือ – สกลุ ตำแหน่ง ระดับ รวม

ครูประจำกลมุ่ ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย 40
12 27 59
1 นางสาวสกุ ันยา จตั รุ สั ตระกูล ครู กศน.ตำบล 1 14 39 82
24 57 181
2 นางไพเราะ สิงห์เผ่น ครู กศน.ตำบล 6

3 นางชนาทพิ ย์ วงษ์ดี ครู ศรช. 1

รวม

ตารางที่ 2 สรุปจำนวนนักศกึ ษาและความต้องการการเรียนรวู้ ิธีการรู้ กศน.ตำบลสม้ ป่อย ภาคเรยี นท่ี 2/2564

ลำดับ ชื่อ-สกลุ ความตอ้ งการ/วิธีการเรยี นรู้ (คน)
ครปู ระจำกลมุ่
On site On On site On
1 ประถมศกึ ษา & hand รวม
2 มธั ยมศึกษาตอนตน้ ก ศ น . พบกลุ่ม line On line
3 มธั ยมศึกษาตอนปลาย
รวม ตำบล/ศรช. ทีบ่ า้ น

6 2 - - -8

7 3 14 20 6 50

27 18 37 21 20 123

40 23 51 41 26 181

4) รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้
➢ รูปแบบการเรียนแบบพบกล่มุ ปกติ (On Site) ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาท่ีไม่มสี มาร์ท

โฟนหรือคอมพิวเตอร์ และประสงค์มาพบกลุ่มกับครู กศน.ตำบลส้มป่อยท้ัง 3 คน
โดยครูนัดหมายนักศึกษามาพบกลุ่มสัปดาห์ละ 1 ครั้ง แบ่งการพบกลุ่มเป็น 3 จุด

เพื่อกระจายจุดบริการใหก้ ับนักศึกษาอยา่ งท่ัวถึง และนักศึกษากลุ่มไหนสะดวกที่จะ

เขา้ รว่ มกิจกรรม ณ จุดบริการใดก็ได้ คือ กศน.ตำบลสม้ ป่อย หมู่ที่ 14 ศนู ย์การเรียน
ชุมชนบา้ นส้มป่อย หมทู่ ี่ 12 และศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นหว้ ยบง หมทู่ ่ี 9
➢ รปู แบบการเรียนรู้แบบ On-line ส่วนใหญ่เป็นนักศกึ ษาท่ีมีสมารท์โฟนหรือคอมพิว

เตอร์และมีทักษะการเรียนรู้ผ่านส่ือโซเชียลแพลทฟอร์มต่าง ๆ อาทิ Line group,

google form, face book และ Google meet โดยการแชร์ใบความรู้ แชร์ลิงค์

เนื้อหาแต่ละวิชา การไลฟ์สด มีการทดสอบแบบทดก่อนเรียน และแบบทดสอบหลัง
เรียนเพ่ือดูพฒั นาการ ซ่ึงนักศึกษาจะเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ตามรายวิชาท่ตี นเอง

ลงทะเบียนเรียนนอกจากน้ันยังมีการนัดหมายหรือแจ้งข่าวสารการศึกษาผ่านส่ือ

โซเชยี ลตา่ ง ๆ ด้วย
➢ รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานทง้ั พบกลมุ่ ปกติ On site และออนไลน์ On line

นักศึกษากลุ่มน้ีหากมีเวลาจะเลือกเข้าร่วมกิจกรรมแบบพบกลุ่ม แต่ในบางครั้งท่ีติด
ภารกิจหรอื ไมส่ ามารถเขา้ ร่วมกิจกรรมพบกลุ่มได้ นกั ศกึ ษาจะเขา้ ร่วมการเรียนรู้แบบ

On line ตามความพรอ้ ม

11

➢ รูปแบบการเรยี นรู้แบบ 0n-hand สำหรบั นกั ศกึ ษาท่ีไม่มีเวลาพบกล่มุ หรอื ไมไ่ ดอ้ ยู่
ในพื้นที่ และไม่มีอุปกรณ์หรือไม่มีทักษะการเรียนรู้ผ่านส่ือโซเชียล ครูจะจัดส่ง
หนังสือแบบเรียน ใบความรู้ ใบงาน และแบบทดสอบให้กับผู้เรียน เมื่อนักศึกษา
เรียนรู้จากใบความรู้ ต้องจัดทำใบงานและแบบทดสอบให้กับคุณครูได้ตรวจให้
คะแนน

7.3 ขั้นติดตามผลการจัดการเรยี นรู้ C = Check

ในการจัดกระบวนการเรยี นรขู้ องคณะครู กศน. ตำบลสม้ ป่อยทั้ง 3 คน เน้นให้นักศึกษา
มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ทุกรูปแบบ ซึงครูแต่ละคนจะมีวิธีการวัดและประเมินผลกาเรียนรู้
ด้วยเครื่องมือและวิธกี ารท่หี ลากหลาย ดงั นี้

1) การสังเกตและสอบถาม ระหวา่ งการจัดกระบวนการเรยี นรู้
2) การทดสอบกอ่ นเรยี นและการทดสอบหลงั เรียน แบง่ กลมุ่ นกั ศึกษา และเพื่อดู

พฒั นาการความรู้ และซ่อมเสรมิ
3) ประเมินผลจากใบงาน รายงาน ชนิ้ งาน หรอื โครงงาน
4) ประเมินผลปลายภาคเรยี น
5) การทดสอบระดบั ชาติ (N-net)
6) ประเมนิ สขุ ภาพกาย/สุขภาพจติ
7) ประเมินคุณธรรมจริยธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพงประสงค์
8) ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้

7.4 ขน้ั ตอนการพัฒนาปรบั ปรงุ แกไ้ ข A=Action
ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์ ครูทุกคนต้องจัดทำรายงานการจัด

กระบวนการเรียนรู้และบันทึกหลังสอนเสนอผู้บริหาร และนำปัญหา/อุปสรรคแต่ละประเด็นไปสู่การแก้ไข
ในสัปดาหต์ ่อไป ดงั นี้

1) สะท้อนผลการเรียนรู้/คะแนนแบบทดสอบ/คะแนนใบงาน ช้ินงานให้นักศึกษาทราบ
หากใครมคี ะแนนต่ำ ตอ้ งทำแบบทดสอบใหม่จนกวา่ จะมีคะแนนไมต่ ำ่ กวา่ รอ้ ยละ 80

2) นักศึกษาที่ไม่มาพบกลุ่ม หรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่แจ้งไว้ หรือไม่ส่งงาน
ตามท่ีนัดหมาย ครูจะติดตามผู้เรียนถึงบ้าน ติดตามผ่าน Face book ติดตามผ่าน
Line เพอ่ื สอบถามปญั หาและอปุ สรรค หรือเรียนซ่อมเสรมิ การเรียนในสัปดาหน์ ้นั ๆ

3) จัดบัดดีก้ ารเรียนรู้หรือการติดตามเพ่ือน 1: 3 โดยมอบหมายให้เพื่อนที่เรียนเก่งและมี
ความขยัน 1 คน ไปติดตามหรอื ชว่ ยเหลือเพ่ือนที่เรยี นออ่ นหรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมการ
เรียนรู้ 3 คน ซง่ึ เป็นการชว่ ยเหลือทสี่ ร้างความสามัคคีในกลุม่ ด้วย

4) ครูจัดกิจกรรพัฒนาผู้เรียนด้านวิชาการ โดยเชิญวิทยากรผู้มีความรู้เฉพาะวิชานั้น ๆ
มาเติมเต็มความรูใ้ ห้กบั ผ้เู รยี น

5) ครูนำข้อสอบปลายภาคเรียนที่ผ่าน ๆ มา ให้นักศึกษาฝึกทำซ้ำ ๆ อีกทั้งเฉลยและ
อธิบายเหตุผลในการตอบคำถามแต่ละข้อ เสมือนหนึ่งการตอกย้ำประเด็นสำคัญ ๆ
ของเน้อื หา ทำให้ผู้เรยี นจดจำได้ดี

6) มอบเกียรติบัตรสำหรับผู้มีผลงานดีเด่น เพ่ือสร้างความภาคภูมิใจและสร้างขวัญ
กำลังใจ

12

การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนักศกึ ษา กศน. ตำบลสม้ ป่อย หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยรูปแบบ SOMPOI MODEL.” ซ่ึงคณะครู กศน. ตำบลส้มป่อย
ได้นำอักษรภาษาอังกฤษที่เป็นชื่อตำบล มานิยามให้เขา้ ใจในความหมายและนำไปสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้
ดงั น้ี

❖ S=Social คือ การจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่าน Social network ด้วย plat from ต่าง ๆ อาทิ
Google form, Google sheet, Google meet, Line group, face book และ You tube เป็นต้น
โดยครูทั้ง 3 คน จะแบ่งความรับผิดชอบในการจัดทำส่ือการเรียนรู้ ใบงาน แบบทดสอบและจัด
กระบวนการเรียนรู้แบบเป็นทีม ตามความถนัด นักศึกษาท่ีแจ้งความประสงค์จะเรียนผ่านระบบนี้
ส่วนใหญ่จะมีทักษะและความพร้อมในเร่ืองอุปกรณ์การเรียน เช่น มีโทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่รองรับ
Application ต่าง ๆ ได้ หรือมีแทปเลต หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์และมีความรู้ในการใช้เทคโนโลยี
และเหมาะสำหรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรน่า-19 โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี
1) Google meet, Line group, Google classroom, Facebook live สำหรับใช้เป็นห้องเรียน
ออนไลน์ และแจ้งตารางการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นกั ศึกษาทราบ
2) Google form สำหรับทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หลังเรียน
3) Google sheet สถติ ิขอ้ มูลผูเ้ รียน คะแนนทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน
4) You tube, QR code เนื้อหาความรู้ และ Google drive เป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์สำหรับ
นกั ศกึ ษาทุกคนที่ต้องการเรียนร้หู รอื ค้นควา้ เพ่ิมเตมิ

❖ On site/On hand แยกออกเป็น 3 กลุม่ ดังนี้
1) On site ณ ท่ีตั้ง คือ การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา ณ กศน. ตำบลหรือศูนย์การ
เรียนชุมชน เพ่ือกระจายจุดบริการให้กับนักศึกษา โดยนักศึกษาสามารถเลือกเข้าเรียนรู้ ณ
จดุ บรกิ ารใดกไ็ ด้ ดังนี้
✓ นางสาวสุกนั ยา จัตุรัสตระกูล หวั หน้า กศน.ตำบล พบกล่มุ ณ กศน. ตำบลสม้ ป่อย
หม่ทู ี่ 14
✓ นางไพเราะ สงิ หเ์ ผ่น ครู กศน. ตำบล พบกลุ่ม ณ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านส้มป่อย
หมูท่ ี่ 12
✓ นางชนาทพิ ย์ วงษด์ ี พบกลุม่ ณ ศูนย์การเรยี นชุมชนบ้านหว้ ยบง หมทู่ ่ี 9

13

2) On site นอกท่ีตงั้ เป็นการพบกลมุ่ ยอ่ ยตามบา้ นสำหรบั นักศกึ ษาท่ีต้องดูแลเอาใจใส่เปน็ พิเศษ
เช่น เจ็บป่วย คลอดบุตร และอ่านเขียนไม่เก่งหรือเรียนรู้ช้า โดยครูผู้รับผิดชอบกลุ่มนักศึกษา
ต้องติดตามผู้เรียนด้วยตนเอง หรือจัดบัดดี้การเรียนรู้หรือการติดตามเพ่ือน 1 : 3
โดยมอบหมายให้เพื่อนท่ีเรียนเก่งและมีความขยัน 1 คน ไปติดตามหรือช่วยเหลือเพ่ือนที่เรียน
อ่อนหรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 3 คน ซึ่งเป็นการช่วยเหลือที่สร้างความสามัคคีในกลุ่ม
ดว้ ย

3) การเรียนรู้แบบ On hand สำหรับนักศึกษาท่ีไม่อยู่ในพื้นที่และส่วนใหญ่จะมีทักษะการอ่าน
สงู ครูจะส่งสื่อการเรยี นการสอน ใบความรู้ ใบงานให้นกั ศกึ ษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง

14

❖ M=Mix คือ นักศึกษาท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมหลากหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่จะจัดสรรเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรม
การ เรียนรู้ตามความสะดวกของตนเอง หรือจะเลือกเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ตามความยากง่าย
ของเนอ้ื หา เช่น
1) เนอื้ หายากจะมาพบกลมุ่ ติวเข้ม หรอื เข้าคา่ ยทักษะวชิ าการ ณ จุดบรกิ ารท้งั 3 แห่ง
2) เนอ้ื หายากปลานกลางจะเรยี นผ่านสอ่ื มัลติมีเดียและโซเชยี ล Plat from ต่าง ๆ ตามตาราง
การเรยี นรู้
3) เนอื้ หาง่ายจะเรียนรู้แบบ On hand



❖ P=Participate คอื การจัดกระบวนการเรยี นรโู้ ดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ซึ่งผูเ้ รยี นทุกคนต้อง
มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์ การจัดทำแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน การส่งงาน
ตามท่ีได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพชีวิตอย่างน้อยภาคเรียนละ 50 ชั่วโมง ซี่งกระบวนการมีส่วนร่วมดังกล่าว ทำให้ผู้เรียน
เกิดความรกั ความสามคั คี และมคี วามภาคภูมิใจในการเปน็ นกั ศกึ ษา กศน.

15

❖ O=Offer คือ การสนับสนุนสื่อการเรียนการสอนท้ังหนังสอื แบบเรยี น ใบงาน ใบความรู้ ช้ีเป้าหมาย
และนำแหล่งเรียนรู้ใน Social การจัดกิจกรรมสอนเสริม การติวเข้มเติมเต็มความรู้ การให้ความ
ช่วยเหลือทั้งในด้านการเรียน และช่วยเหลือเกื้อกูลในเรื่องส่วนตัวตามความเหมาะสม ให้ความเป็น
กันเองความรักและการเอาใจใส่ การติดต่อเพื่อแจ้งข่าวสารการเรียนตามความพร้อมและ
ความตอ้ งการของนักศึกษา และการติดตามผู้เรยี นช่วยเหลือด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลายและตอ่ เนื่อง

❖ I= Idea คือ ผู้เรียนนำความรู้มาปรับใช้และสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ใหม่ได้ ผู้เรียนสามารถนำ
ความร้มู าปรับใช้ในวิถชี ีวติ ไดจ้ ริง มคี วามรู้เพือ่ ไปศกึ ษาต่อ และสรา้ งสรรค์องค์ความรู้ใหม่ ๆ ได้ดังน้ี
1) นักศึกษากลุ่มที่มีอายุในวัยเรียนจะนำความรู้ไปเพ่ือศึกษาต่อ หรือบูรณาการความรู้ใหม่ได้ เช่น
การจัดทำโครงงานเพ่ือการประหยัดไฟฟ้า การนำอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีชำรุดมาดัดแปลงเป็นของใช้
ชนิ้ ใหม่ได้ เป็นต้น
2) นักศึกษาวัยทำงานและทำงานในภาคราชการ หรือบริษัทเอกชน จะนำความรู้ไปปรับตำแหน่ง
หน้าท่ใี หส้ งู ขีน้ หรือศึกษาต่อในระดับทส่ี งู ขึน้
3) นักศึกษาวัยทำงานท่ีเป็นผู้ใหญ่ จะนำความรู้ไปต่อยอดอาชีพ พัฒนาอาชีพเดิม หรือแสวงหา
ความรเู้ พอ่ื ให้ปรับตัวใหท้ ันกับการเปลี่ยนแปลงของสงั คม และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสุข

16

8. ตัวชีว้ ัดความสำเร็จ
8.1 ผู้บริหารสรา้ งความตระหนักใหค้ รมู คี วามรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี และพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ครมู อื
อาชพี อยา่ งตอ่ เน่ือง สง่ เสรมิ สนบั สนุน แนะนำและนเิ ทศกำกับติดตามการปฏิบตั งิ านอยา่ งใกลช้ ิด
8.2 ครู กศน.ตำบลสม้ ปอ่ ยพฒั นาทกั ษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยรปู แบบตา่ ง ๆ และเปน็ ทมี งาน
ท่ดี ีซึง่ กนั และกนั จดั กระบวนกาเรียนรแู้ บบ Team teaching
8.3 ผู้เรียนได้เรยี นรู้ตามชอ่ งทางท่ีตอ้ งการเกิดความตระหนกั ในหนา้ ท่ีและทกั ษะการเรียนรู้ทด่ี ีขึน้
มีความใฝ่เรยี นใฝร่ ู้ เรยี นรใู้ ด้ทกุ ทท่ี กุ เวลา และมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์ สามารถนำความรู้
ทไ่ี ด้รบั ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้
8.3 ผูเ้ รียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนประจำภาคเรียนท่ี 2/2564 ท้ัง 3 ระดับเพม่ิ สงู ข้นึ

17

9. การประเมินผลและเครือ่ งมอื การประเมินผล
จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลาย ครู กศน. ตำบลส้มป่อยจึงมีการวัดผลและ

ประเมินผลหลากหลายรปู แบบสอดคล้องกับวิธีการจดั อาทิ
9.1 แบบประเมินระดับการรู้หนังสือ เพื่อวัดระดับการรู้หนังสือของผู้เรียน เพ่ือเป็นสารสนเทศในการ

จัดกลุ่มผู้เรยี น

9.2 การสังเกต สอบถาม เพ่ือสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน กระตุ้นการเรียนรู้ และสร้างแรงจูงให้ผู
เรยี นมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้มากทส่ี ดุ

9.3 แบบทดสอบก่อนเรียน /หลงั เรยี น เพื่อวดั พัฒนาการการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น

18

9.4 ใบงาน / ช้ินงาน /โครงงาน เพื่อประกอบการวัดผลการเรยี นรู้

9.5 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ สื่อ การจัดกระบวนเรียนรู้ของครูผู้สอน เพื่อพัฒนาส่ือและพัฒนาการ
จดั กระบวนการเรยี นของครูผสู้ อน

9.6 แบบประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม/คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียน ประเมินคณุ ธรรม ประเมิน
ตอ่ เน่ืองตลอดภาคเรยี น โดยประเมนิ จากผลงาน เน้นพฤติกรรม บ่งชี้ คุณธรรมท้ัง 9 ได้แก่ ความสะอาด สภุ าพ
กตัญญกู ตเวที ความขยัน ประหยดั ซอ่ื สตั ย์ สามคั คี มนี ้ำใจ มีวนิ ัย โดยตอ้ งผ่านระดบั ดขี ้นึ ไป

9.7 แบบประเมินสุขภาพกาย/สุขภาพจิต เพ่ือสร้างเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต หรือแก้ปัญหา
เบือ้ งตน้ ให้กบั ผู้เรียน

19

9.8 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับละ 200 ช่ัวโมง
(ไม่นอ้ ยกว่าภาคเรยี นละ 50 ช่วั โมง) โดยมีขอบข่ายเนอ้ื หาท้ังในภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ

9.9 การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาตผิ ู้ เรยี นเข้ารบั การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
นอกระบบระดับชาติ ในภาคเรียนสุดท้ายของการจบหลักสูตร และดำเนินการก่อนสอบต้นภาคของ
ภาคเรยี นนนั้ ๆ โดยไมม่ ีผลตอ่ การสอบได้ หรอื สอบตกของผเู้ รียน

10. ผลการดำเนนิ งาน
“การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนนักศึกษาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

พุทธศักราช 2551 กศน. ตำบลส้มป่อย ด้วยรูปแบบ SOMPOI MODEL.” ถือได้ว่าเป็นกระบวนการท่ี
สามารถเป็นต้นแบบได้ เพราะนักศึกษาเกินกว่าร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นจริง รายละเอียด
ดงั นี้

เชงิ ปริมาณ
ผลการดำเนินงานเชิงปริมาณโดยนำจำนวนนักศึกษาภาคเรียนที่ 1/2564 และภาคเรยี นท่ี 2/2564 ท่ี
มีผลการเรียนเฉลี่ยในรายวชิ าบงั คับ 2.00 ขึ้นไป ดงั นี้

ตารางที่ 3 เปรยี บเทยี บผลการสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ภาคเรยี นท่ี 1/2564 กับ ภาคเรยี นที่ 2/2564

ภ า ค เก รด ภ า ค เก ร ด

ชือ่ -สกลุ ระดับ เรีย น ท่ี เฉล่ีย ร้อยละ เรีย น ที่ เฉลย่ี ร้อยละ เพิ่ ม ขึ้ น
ร้อยละ
1/2564 2.00 2/2564 2.00
100.00
(คน) (คน) 25.00
12.07
น.ส.สุกันยา จตั รุ ัสตระกลู ประถม 1 - 0 1 1 100 15.84
44.45
ม. ตน้ 12 7 58.33 12 10 83.33
27.38
ม. ปลาย 29 21 72.41 27 22 81.48 11.37
18.15
รวมกล่มุ ท่ี 1 42 28 66.66 40 33 82.5 -
48.85
นางไพเราะ สิงหเ์ ผน่ ประถม 6 5 55.55 6 6 100 45.48

ม. ตน้ 12 7 58.33 14 12 85.71 44.95
30.33
ม. ปลาย 44 39 88.63 39 39 100

รวมกลมุ่ ท่ี 2 ประถม 65 51 78.46 59 57 96.61
นางชนาทิพย์ วงษ์ดี 0 0 0 1 1 100

ม. ตน้ 29 10 34.48 24 20 83.33

ม. ปลาย 59 21 35.59 57 46 80.70

รวมกล่มุ ที่ 3 88 31 35.22 82 67 80.17
รวมทง้ั ตำบล 195 110 56.41 181 157 86.74

20

จากตาราง พบว่า ผลการสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่นักศึกษาได้เกรดเฉล่ีย 2.00 ขึ้นไป ในภาคเรียน
ท่ี 1/2564 จำนวนนักศึกษา 195 คน ได้เกรดเฉล่ีย 2.00 ขึ้นไป จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 56.41
แต่ในภาคเรียนท่ี 2/2564 ท่ีครูการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ “SOMPOI MODEL.” นักศึกษา
ได้เกรดเฉล่ีย 2.00 ข้ึนไป จำนวนนักศึกษา 181 คน ได้เกรดเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป จำนวน 157คน คิดเป็นร้อยละ
86.74 ซ่ึงเพม่ิ ขนึ้ มากถงึ รอ้ ยละ 30.33

แสดงให้เห็นว่า “การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนักศึกษา กศน. ตำบลส้มป่อย หลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยรูปแบบ SOMPOI MODEL.”
เปน็ รูปแบบทส่ี ามารถเปน็ ตน้ แบบได้

เชงิ คุณภาพ
1) ครู กศน. ตำบลส้มป่อย มีความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และสามารถ
ทำงานเปน็ ทีมได้อย่างดีย่งิ
2) ครู กศน. ตำบลส้มป่อย พัฒนาตนเองในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีและพัฒนาส่ือ
การเรียนการสอนได้ดียิ่งข้ึน และมีนวัตกรรมในการสอนท่ีเหมาะสมกับสังคมยุคดิจิทัลภายใต้
สถานการณร์ ะบาดของโรคโควิด-19
3) นักศึกษา กศน. ตำบลส้มป่อยมีความมุ่งม่ันตั้งใจ และตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษา โดยการ
แสดงออกถึงการมีสว่ นรว่ มในการเขา้ ร่วมกิจกรรมทกุ รปู แบบ
4) กศน.ตำบลส้มป่อยมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนประจำภาคเรียนที่ 2/2564 สูงขึ้น มาก เมื่อ
เปรียบเทยี บกบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นประจำภาคเรียนที่ 1/2564
5) เครือขา่ ยชุมชนให้การสนับสนุนท้งั ดา้ นอาคารสถานที่ในการจดั การเรียนรแู้ ละการดำเนินการสอบ
และการเป็นวิทยากรสอนเสริมและติวเข้มเติมเต็มความรู้ และการประชาสัมพันธ์ข่าวสารให้กับ
นักศึกษาในชุมชน

12. กลยทุ ธ์หรือปจั จัยท่ีทำให้ประสบความสำเรจ็
กลยุทธ์ท่ีทำให้ “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของ กศน. ตำบลส้มป่อย ดว้ ยรปู แบบ SOMPOI MODEL.” ประสบ
ผลสำเร็จคือ การใช้ยุทธศาสตร์พระราชทานของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวงรชั การท่ี 9) “เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา” ดงั น้ี

1) “เข้าใจ” คอื การเข้าใจและตระหนักในบทบาทหนา้ ที่ของครู เขา้ ใจบริบทของสังคมท่ีเปล่ียนแปลง
และเขา้ ใจผู้เรยี นทมี่ ีความแตกต่างทง้ั วยั เพศ อาชพี และวิถีชมุ ชน

2) “เข้าถึง” คือ การเข้าพ้ืนที่ เข้าถึงนักศึกษา/ผู้ปกครอง เพื่อสร้างความตระหนักเร่ืองการศึกษา
และแกป้ ญั หาอย่างตอ่ เนือ่ ง

3) “พัฒนา” คือ ครูต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ “เพ่ือเป็นครูมืออาชีพ” ให้สามารถจัดกระบวนการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ คนเก่ง คนดี และมีความสุขไดอ้ ย่างยง่ั ยืน

13. ขอ้ เสนอแนะ
1) จัดโครงการพัฒนาครูในด้านเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความรู้และก้าวทันเทคโนโลยีในการจัดทำสื่อเพื่อ
สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ทที่ นั สมัยอยา่ งต่อเน่ือง
2) สนบั สนนุ งบประมาณและจัดหาอุปกรณ์หรือสอ่ื ที่ทันสมยั เพ่ือการสง่ เสริมการจดั กิจกรรมการเรียน
การสอนพฒั นาดา้ นวชิ าการและมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนต่อไป

21

14. การขยายผล/เผยแพร่
จากการประกวดนวัตกรรมของครู กศน.อำเภอจัตุรัส ประจำภาคเรียนท่ี 2/2564 ซึ่งนวัตกรรม

“การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนักศึกษา กศน.ตำบลส้มป่อย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยรูปแบบ SOMPOI MODEL”ได้รับรางวัลชนะเลิศ ผู้บริหาร
สถานศึกษา จึงให้ครู กศน.ตำบลต้นแบบได้ถ่ายทอดนวัตกรรมนี้ เป็นต้นแบบในการจัดกระบวนการเรียนรู้
ใหก้ ับนักศกึ ษาท้ัง 9 ตำบล ในภาคเรยี นท่ี 1/2565 ตอ่ ไป

เอกสารอ้างอิง

http://nonsaatnfe.com/2.pdf จากแนวคิดของนักการศึกษา ทฤษฎีการเรียนรูต้ า่ งๆ

จติ วิทยาการเรียนการสอน และหลักการของ การจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาํ คัญ
http://blog.nation.ac.th/?p=7114 โดย วรี ะพันธ์ แกว้ รัตน์ “นวตั กรรมเพิ่มพลังอาจารย์

สรา้ งสรรคผ์ ลงาน
https://km.buu.ac.th/article/frontend/article_detail/141 โดย ดร.สถาพร พฤฑฒกิ ุ

Active Learning สถาบันส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ สรุปผลการสอบวัดผลสัมฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ 2/2564 หลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551.

22

ภาคผนวก

23

คณะผู้จดั ทำ

ทีป่ รึกษา

นายจรญู ศักด์ิ พุดน้อย ผอู้ ำนวยการสำนกั งาน กศน.จังหวดั ชัยภูมิ
นางสาวหลงิ ฟ้า ขันติรตั น์ รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวัดชัยภูมิ
นางจิตมาษ ฉตั รวิชัย ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอจัตรุ สั
นางสาวนภาพร สงิ หจ์ ันทร์ ครชู ำนาญการ
นางเรณุมาศ ปวงประชงั ครูผ้ชู ่วย

ประมวลผลขอ้ มลู รวบรวม/เรียบเรยี ง หวั หน้า กศน.ตำบลส้มป่อย
นางสาวสุกนั ยา จตั ุรัสตระกลู ครู กศน.ตำบล
ครู ศรช.
นางไพเราะ สิงหเ์ ผน่

นางชนาทพิ ย์ วงษ์ดี

ออกแบบปกและจัดทำรูปเลม่

24

นางไพเราะ สงิ หเ์ ผ่น ครู กศน.ตำบล


Click to View FlipBook Version