คำนำ
ตามท่สี ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน(สพฐ.) และสถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาตรแ ละ
เทคโนโลยี (สสวท.) ไดรว มกนั ขบั เคลอื่ นการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณและโคดดิง้ ซ่ึงไดมีการจัดกิจกรรม
ตา งๆ เพอ่ื ใหเกดิ การพฒั นาทกั ษะดานการโคดดงิ้ ใหแกผ ูเรยี น และไดม ีการจดั โครงการเผยแพรองคความรแู ละ
แสดงผลงานดีเดนดา น Coding CODING Achievement Awards ทั้งในรปู แบบ Unplugeged และ Plugged
เพ่อื เปนการสงเสรมิ และใหก ำลงั ใจแกครูในการพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรโู คด ด้งิ
เอกสารการจดั การเรยี นรู Mini Smart Farming ฉบบั นี้ ไดจ ัดทำขนึ้ เพ่อื แสดงผลการจดั กระบวนการ
จัดการเรยี นรโู คด ดงิ้ ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 โรงเรียนบานคุม (ประสารราษฎรวิทยา) สำนกั งานเขตพน้ื ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาแพร เขต 1 โดยมีการวเิ คราะห และ ออกแบบรปู แบบการจัดการเรียนรูโดยเนนบริบทของ
สถานศึกษา ทอ งถนิ่ และผเู รยี นเปน สำคญั โดยมีเปา หมายในการพัฒนาทักษะดา นการโคดด้งิ ใหเกิดกบั ผูเ รยี น
อยา งเตม็ ศกั ยภาพของแตล ะคน บรรลตุ ามมาตรฐาน ตัวช้วี ดั ของหลกั สูตร ขา พเจา หวังวาเอกสารฉบับนีจ้ ะเปน
ประโยชนตอ การแลกเปล่ยี นเรียนรูก บั ครผู สู อนวิชาวิทยาการคำนวณตอ ไป
นายดีลาภ ปราบสงบ
ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรยี นบานคุม (ประสารราษฎรว ทิ ยา) สพป.แพร เขต 1
สารบญั หนา
หัวขอ 1
1
1. รายงานการดำเนินการวิเคราะหจ ัดการเรยี นรู Coding 4
2. การวเิ คราะหป ญ หา และความจำเปน ในการจัดการเรยี นรู Coding 6
3. การวเิ คราะหส ภาพผเู รียนเปนรายบุคคลเพ่อื จัดการเรยี นรูทีเ่ หมาะสมกบั ผูเรียน 10
4. การวิเคราะหเ พื่อออกแบบการจัด การเรยี นรู Coding 25
5. แผนการจัดการเรยี นรู 25
6. ผลทเ่ี กิดข้นึ จากการเรยี นรู Coding 29
7. ผลท่ีเกิดขึน้ กับผูเ รียน 31
8. ความพึงพอใจในผลการจัดการเรียนรู Coding ของนกั เรยี นและผูปกครอง 32
9. แบบอยางที่ด(ี การเผยแพรใหก ับสถานศึกษาอืน่ ) 41
10. หลักฐานการจัดการเรยี นรูด า น Mini Smart Farming
11. หลักฐานการรับรองความถกู ตองจากหัวหนากลุมสาระ หวั หนา วชิ าการ
สารบัญตาราง หนา
ตาราง 5
7
1. ตารางท่ี 1 แสดงสรปุ ผลการวเิ คราะหส ภาพผูเ รยี นเปน รายบุคคล 9
2. ตารางท่ี 2 แสดงการวิเคราะหต ัวชว้ี ัดสาระเทคโนโลยี ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 6 25
3. ตารางที่ 3 โครงสรา งรายวชิ าวิทยาศาสตร( วิทยาการคำนวณ) ระดับช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 6
4. ตารางท่ี 4 แสดงสรปุ ผลการวัดและประเมินผลการเรยี นรู Mini Smart Farming
สารบญั ภาพ
หวั ขอ หนา
1. รปู ที่ 1 แสดงลกั ษณะของชุดสมองกล Kidbright 3
2. รูปท่ี 2 แสดงลักษณะโปรกรม KB IDE ที่ใชใ นการเขยี นคำสัง่ 3
3. รูปท่ี 3 แสดงเครอ่ื งมือวิเคราะหส ภาพผูเรียนเปนรายบุคคล 5
4. รูปท่ี 4 องคประกอบในการวเิ คราะหและออกแบบการจดั การเรียนรู 6
5. รูปท่ี 5 แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนวัดความรูกอ นเรยี น และหลังเรียน 26
6. รูปท่ี 6 กราฟแสดงผลการประเมินคะแนนใบกิจกรรมเร่อื ง การทำงานของระบบ IOT 27
7. รูปท่ี 7 กราฟแสดงผลการประเมินคะแนนใบกิจกรรมเรื่อง Sensor และ Kidbright 27
8. รปู ท่ี 8 กราฟแสดงผลการประเมินคะแนนใบกจิ กรรมเรอื่ ง การเขียนโปรแกรมแบบมีเงอ่ื นไข 28
9. รปู ท่ี 9 กราฟแสดงผลการประเมินคะแนนใบกจิ กรรมเรื่อง Mini Smart Farming 29
10. รปู ที่ 10 กราฟแสดงสัดสวนของผูประเมินความพึงพอใจระหวา นกั เรยี น และ ผปู กครอง 29
11. รปู ท่ี 11 กราฟแสดงผลการประเมนิ ความพึงพอใจ 30
12. รูปที่ 12 กราฟแสดงขอมลู ความรกู อนเรียน Mini Smart Farming 30
13. รูปท่ี 13 กราฟแสดงขอ มลู ความรหู ลงั เรียน Mini Smart Farming 31
14. รปู ท่ี 14 การเผยแพรป ระชาสมั พันธการจัดกิจกรรม 31
15. รูปท่ี 15 องคป ระกอบและขนั้ ตอนการออกแบบการจัดการเรยี นรู Mini Smart Farming 32
16. รปู ท่ี 18 ส่อื การเรียนรู การทำงานของระบบ iot โดยใชบ อรด KidBright 34
17. รปู ท่ี 19 สาธติ การทำงานของสอ่ื การเรียนรู ระบบ iot 35
18. รปู ท่ี 20 การวัดความรูกอนเรียน และหลังเรยี นโดยใช kahoot 36
19. รปู ท่ี 21 ใบงานเรื่องความรูพื้นฐานสวนประกอบของบอรด KidBright 37
20. รปู ท่ี 22 ใบงานเรอื่ งความรพู ื้นฐานในการใชบลอ็ กคำสัง่ KidBright 38
21. รปู ท่ี 23 ใบกจิ กรรมเร่อื ง Sensor KidBright 38
22. รูปที่ 24 ใบกจิ กรรมเร่อื ง Bynk และ Line Notifly 39
23. รูปที่ 25 บรรยากาศการจัดกจิ กรรมการเรียนรู Mini Smart Farming 40
สว นท่ี 1
รายงานการดำเนินการวิเคราะหจ ดั การเรียนรู Coding
1.การวิเคราะหปญหา และความจำเปนในการจดั การเรยี นรู Coding
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการไดม ีนโยบายสง เสรมิ และพัฒนาใหมี
การจดั การเรียนการสอนโคดดิ้ง (Coding) ขึ้นในทุกโรงเรยี นตัง้ แตร ะดบั ประถมศกึ ษา จนถงึ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษา
ตอนปลาย เพื่อเปนการพฒั นาศกั ยภาพผเู รยี นใหม ีความพรอมเขาสูศตวรรษที่ 21 สถาบันสงเสรมิ การสอน
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย(ี สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการจงึ ไดม ีการพัฒนาหลกั สูตรและจัดทำตัวช้ีวัดและสาระ
การเรียนรแู กนกลางสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้
พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 ขึ้น และไดกำหนดใหรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรเ ทคโนโลย(ี วิทยาการคำนวณ) อยใู น
กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ซึง่ มีเปา หมายพฒั นาผเู รยี นใหใชทกั ษะการคดิ เชงิ คำนวณสามารถคิด วเิ คราะห
แกปญ หา อยา งเปนขน้ั ตอนและเปน ระบบ สามารถคนหาขอมูลหรอื สารสนเทศ ประเมิน จดั การ วเิ คราะห
สังเคราะหแ ละนำสารสนเทศไปใชในการแกปญ หาประยุกตใ ชความรใู นการแกปญหาในชีวติ จริงและทำงานรวมกัน
อยา งสรา งสรรค ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารอยางปลอดภัย รูเทาทนั มคี วามรับผดิ ชอบ มีจรยิ ธรรม
สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย(ี สสวท.) ไดม ีการขับเคลอื่ นกระบวนการพฒั นา
ทกั ษะดา นการโคด ดิง้ (Coding) ในทกุ มิตเิ พื่อใหเกดิ การพฒั นาทักษะดังกลาวใหแ กผ ูเรยี น โดยมีกระบวนการอบรม
และพัฒนาครผู ูสอนในรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณทวั่ ประเทศท้ังในรปู แบบ Onsite และ Online มกี ารออกแบบ
และจัดทำส่ือเพ่ือใชในประกอบในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมเพ่อื สง เสรมิ ใหเ กดิ การ
พัฒนาทกั ษะและเลง็ เหน็ ความสำคัญของทกั ษะดานการโคดดงิ้ (Coding)
ศนู ยเ ทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ สแ ละคอมพวิ เตอรแหงชาติ (National Electronics and Computer
Technology Center : NECTEC หรอื เนคเทค) ไดพ ัฒนาบอรดสมองกลฝงตัว KidBright เพื่อเปนเครื่องมอื การ
เรียน Coding และ IoT (Internet of Things) ข้ึนโดย KidBright เปน บอรดสมองกลฝง ตวั ทมี่ ศี กั ยภาพสงู
สามารถพัฒนาเปนระบบอตั โนมตั ิตา ง ๆ และควบคุมผา นเครอื ขายคอมพวิ เตอรไ ด และไดมีการพัฒนาส่ือ คูมอื
เพื่อเปน แนวทางสำหรบั จัดกิจกรรมการเรยี นรู สาระเทคโนโลย(ี วิทยาการคำนวณ) Mini Smart Farming
ซึง่ ครสู ามารถนำไปใชในการจัดการเรยี นรเู พอ่ื ใหน ักเรียนบรรลตุ วั ชว้ี ดั ทีเ่ กีย่ วของกับการเขียน
โปรแกรม ตามสาระการเรยี นรูที่ 4.2 การจดั การเรยี นรูไ ดตามความเหมาะสม มีการพฒั นาระบบเครอ่ื งมอื สำหรับ
ฝกทักษะดา นการโคด ด้ิง(Coding) ไดท ง้ั โปรแกรม KB IDE และเคร่ืองมอื สำหรบั ใชฝก ทกั ษะผา นอุปกรณชุดสมอง
กล KidBright จรงิ จงึ นบั เปน เครอ่ื งมือทมี่ ีประโยชนแ ละนา สนใจสำหรบั นำไปจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ พ่อื ฝก ทักษะ
ดานการโคด ดง้ิ (Coding) ใหแ กผูเรียน
1
Coding มาจากภาษาองั กฤษวา code หมายถึงการเขารหัส รหสั คอื การจำลองการทำงานของมนษุ ยท ีละ
ขั้น แตเ ปน ขน้ั ท่ีเลก็ ทสี่ ดุ มนษุ ยนำมาสรา งทลี ะหนึ่งข้นั เพือ่ ใหค อมพวิ เตอรเ ขาใจ “การท่ีเราจะสงั่ ใหค อมพิวเตอร
ทำงาน เราหรือโปรแกรมเมอรต อ งคิดใหเปนขน้ั ตอน เพราะคอมพวิ เตอรไมม ที างทำเองได”
การทำงานของคำวา Coding จงึ ถูกนำมาผนวกในหลกั สตู ร เพือ่ ฝกทักษะการแกปญ หา (Problem Solving Skill)
อยางเปนข้นั ตอนใหเ ด็กๆ “ทกั ษะแบบน้เี หมาะกบั การสรางนวตั กร ฝกการเปนผสู รา ง เด็กในศตวรรษใหม
จำเปน ตอ งเรียนเพอื่ ฝก ทักษะน้ี คอนเทนตอ าจจะไมสำคญั เทา ทักษะในการทำงาน แกปญหา จึงจะดำเนนิ ชวี ติ ได”
(วารสารออนไลน : https://thepotential.org/2019/10/07/coding-in-school-scoop/ ,โดย ดร.เขมวดี
พงศานนท)
ตามหลกั สตู รใหม 2560 ไดเปล่ียนวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ จากหมวดการงาน มาเปน วิทยาการคำนวณ
ในหมวดวิทยาศาสตร ทป่ี ระกอบไปดวย วทิ ยาการคำนวณ เทคโนโลยีดิจทิ ลั และ การอา นออกเขยี นไดท างสอื และ
สารสนเทศ โคดด้ิงเปน เพียงสวนหนึ่งของวชิ าวิทยาการคำนวณ การเรยี นโคดดงิ้ ในวชิ าวทิ ยาการคำนวณ เนน ที่
จะพฒั นาความคิดทเี่ ปนระบบ การแกป ญ หา การใชเหตผุ ล หลกั การวางลำดับขัน้ ตอนการคิด กระบวนการ เพือ่
บรู ณาการกับชวี ิต และศาสตรอืน่ ๆ โดยตองการใหนักเรียน คดิ แบบเปน ระบบ รลู ำดับขั้นตอน (อัลกอริทมึ ) การ
วางทางเลอื ก การทำงานทเี่ ปน กระบวนการ มเี หตุผล รแู นวทางการแกป ญหา เขาใจความซับซอนของปญหา การ
เรยี นการสอนโคดดงิ้ จึงทำไดห ลากหลาย ท่ใี หน กั เรยี น คดิ ใชไดทั้ง วธิ ที ใี่ ชค อมพิวเตอรเ ปน เครอื่ งมือ Plugged
และ Unplugged ไดใ หต ัวอยา งการคิดแกป ญหา ท่ัวโลก มกี ารพัฒนาเครอ่ื งมือชว ยในเรือ่ งการเรียนรู หลกั การ
โคดดงิ้ แนนอนวา การใชค อมพวิ เตอร ทำไดง า ย และสนุก ตรงใจเด็ก และไดผลดีย่ิง ท่ีเห็นการเรียนโคด ดงิ้ กนั ทัว่
โลกจึงนยิ มใชเ ครอื่ งมือชว ยการเรยี นรหู ลกั การ โดยใชค อมพวิ เตอรเ ปน เคร่อื งมอื เพราะถกู ใจ เพื่อใหเ ดก็ สนุก โดย
ใหเห็นเปนของเลน รปู ธรรม เชน ไมโครบติ KidBright นอกจากนี้ มีการพฒั นาเคร่อื งมอื การเขยี นโคด แบบงา ยๆ
สำหรบั เด็ก เชน Logo, Scratch, การเขียนเปน บล็อก และยงั มกี ารสรางแพลตฟอรม การเรียนรบู นเวบ็ อีกมากมาย
เชน code.org, Khan academy เปน ตน การโคด ดิง้ ในวชิ าวิทยาการคำนวณ จึงไมไช การทจี่ ะสรางนักเรียนไป
เปน โปรแกรมเมอรท ุกคน แตก ารโคดด้งิ คือการเตรยี มนักเรยี น เพอ่ื การใชชีวิตในอนาคต ไมว าเขาจะประกอบ
อาชีพใด (วารสารออนไลน :โดย ยนื ภูวรวรรณ, 26 กรกฎาคม 2561)
โรงเรยี นบานคมุ (ประสารราษฎรว ทิ ยา) มีสภาพบริบททน่ี ำเทคโนโลยีมาใชใ นการเกษตร (เกษตรอัจฉรยิ ะ)
มาใชใ นการบริหารจดั การโดยการนำเอาเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ สและคอมพวิ เตอรเขา มาจัดการ เชน ความชืน้ ใน
ดิน สภาพอากาศ หรือสิ่งทีพ่ ืชตอ งการ ใหเ หมาะสมกับแตล ะชนิด และกำจดั ส่ิงทพ่ี ชื ไมตองการ เพอื่ เพ่ิมคณุ ภาพ
ผลผลติ และ ลดตนทนุ จึงมแี นวคดิ ใหน กั เรยี นศึกษาเรียนรรู ะบบเกษตอัจฉริยะ ทางโรงเรียนไดด ำเนนิ การปรับปรุง
และพฒั นาหลักสตู รในกลมุ สาระวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ) มาต้ังแตปการศกึ ษา 2560 และมี
การจัดกระบวนการเรยี นรูดานการโคดดงิ้ (Coding) อยางตอเนื่อง ซึ่งอยูใ นสาระการเรยี นรู เทคโนโลยี มาตรฐาน
การเรยี นรู ว 4.2 เขา ใชแ ละใชแ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกปญ หาที่พบในชีวิตจริงอยางเปน ข้ันตอนและเปนระบบ
ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรูการทำงาน และการแกป ญ หาไดอยางมีประสิทธภิ าพ รูเทา
ทัน และมจี ริยธรรม
2
ในปก ารศึกษา 2564 ท่ีผานมาในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 6 ไดมีการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู พอ่ื ฝก ทักษะ
ดา นการโคดด้งิ (Coding) ในรปู แบบ Plugged โดยใชโ ปรแกรม Scratch และจากการศกึ ษาบริบทของโรงเรียน
พบวาวิเคราะหผ ูเรยี น พบวา นกั เรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 มากกวารอ ยละ 50 ตองการที่จะเรยี นรูแ ละ
รับประสบการณใหมๆ ในการฝกทกั ษะดานการโคดด้งิ (Coding) ซง่ึ นับเปนทม่ี าของการพัฒนาทักษะการโคดดง้ิ
(Coding) ดว ยชดุ สมองกล KidBright ในกิจกรรมเกษตร Mini Smart Farming คร้ังน้ี
รปู ที่ 1 แสดงลกั ษณะของชุดสมองกล Kidbright
รูปท่ี 2 แสดงลักษณะโปรกรม KB IDE ท่ใี ชในการเขียนคำสงั่
3
2.การวิเคราะหสภาพผเู รียนเปนรายบุคคลเพอ่ื จดั การเรยี นรูทเี่ หมาะสมกับผูเรียน
ผสู อนไดท ำการวิเคราะหสภาพผเู รยี นเปน รายบคุ คลเพอ่ื นำไปสูการวางแผนและจดั กระบวนการเรยี นรูท่ี
เหมาะสมกับผเู รยี นแตละบคุ คล โดยไดจดั ทำเครื่องมือและวิธกี ารวิเคราะหผูเ รยี นเปนรายบุคคลเพ่ือนำขอมลู
ดงั กลาวมาวางแผนในการจดั การเรียนรทู ่เี หมาะสมกบั ผเู รียนประกอบดวย ขอมูลดา นความรคู วามสามารถของ
ผเู รยี น ขอมูลดา นพฤตกิ รรมและความตอ งการของผเู รียน ขอ มลู ดา นความสมบรู ณด านสุขภาพรา งกายและจิตใจ
การสนบั สนุนของผปู กครองในการจัดการเรยี นรู ความรูแ ละทักษะพ้ืนฐานดา นการโคด ดิง้ (Coding) ความรแู ละ
ทกั ษะดา นการจัดลำดับการทำงาน(Algorithm) โดยมีสรปุ ผลการวเิ คราะหส ภาพผูเ รยี นเปน รายบุคคลดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงสรุปผลการวิเคราะหส ภาพผูเรยี นเปน รายบคุ คลของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6
4
จากสรปุ ผลการวิเคราะหสภาพผูเ รยี นเปน รายบุคคลพบวา นกั เรียนระดับช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียน
บานคุม(ประสารราษฎรวิทยา) สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแพร เขต 1 นกั เรียนสว นใหญ มผี ลการ
ประเมินดานความรู ความสามารถ พฤตกิ รรมและความตอ งการ ดา นรา งกายและจิตใจอยูในระดับดี แตผ ลการ
วิเคราะหน ักเรียนรายบุคคลเฉพาะดา นสำหรบั รายวิชาวิทยาการคำนวณ ดา นทกั ษะการโคดด้ิง(Coding) พบวา
มนกั เรียนจำนวนรอยละ 63.63 มผี ลการวิเคราะหอ ยใู นระดับปานกลาง และรอยละ 36.36 มผี ลการวิเคราะหอยู
ในระดบั ปรบั ปรงุ สว นในดา นความรูเกีย่ วกับการจดั ลำดบั การทำงาน(Algorithm) มีนกั เรียนรอยละ 54.54 มีผล
การวเิ คราะหอ ยใู นระดับปานกลาง และ รอยละ 45.45 มีผลการวิเคราะหอ ยูใ นระดับปรับปรุง นอกจากนัน้ แลว
พบวา รปู แบบการจดั การเรียนรทู ี่นกั เรียนตอ งการมากท่ีสุด 3 อันดับคือ รูปแบบที(่ 12) แบบใหล งมอื ปฏบิ ตั ิ รอยละ
63.63 รปู แบบท่(ี 7) แบบทดลอง รอยละ 27.27 และรูปแบบที(่ 8) แบบสาธิต รอยละ 9.09 จึงสะทอนใหเห็นวา
ครผู ูสอนตองมกี ารพฒั นาทักษะดานการโคดด้งิ (Coding) และปรับเปลย่ี น วิธกี ารสอนเพ่ือไดล งมือปฏบิ ัติมาก สว น
รวมกบั กิจกรรมการเรียนรู ตลอดจนหาประสบการณใหมๆ เพอ่ื เปน การกระตุนการเรียนรูแ ละใหผ เู รียนสนุกกบั
การเรยี นรูดานการโคด ดงิ้ (Coding) ใหมากขึน้
3. การวิเคราะหเ พ่อื ออกแบบการจัด การเรยี นรู Coding
ผูสอนไดท ำการออกแบบการจดั การเรยี นรโู ดยไดทำการวิเคราะหองคประกอบตา งๆท่เี กย่ี วขอ งดังนี้
1.วิเคราะหห ลกั สตู รสาระเรียนรแู กนกลางสาระวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
2.มาตรฐานการเรียนรแู ละตัวช้ีวดั หลักสูตรวิชาวทิ ยาการคำนวณระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 โรงเรียนบา นคมุ
(ประสารราษฎรวิทยา) สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแพร เขต 1
3.แนวทางการจัดการเรยี นรเู ทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ Coding With kidbright โดย( สวทช,NECTEC, สสวท)
4. ศกึ ษาบริบทของสถานศกึ ษา ผูเรยี น และทอ งถน่ิ
5
หลกั สตู รแกนกลางสาระ
วทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ หลกั สตู รวิชาวทิ ยาการ
เทคโนโลยี วทิ ยาการ Mini Smart คาํ นวณ โรงเรียนบ้านคมุ้
คาํ นวณ (ประสารราษฎรว์ ิทยา)
Farm
Coding With
Ki dbri ght
บริบทของ
สถานศึกษา ผเู้ รยี น
และทอ้ งถนิ่
รูปที่ 4 องคประกอบในการวิเคราะหแ ละออกแบบการจัดการเรียนรู Mini Smart Farming
เปาหมายของหลักสูตร
การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ มเี ปา หมายท่ีสำคัญในการพัฒนาผูเรียน ดงั น้ี
1. เพ่อื ใชท กั ษะการคดิ เชงิ คำนวณในการคิดวเิ คราะห แกป ญ หาอยางเปนข้ันตอนและเปน ระบบ
2. เพื่อใหม ีทกั ษะในการคน หาขอมลู หรอื สารในเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห สงั เคราะหและนำสารสนเทศ
ไปใชในการแกป ญ หา
3. เพือ่ ประยกุ ตใชความรดู านวิทยาการคอมพิวเตอร สอื่ ดจิ ิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ในการ
แกปญหาในชวี ิตจริง การทำวานว มกันอยา งสรางสรรคเ พอ่ื ประโยชนต อตนเองหรอื สังคม
4. เพือ่ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารอยา งปลอดภัย รเู ทาทนั มีความรับผดิ ชอบ มีจรยิ ธรรม
6
วิเคราะหต ัวชี้วัด สาระเทคโนโลยี ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6
ตวั ช้วี ดั ส่ือ / เครอื่ งมอื / วิธสี อน
1. ใชเ หตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและ - ใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะ
- ออกแบบวธิ ีการแกปญ หาในชวี ิตประจำวนั
ออกแบบวธิ ีการแกป ญหาที่พบใน
ชีวติ ประจำวัน - Algorithm
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา งงาย เพอ่ื - เขยี นโปรแกรม / หาขอผิดพลาด
แกป ญ หาในชวี ติ ประจำวัน ตรวจหา - KB IDE
ขอผิดพลาดของโปรแกรมและแกไข - สรางเกม การคำนวณทางคณติ ศาสตร
- KidBright สรางเกม การคำนวณทาง
3. ใชอนิ เทอรเ นต็ ในการคนหาขอ มูลอยา งมี
ประสิทธิภาพ คณิตศาสตร การเขยี นโปรแกรมพน้ื ฐานอยา ง
งา ยดาน iot
4. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว มกนั อยาง - สรปุ สาระสำคญั จากการสบื คน ได
ปลอดภัย เขา ใจสทิ ธแิ ละหนาทขี่ องตน
เคารพสิทธขิ องผอู นื่ แจงผเู ก่ียวขอ งเมื่อพบ - กำหนดสทิ ธิ์ กำหนดรหัสผา น อาชญากรรม
บนอนิ เทอรเ นต็ มลั แวร และซอฟตแ วร
อนั ตราย
ตารางท่ี 2 แสดงการวเิ คราะหต ัวชว้ี ัดสาระเทคโนโลยี ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6
7
โครงสรางรายวชิ าวิทยาการคำนวณ ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 โรงเรยี นบา นคุม (ประสารราษฎรว ทิ ยา)
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาแพร เขต 1
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร (วทิ ยาการคำนวณ) รหสั วิชา ว16101 ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 6
ปการศึกษา 1 / 2565 เวลาเรียนท้ังหมด 20 ชม./ภาค
ลำดบั หนว ยการเรียนรู/เรื่อง มาตรฐาน โครงสรา งรายวิชา จำนวน น้ำหนัก
ที่ การเรยี นรู/ สาระการเรยี นรู ชวั่ โมง คะแนน
1 แนวคดิ การแกป ญ หาดวย ตวั ชวี้ ดั
เหตผุ ลเชิงตรรกะ ว 4.2 ป.6/1 - การเปรียบเทียบส่ิงของสามารถทำไดหลาย วิธี 6 15
เชน เปรียบเทียบทีละชิ้นหรือแบงสิ่งของ 4 15
2 เขยี นโปรแกรมดวย ว 4.2 ป.6/2 ออกเปนกลมุ แลวนำมาเปรียบเทยี บกัน
KB IDE
- วิธีการแกปญ หาหน่ึง ๆ มีไดหลายวธิ ี แตละวิธี
อาจมีจำนวนขั้นตอนที่ไมเทากันแตสามารถ
แกปญหาไดเชนเดียวกันการแสดงขั้นตอนใน
การแกปญหาสามารถทำไดโดยเขียนรหสั ลำลอง
หรือเขียนผังงาน ผังงาน (flowchart) ใช
ออกแบบหรอื วางแผนขนั้ ตอนการทำงาน ชวย
ใหเขาใจขั้นตอนและเห็นภาพการทำงานที่
ชดั เจนข้นึ และสามารถตรวจสอบยอ นกลับเมื่อ
พบขอ ผดิ พลาดในการทำงานไดนอกจา กน้ีเรา
สามารถใชผ ังงานแสดงข้ันตอนการทำงานตา ง ๆ
ในชวี ติ ประจำวนั ไดดวย สญั ลักษณท ่ีใชในการ
เขยี นผังงาน เชน เรมิ่ ตน/จบ การปฏิบตั ิงาน
การตดั สนิ ใจ ทิศทาง
- การออกแบบโปรแกรม เพ่อื ลำดบั ขน้ั ตอนการ
แกป ญ หา โดยแสดงขนั้ ตอนการทำงานของ
โปรแกรมดวยวธิ ีการตาง ๆ
- การเขยี นโปรแกรมภาษา KB IDE เปน โปรแกรม
ท่นี ำบลอ็ กคำสง่ั มาวางตอ กนั แทนการพมิ พคำสั่ง
- การตรวจสอบและแกไ ขขอผดิ พลาดของโปรแกรม
เพ่อื แกไ ขขอ ผดิ พลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการเขยี น
โปรแกรม
8
3 Mini Smart Farming ว 4.2 ป.6/2 - ทำความรูจัก IOT 6 20
- พื้นฐานการเขียนโปรแกรมดวย KidBright โดยใช
KB IDE
- การใชคำสัง่ พ้ืนฐาน และแกไขปญหาตามสถานการ
ทค่ี รูกำหนด
- การเขียนโปรแกรมคำนวณทางคณิตศาสตร
- การเขยี นโปรแกรมแบบมเี งือ่ นไข เกมทายไดไหม
- การเขียนคำสัง่ เงื่อนไข
- การแฟลฃโปรแกรมเขา สู KidBright
- การเขยี นโปรแกรมเพ่ือเรยี กการทำงานของ
เซ็นเซอรต างๆ และ IOT พรอมเปด -ปด ผาน App
Blynk 2.0
- การแจง สถานะเตือนผาน App Line Notifly
4 การใชงานอินเทอรเน็ต ว 4.2 ป.6/3 - เทคนิคการคนหาขอ มลู เชน การใชคำสำคญั การ 2 15
ใชเ คร่อื งหมายหรอื สญั ลกั ษณ อีกทัง้ ยังจะตองมีการ 15
20
จดั ลำดบั ผลลพั ธการคน หาและประเมินความ 100
นา เชอื่ ถอื ของขอ มูล
- ความนา เช่ือถือของขอ มลู การเปรยี บเทียบเพ่ือดู
ความสอดคลอ งกนั ของขอมูล
- การเชอื่ มตอ อปุ กรณ ผา น App Blynk 2.0
- การเชอื่ มตอ ผา น App Line Notifly
5 การใชเทคโนโลยี ว 4.2 ป.6/4 - การต้งั คาความปลอดภยั เชน การกำหนด 2
สารสนเทศอยางปลอดภัย รหสั ผา น
- การใชงานอินเทอรเ นต็ อยา งปลอดภยั การรถู งึ
อนั ตรายจากการแลกเปลยี่ นขอมูล การดตอ สื่อสาร
- การติดตงั้ ซอฟตแ วรอยา งปลอดภัย
สอบปลายภาค
รวม 20
ตารางท่ี 3 โครงสรางรายวิชาวิทยาศาสตร( วิทยาการคำนวณ) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 6
9
สวนท่ี 2
แผนการจัดการเรียนรู
แผนการจัดการเรยี นรู Mini Smart Farming
กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2565
หนวยการเรียนรู Mini Smart Farming เวลา 6 ชว่ั โมง
ครผู สู อน นายดลี าภ ปราบสงบ
1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวช้ีวัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เขา ใจและใชแ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกป ญ หาท่พี บในชีวิตจรงิ อยา งเปน ข้ันตอน
และเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู การทำงานและการแกป ญหาได
อยา งมปี ระสิทธิภาพ รเู ทา ทันและมีจรยิ ธรรม
ตวั ชวี้ ดั ป.6/1 ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกป ญ หาที่พบในชีวิตประจำวัน
ป.6/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา งงา ยเพื่อแกปญหาในชีวิตประจำวัน
2. จุดประสงคก ารเรียนรู (ความรู, ทกั ษะ, เจตคติ)
1. นักเรียนเขา ใจความหมายของ Internet Of Thing (IOT)
2. นกั เรียนสามารถเขียนคำส่ังเพ่อื ใหบ อรด KidBright ใหทำงานในรปู แบบ IOT แสดงผลและควบคุม
ดว ย App Blynk 2.0 พรอมแจงเตอื นผา น Line Notifly ได
3. นกั เรียนสามารถตรวจสอบและแกไ ขขอ ผิดพลาดของโปรแกรมได
4. นกั เรียนสามารถตอ อุปกรณ และSensor เขา กบั บอรด Kidbright ไดอ ยา งถกู ตอง
5. นกั เรียนมีเจตคตทิ ่ดี ีตอวิชาวิทยาศาสตรและสามารถนำไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจำวันได
3. สาระสำคัญ
บอรด KidBright คือชดุ คอนโทรลเลอรที่พัฒนาข้ึนโดย สวทช. และ NECTEC เปนชุดสมองกลทสี่ ามารถ
ทำงานไดห ลากหลาย เหมาะกบั การนำมาเรียนรกู ารเขียนโปรแกรมเพ่ือควบคุมอุปกรณ ซงึ่ จะใช App Blynk 2.0
ในการควบคุมการปด - เปดการรดนำ้ ตน ไม ผูใชง านสามารถเขียนโปรแกรมตรวจสอบการ ปด - เปด เพื่อให
ทำงานหรือแสดงผลลัพธไ ด ซ่ึงใชเ ซน็ เซอรว ัดคาความช้ืนของดิน และ อณุ หภมู ิ ใหแสดงผล App Blynk 2.0 และ
แจงสถานะผาน App Line Notifly
10
การทำงานของ KidBright ประกอบไปดว ย 2 สว น สวนโปรแกรมสรางชุดคำสัง่ KB IDE และสวนของ
บอรดสมองกลฝงตวั KidBright โดยสามารถสรางชุดคำส่ังผานโปแกรม KB IDE โดยการ Drag and Drop บล็อก
คำสง่ั ท่ตี อ งการ จากน้ัน KB IDE จะทำการ Compile และสง ชุดคำสงั่ ดงั กลา วไปท่บี อรด KidBright เพ่ือให
ทำงานตามคำสงั่
การเขยี นคำส่ัง(Coding) สามารถใชคำสง่ั ในรปู แบบบลอ็ ก เพ่อื ทำการแฟลชโปรแกรมลงบนบอรด
KidBright เพอ่ื ใหทำงานตามโปรแกรมคำสงั่ ได โดยสามารถเขียนคำสั่งเพ่อื เชอื่ มตอ กับบอรด KidBright โดยตรง
หรอื เขียนคำสง่ั จากโปรแกรม KB IDE ซึง่ ใชสำหรบั ฝก เขียนคำส่งั
คำสั่งตา งๆ ใน KB IDE จะประกอบไปดว ยกลมุ หลกั ๆ คือ กลมุ คำส่ังพน้ื ฐาน กลมุ คำส่ังทางดาน
คณิตศาสตร ตรรกะ วนรอบ รอ เสียงดนตรี เซนเซอร เวลลา จพี ไี อโอ ขั้นสูง ตวั แปร ขอ ความ ปลกั๊ อิน
การใชค ำสั่งแสดงผลในบอรด KidBright สามารถทำไดห ลายรูปแบบ เชน แสดงผลผา นจอแสดงผล LED
16*8 หรือ แสดงผลออกเปน ตัวเลข และขอความตา งๆ ซึง่ จะอยูใ นกลมุ คำสง่ั พ้ืนฐาน
คำสั่งในกลมุ คณิตศาสตรใชใ นการเขียนคำส่ังเพ่ือทำการคำนวณ หรือดำเนนิ การทางคณิตศาสตร ซงึ่ KB
IDE ไดม กี ารเตรยี มคำส่งั ไวอ ยา งหลากหลายเชน การกำหนดคาตวั เลข การบวก ลบ คูณ หาร เปอรเ ซน็ ต รากที่ 2
การ การปด เศษ การดำเนินการทางคณติ ศาสตรตางๆ
คำสง่ั ในกลมุ ตรรกะ เปนคำสงั้ สำหรบั การตรวจสอบเงอื่ นไข การเปรียบเทียบ การตรวจสอบการกดปุม
สวติ ช การปลอยสวิตช
คำสั่งวนรอบ ใชใ นการกำหนดใหมกี ารทำงานแบบวนรอบ วนซ้ำ วนซำ้ แบบมเี ง่อื นไข รวมถงึ การ
กำหนดใหม ีการออกจากการทำงานจาก Loop ตามท่กี ำหนด
เซนเซอร คอื กลุมคำสงั่ ที่สามารถเชอื่ มตอ กับการทำงานกับเซนเซอรที่อยูภ ายในตัวบอรด KidBright
ประกอบไปดว ย หัววดั ระดับแสง หวั วดั อณุ หภมู ิ และเซนเซอรทตี่ องเช่ือมตอ นอกนอก เชน Soil Moisture
Sensor DHT11Sensor DS18B20Sensor เปนตน
คำส่ังกลุม จีไอโอ คือ คำส่งั ท่ีเก่ยี วของกับการทำงานของ Output Input และ การสัง่ การทำงานผา น Pin
Input และ Output ซ่ึงเกดิ ประโยชนอ ยา งมากในการเขียนคำสง่ั เพื่อใหทำงานในระบบ IOT
คำส่ังในกลุมตวั แปร คือคำส่ังทใ่ี ชส ำหรับสรา งตวั แปรเพอ่ื ใชใ นโปรแกรมตามภารกจิ ตา งๆทตี่ อ งการ โดย
คำสัง่ เก่ยี วกบั ตวั แปรจะปรากฏข้นึ กต็ อเมอื่ มกี ารสรางตัวแปรอยางนอ ย 1 ตัว ใน KB IDE
Blynk 2.0 คอื Platform สำหรับทำ IoT ซ่งึ ทำใหเช่ือมตออุปกรณร ะหวาง บอรด Kidbright และ
Smart phone
Line notify คอื การสงการแจง เตอื นผา น Application Line นั้นเอง ตรงตามช่อื เลย ทำไมจะตองใช
การแจงเตือนผา น Line เพราะวา ปกติ App Blynk 2.0 ก็สามารถแจง เตือนได นั้นกเ็ พราะวา คนไทยสวนมาก
แลว ใช Line มากกวา
11
การเขยี นคำส่ังแสดงผล App Blynk 2.0 สามารถใชค ำสง่ั ในกลมุ พื้นฐานเพอ่ื แสดงผล เชน คำสั่งแสดงผล
ผาน App Blynk 2.0 โดยการคลกิ ทจ่ี ุดแสดงผลใหเปน รูปหรอื สญั ลกั ษณตางๆ หรอื ใชค ำส่งั แสดงผล LED แบบ
เลือ่ น
4. สาระการเรยี นรู
1. การทำความรูจกั Internet Of Thing (IOT)
2. การตออปุ กรณ และSensor เขากบั บอรด Kidbright
3. การเขียนโปรแกรมแบบมีเงอื่ นไข เพอื่ สง่ั การแสดงผลและควบคุมดว ย App Blynk 2.0
4. การเขยี นโปรแกรมโดยใชตัวแปร
5. การตรวจสอบและแกไขขอ ผิดพลาดของโปรแกรม
6. การเขยี นโปรแกรมเพือ่ ส่งั การทำงานของเซนเซอร
7. การเขียนโปรแกรมเพอื่ สงั่ การทำงานในดาน IOT แสดงผลและควบคุมดวย App Blynk 2.0 พรอ ม
แจง เตอื นผา น Line Notifly
5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
1. ใฝเ รียนรู
2. อยอู ยา งพอเพยี ง
3. มุงม่นั ในการทำงาน
5. ชนิ้ งานหรือภาระงาน
ใบงานเรือ่ งความรูเบ้ืองตน เก่ียวกบั Internet Of Thing (IOT)
ใบกิจกรรม การตอ อุปกรณ และ Sensor
ใบงาน เรอ่ื ง blynk และ Line Notifly
ใบกจิ กรรมเรื่อง Mini Smart Farming
6. กจิ กรรมการเรียนรู
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : การเรียนรูโ ดยใชปญ หาเปนฐาน (Problem–based
Learning: PBL) โดยเนน ผเู รียนเปนสำคัญ ดำเนนิ การเรียนการสอนดังตอไปนี้
12
ขนั้ ท่ี 1 กำหนดปญหา
1. ครูนำเขาสูบทเรียนโดยกตัวอยา งสถานการณ โดยที่ครูสรางสถานการณจ ำลองข้นึ มาโดย คือ ถา
ตองการนักเรยี นตองรดนำ้ ตนไมแ ตโรงเรยี นหยุดหลายวัน
ขัน้ ที่ 2 เขาใจปญหา
1. ครอู ธบิ ายการตอ อปุ กรณ และSensor เขากบั บอรด Kidbright
2. ครแู ละนักเรยี นรว มกนั ทดสอบการเขยี นโปรแกรมดว ยโปรแกรม KB IDE
3. ครยู กตัวอยา งและสาธติ การเขยี นโปรแกรมโดยใชกลุมคำส่งั พ้นื ฐาน แสดงผลและควบคมุ ดวย App
Blynk 2.0 พรอ มแจง เตือนผา น Line Notifly
4. นกั เรยี นทำใบกจิ กรรม การตออุปกรณ และ Sensor
ขน้ั ท่ี 3 ดำเนินการศกึ ษาคน ควา
1. ครใู หน กั เรียนสบื คน หาวิธแี กป ญ หาจากอินเตอรเ นต็
2. ครอู ธบิ ายหลักการของการทำงานของระบบ IOT พรอมกับพานกั เรียนอยางทที่ ่ีแปลงเกษตร
อัจฉริยะ
2. ครใู หนกั เรียนทดลองปด – เปด น้ำและสงั่ งานดว ยเสยี งท่ีแปลงเกษตร
3. นักเรยี นทำใบงานเร่อื ง ความรเู บือ้ งตน เกีย่ วกับ Internet Of Thing (IOT)
ข้ันท่ี 4 สังเคราะหความรู
1. ครนู ำนกั เรยี นรว มกันสรุปความรูทีไ่ ดจากการจัดกิจกรรมในประเดน็ ตอไปนี้
- บล็อกคำสัง่ ใดท่ีจะทำใหโปรแกรมสามารถทำงานแบบวนรอบโดยไมมที ี่ส้ินสุด
- นักเรียนมีวิธจี ดั การปญหาท่ีเกดิ ขน้ึ อยางไรเมื่อแฟชโปรแกรมไมผา น หรอื อปุ กรณไ มถูกตอง
- นกั เรยี นแกปญ หาอยางไรเมือ่ ผลลพั ธไ มเปน ไปตามตอ งการ
- นักเรียนสามารถนาํ ความรไู ปประยุกตร ะบบ IOT หรือเขียน โปรแกรมอ่นื ๆ ไดอยางไร
ขัน้ ที่ 5. นำเสนอและประเมนิ ผลงาน
1. ครูใหน ักเรยี นแตละคนพจิ ารณาวา จากหัวขอ ที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มจี ุดใดบาง
ท่ียงั ไมเ ขาใจหรอื ยังมขี อ สงสัย ถามี ครูชวยอธบิ ายเพิ่มเติมใหน ักเรยี นเขาใจ
2. ครูและนกั เรยี นรวมกันแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดร ับจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม และ
การนำความรทู ไี่ ดไปใชป ระโยชน
13
3. ครูรว มตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมจากใบกิจกรรม Mini Smart Farming ผา นการ
ทดสอบจากใช Sensor เพอ่ื ความคมุ การรดนำ้ ตนไมผา น App Blynk 2.0 พรอมแจงเตือนผา น Line Notifly
4. ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรุปผลการเขยี นคำสั่งแบบเง่ือนไขรว มกนั เสนอแนะ และใหความ
คดิ เห็นรว มกนั ถึงสภาพปญ หา ขอคนพบทเ่ี กดิ ข้ึนรว มกัน และ สรุปแนวทางแกไ ขปญหารวมกัน
7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรยี นรขู องนกั เรียนทำได ดงั นี้
1. ประเมนิ ความรูเดมิ จากการอภิปรายในช้ันเรยี น
2. ประเมนิ การเรียนรจู ากคำตอบของนักเรยี นระหวางการจัดการเรยี นรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมนิ จากภาระกิจการเขียนโปรแกรมเพ่อื ส่งั การทำงานของบอรด KidBright ในแตล ะช่วั โมง
4. ประเมินพฤตกิ รรมกลมุ
5. ประเมินจากแบบทดสอบกอ น และหลงั เรียน
ระดบั คะแนน เกณฑการประเมินจากการทำใบกจิ กรรมโปรแกรม ตอบไดไหม
9-10 คะแนน หมายถงึ ดเี ย่ยี ม 7-8 หมายถึง ดี 5-6 คะแนน หมายถงึ พอใช
ต่ำกวา 4 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง
14
ความรเ บ้อื งตน เก่ยี วกบั Internet Of
15
เกณฑการประเมนิ จากการเขยี นโปรแกรมคำส่งั ขั้นพ้นื ฐานการแสดงผลผา นจอ LED 16*8
ระดบั คะแนน 9-10 คะแนน หมายถึง ดเี ยยี่ ม 7-8 หมายถงึ ดี 5-6 คะแนน หมายถึง พอใช ตำ่ กวา 4 คะแนน
หมายถึง ควรปรบั ปรงุ
การทำงานของระบบ IOT
เกณฑการใหค ะแนน
1.การจดั ลำดับขั้นตอนและการเขียนคำส่ัง
3 คะแนน มกี ารใชค ำสั่งสน้ั กะทดั รดั เขาใจงา ย จดั ลำดับคำสงั่ ไดด มี าก
2 คะแนน การใชค ำสัง่ ส้ัน กะทดั รัด เขา ใจงาย จัดลำดบั คำสั่งไดด ี
1 คะแนน การใชคำสัง่ สั้น กะทัดรัด เขาใจงาย จดั ลำดบั คำสงั่ ไดด ีพอสมควร
16
2. ความถกู ตองของผลลพั ธทไ่ี ดจ ากการเขยี นคำสั่ง
5 คะแนน ผลลพั ธถ ูกตองตามเปา หมายของภารกจิ หรือโจทยท่ตี ้งั ไว มกี ระบวนการ Input Output Process ทีด่ ีเยีย่ ม
4 คะแนน ผลลัพธถ ูกตอ งตามเปา หมายของภารกิจหรอื โจทยท่ตี ั้งไว มกี ระบวนการ Input Output Process ที่ดี
3 คะแนน ผลลพั ธถ ูกตองตามเปาหมายของภารกจิ หรือโจทยท ต่ี ้ังไว แตม ขี อ แกไขบาง มกี ระบวนการ Input Output Process
ทีด่ พี อใช
2 คะแนน ผลลัพธถกู ตอ งตามเปาหมายของภารกจิ หรือโจทยทต่ี ้ังไว แตม ขี อแกไขเยอะพอสมควร มีกระบวนการ Input Output
Process ที่ดพี อใช
1 คะแนน มผี ลลพั ธถกู บางสว นผดิ ไปจากเปาหมายของภารกจิ หรือโจทยทตี่ งั้ ไว แตมีขอแกไ ขหลายจดุ มกี ระบวนการ Input
Output Process ควรปรบั ปรงุ
3. การอธบิ ายและการตอบคำถาม
2 คะแนน มีการอธิบายและตอบคำถามที่ถกู ตอ ง ชัดเจน สามารถสือ่ สารใหเขาใจดมี าก
1 คะแนน มีการอธบิ ายและตอบคำถามทีถ่ ูกตอง ชัดเจน สามารถส่อื สารใหเขาใจไดด ี
เกณฑการประเมนิ จากการเขียนโปรแกรมคำส่ังแบบมเี ง่ือนไข
ระดบั คะแนน 9-10 คะแนน หมายถงึ ดเี ยยี่ ม 7-8 หมายถงึ ดี 5-6 คะแนน หมายถงึ พอใช ตำ่ กวา 4 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรงุ
17
เกณฑการใหค ะแนน
1.การจัดลำดบั ข้นั ตอนและการเขียนคำสง่ั
3 คะแนน มกี ารใชคำสัง่ ส้นั กะทัดรัด เขาใจงา ย จัดลำดบั คำสั่งไดด มี าก
2 คะแนน การใชคำสง่ั สั้น กะทดั รัด เขาใจงาย จดั ลำดบั คำสง่ั ไดดี
1 คะแนน การใชคำส่งั สัน้ กะทดั รดั เขา ใจงาย จัดลำดับคำส่ังไดด พี อสมควร
18
2. ความถูกตอ งของผลลพั ธท ไี่ ดจากการเขยี นคำสั่ง
5 คะแนน ผลลพั ธถูกตองตามเปาหมายของภารกิจหรือโจทยท ี่ตั้งไว มีกระบวนการ Input Output Process ที่ดีเยีย่ ม
4 คะแนน ผลลัพธถูกตอ งตามเปา หมายของภารกิจหรอื โจทยท่ตี ัง้ ไว มีกระบวนการ Input Output Process ท่ีดี
3 คะแนน ผลลพั ธถกู ตอ งตามเปา หมายของภารกจิ หรอื โจทยท ่ตี ัง้ ไว แตมีขอแกไ ขบาง มกี ระบวนการ Input Output Process
ทด่ี ีพอใช
2 คะแนน ผลลัพธถูกตองตามเปา หมายของภารกจิ หรอื โจทยท ี่ตัง้ ไว แตม ขี อ แกไ ขเยอะพอสมควร มกี ระบวนการ Input Output
Process ทีด่ พี อใช
1 คะแนน มีผลลัพธถูกบางสว นผิดไปจากเปาหมายของภารกจิ หรอื โจทยทต่ี ้งั ไว แตม ขี อแกไ ขหลายจุด มีกระบวนการ Input
Output Process ควรปรบั ปรุง
3. การอธบิ ายและการตอบคำถาม
2 คะแนน มีการอธบิ ายและตอบคำถามที่ถูกตอง ชดั เจน สามารถสือ่ สารใหเขาใจดมี าก
1 คะแนน มกี ารอธิบายและตอบคำถามท่ีถกู ตอง ชดั เจน สามารถสอ่ื สารใหเขาใจไดดี
เกณฑการประเมินจากการเขียนโปรแกรมใบกิจกรรมเรื่อง Mini Smart Farming
ระดับคะแนน 9-10 คะแนน หมายถงึ ดีเยีย่ ม 7-8 หมายถึง ดี 5-6 คะแนน หมายถงึ พอใช ต่ำกวา 4 คะแนน
หมายถึง ควรปรบั ปรงุ
19
อุปกรณ sensor Kidbright
เกณฑการใหคะแนน
1.การจดั ลำดับขั้นตอนและการเขียนคำสั่ง
3 คะแนน มกี ารใชคำสงั่ สั้น กะทัดรดั เขาใจงา ย จัดลำดับคำสัง่ ไดดีมาก
2 คะแนน การใชค ำสง่ั สนั้ กะทดั รัด เขา ใจงาย จัดลำดบั คำสงั่ ไดด ี
1 คะแนน การใชค ำสง่ั สั้น กะทัดรัด เขา ใจงาย จัดลำดับคำสัง่ ไดด ีพอสมควร
2. ความถูกตองของผลลพั ธที่ไดจ ากการเขียนคำสั่ง
5 คะแนน ผลลพั ธถูกตอ งตามเปา หมายของภารกิจหรือโจทยที่ตัง้ ไว มกี ระบวนการ Input Output Process ที่ดเี ยี่ยม
20
4 คะแนน ผลลพั ธถ ูกตอ งตามเปาหมายของภารกิจหรอื โจทยท ต่ี ้ังไว มีกระบวนการ Input Output Process ที่ดี
3 คะแนน ผลลพั ธถ ูกตองตามเปาหมายของภารกจิ หรอื โจทยท ตี่ ้ังไว แตม ขี อ แกไ ขบา ง มีกระบวนการ Input Output Process
ทดี่ พี อใช
2 คะแนน ผลลพั ธถูกตอ งตามเปา หมายของภารกิจหรือโจทยท่ีตง้ั ไว แตมีขอแกไขเยอะพอสมควร มีกระบวนการ Input Output
Process ท่ดี พี อใช
1 คะแนน มีผลลัพธถ ูกบางสว นผดิ ไปจากเปาหมายของภารกจิ หรือโจทยท่ีตงั้ ไว แตมขี อ แกไ ขหลายจดุ มกี ระบวนการ Input
Output Process ควรปรบั ปรงุ
3. การอธิบายและการตอบคำถาม
2 คะแนน มกี ารอธิบายและตอบคำถามทถี่ ูกตอง ชดั เจน สามารถสือ่ สารใหเขาใจดีมาก
1 คะแนน มีการอธิบายและตอบคำถามทถ่ี กู ตอ ง ชดั เจน สามารถสอ่ื สารใหเขาใจไดด ี
21
Mini Smart Farming
เกณฑการใหคะแนน เกณฑก ารประเมนิ คะแนนเต็ม 15 คะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มีพฤตกิ รรมในระดับ ดี คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดี
ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง คะแนน 9 - 12 หมายถงึ ปานกลาง
ระดบั 1 หมายถึง มพี ฤตกิ รรมในระดบั ปรับปรุง คะแนน 5 - 8 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑ
การผาน รอยละ 60 ( 9 คะแนน ) ลงช่ือ ................................................
()
22 ครผู ูสอน / ผปู ระเมิน
8. ส่ือและแหลง การเรยี นรู
- สอ่ื การสอนการใชง านบอรด KidBright จากเว็บไซต kid-bright.org
- สอ่ื การสอนแนวทางการจดั การเรียนรเู ทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณดวย KidBright ของ
เนคเทค. สวทช.
- ส่อื การสอน ระบบจำลองการทำงานระบบ iot ดว ยบอรด KidBright
- บอรด KidBright Soil Moisture Sensor DHT11Sensor DS18B20Sensor รางถาน มอเตอรป ม
นำ้ สายเชอื่ ม USB ตอ กบั ระบบคอมพิวเตอร Relay ถงั น้ำ ตน ไม กระถาง ดนิ
- แปลงเกษตรอฉั ริยะของโรงเรยี นบานคุม(ประสารราษฎรวิทยา)
23
24
10. บันทึกผลหลังการสอน
MINI SMART
FARMING
25
สว นที่ 3
ผลที่เกดิ ข้นึ จากการเรยี นรู Coding
ผลท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผเู รียน
จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู และการใชเครอ่ื งมอื ตางๆในการวดั ผล ประเมนิ ผล ผเู รียน การ
ทำใบกิจกรรมการเรียนรู การประเมนิ พฤตกิ รรมของผูเ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค สมรรถสำคัญ
ของผูเรยี น ตลอดจนจากการสงั เกต การสมั ภาษณ การตอบคำถาม ปรากฏดงั นี้
MINI SMART FARMING
26
ตารางท่ี 4 แสดงสรปุ ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู Mini Smart Farming
จากขอ มูลสรุปผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู เี่ กดิ ขึ้นกบั ผูเรียนโดยการนำขอมูลคะแนนวดั ความรกู อ น
เรยี น และหลังเรยี นพบวามนี กั เรียนรอยละ 100 มคี ะแนนวัดความรหู ลังเรียน สงู กวา คะแนนวดั ความรกู อนเรียน
ผลจากการประเมินใบกจิ กรรมระหวา งเรียนโดยเฉลย่ี คะแนนวัดผลจากทั้ง 4 ใบกจิ กรรมพบวา นักเรยี นรอ ยละ
81.81 มีผลการประเมนิ อยูใ นระดับคณุ ภาพดี ซึง่ สะทอนใหเ ห็นวานกั เรียนสวนใหญมคี วามรู ความเขาใจ มีทักษะ
กระบวนการดา นการโคดด้งิ (Coding) นอกจากน้นั แลว ยังมีผลการประเมนิ พฤตกิ รรมอยใู นระดบั ดรี อยละ 100
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคระดับดีรอ ยละ 100 และมผี ลการประเมินสมรรถนะผเู รยี นอยใู นระดับดี รอยละ 100
ตามลำดับ โดยไดน ำผลการประเมนิ ออกมาเปนแผนภมู ิแยกตามแนวทางการวดั ผลประเมนิ ผลทีไ่ ดออกแบบไวด งั
กราฟตอ ไปนค้ี อื
กราฟแสดงผลการเปรยี บเทียบเรอ่ื ง IOT Series1
Series2
18
16
14
รปู ที่ 5 กราฟแสดงผลการเปรยี บเทียบคะแนนวัดความรกู อ นเรยี น และหลงั เรียน
12
10
8
6
4
2
0
27
กิจกรรมการตอ่ อปุ กรณ์ และ Sensor
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
รปู ท่ี 6 กราฟแสดงผลการประเมินคะแนนใบงานเรื่อง การตอ อุปกรณ และ Sensor
กิจกรรมBynk และ Line Notifly
8.2
8
7.8
7.6
7.4
7.2
7
6.8
6.6
6.4
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
รปู ท่ี 7 กราฟแสดงผลการประเมนิ คะแนนใบกจิ กรรมเรอื่ ง Bynk และ Line Notifly
.
28
กิจกรรมคาํ ส่งั แบบมเี งอ่ื นไข(10)
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
รปู ท่ี 8 กราฟแสดงผลการประเมนิ คะแนนใบกจิ กรรมเรอื่ ง การเขยี นโปรแกรมแบบมเี ง่ือนไข
กิจกรรมMini Smart Farming
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
รูปท่ี 9 กราฟแสดงผลการประเมินคะแนนใบกจิ กรรมเรื่อง Mini Smart Farming
29
ความพงึ พอใจในผลการจดั การเรียนรู Coding ของนักเรยี นและผูป กครอง
ครผู ูสอนไดท ำการประเมินผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู Coding โดยใชแบบสอบถามทส่ี รางจาก
Google Form เพอื่ ใหน ักเรียน และผูปกครอง ทำการประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั การเรียนรู Mini Smart
Farming พบวา นกั เรียนและผูป กครองจำนวนรอ ยละ 87.21 มคี วามพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
Coding with KidBrigh ในระดบั มาก (4) ขน้ึ ไป
รปู ที่ 10 กราฟแสดงสัดสวนของผปู ระเมนิ ความพึงพอใจระหวา นักเรยี น และ ผูปกครอง
รปู ท่ี 11 กราฟแสดงผลการประเมินความพงึ พอใจ
30
รูปท่ี 12 กราฟแสดงขอ มูลความรกู อ นเรยี น Mini Smart Farming
รูปที่ 13 กราฟแสดงขอ มูลความรหู ลังเรยี น Mini Smart Farming
31
แบบอยางทด่ี ี
มกี ารเผยแพรใ หก บั ครูในสถานท่ีอ่ืนท้งั ภายในและภายนอกของสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
แพร เขต 1 ผา นเอกสารประชาสมั พนั ธโ รงเรยี น เวบ็ ไซตหองเรียนคอมพวิ เตอรครกู ั้ม
https://krugum.wordpress.com
32
รปู ท่ี 14 การเผยแพรประชาสมั พนั ธก ารจัดกิจกรรม Mini Smart Farming ใหก บั หนวยงานอ่นื
33
หลักฐานการจดั การเรียนรูดา น Coding
ขา พเจา นายดลี าภ ปราบสงบ ตำแหนงครู วทิ ยฐานะชำนาญการ ครูผูสอนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร
(วิทยาการคำนวณ) ในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6 โรงเรียนบา นคมุ (ประสารราษฎรว ทิ ยา) สำนักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาแพร เขต 1 ไดม คี วามมุงมั่น และดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรูในหนว ยการเรียนรูเรอื่ ง
Mini Smart Farming เพือ่ พฒั นาทักษะดา นการโคด ดง้ิ (Coding) ใหแกผ เู รียน โดยมีการวิเคราะหวิเคราะห
มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั จากหลกั สูตรแกนกลางสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และหลกั สตู รรายวิชา
วทิ ยาศาสตร( วิทยาการคำนวณ) โรงเรยี นบานคมุ (ประสารราษฎรวิทยา) ศึกษาคูมือแนวทางการจัดการเรยี นรู
เทคโนโลยี Mini Smart Farming ซ่ึงจดั ทำโดย สวทช. และ NECTEC นำผลการทำวิจยั ในชั้นเรียนเร่ือง
การศึกษาผลการใชสอ่ื โปรแกรมสแครช(Scratch) เพอื่ พัฒนาทกั ษะดา นการเขยี นโปรแกรม(Coding) ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 4-6 โรงเรยี นบา นคมุ (ประสารราษฎรวทิ ยา) อำเภอสอง จงั หวดั แพร ปการศึกษา 2564 ที่
ผา นเพือ่ นำขอมลู มาประกอบในการพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรดู า นโคด ดิง้ (Coding) ในปการศกึ ษา 2565
ทำการวเิ คราะหส ภาพผูเรียนเปนรายบุคคล เพือ่ นำไปสูกระบวนการออกแบบการจัดการเรยี นรูท ีเ่ หมาะสมกบั
ผูเรยี น มกี ารผลติ ส่ือทีใ่ ชว สั ดุ อุปกรณเหลือใชใ นมาสรางเปน ระบบจำลองการทำงานของระบบ Internet of
things เชน ระบบ Smart farm โดยใชบอรด KidBright ควบคมุ การทำงานและเขยี นคำสงั่ แบบบล็อกส่ังการ
ทำงาน เพอ่ื ใหผเู รียนไดเห็นภาพการทำงาน และกระตุน ความสนใจ
หลักสตู รแกนกลางสาระ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ออกแบบการจัดการเรยี นรู ้ Mini Smart หลกั สตู รวชิ าวิทยาศาสตร์
และ ดาํ เนินกิจกรรมการ Farming (วิทยาการคาํ นวณ) โรงเรยี นบา้ น
เรยี นรู ้ คมุ้ (ประสารราษฎรว์ ิทยา)
วิเคราะหส์ ภาพผเู้ รยี นเป็น คู่มือการจดั การเรยี นรMู้ ini
รายบุคคล Smart Farm Learning
(สวทช NECTEC)
รปู ท่ี 15 องคป ระกอบและขน้ั ตอนการออกแบบการจัดการเรยี นรู Mini Smart Farming
34
รปู ที่ 16 สอ่ื การเรยี นรู การทำงานของระบบ IOT และบอรด Kidbright
35
รปู ท่ี 16 อุปกรณ sensor บอรด Kidbright
36
รูปที่ 17 ครูอธิบายเรือ่ ง IOT พรอ มกับพานักเรยี นอยา งที่ท่แี ปลงเกษตรอจั ฉรยิ ะที่โรงเรยี น
37
รปู ท่ี 24 บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู Mini Smart Farming
38
รปู ที่ 20 ใบงาน เรื่อง blynk และ Line Notifly
รูปท่ี 21 ใบกิจกรรม เร่อื ง อปุ กรณแ ละ Sensor
39
รูปที่ 22 ใบกจิ กรรมเร่ือง การตอ ปุ กรณ และ Sensor กับ Kidbright
รูปที่ 23 ใบกจิ กรรมเร่อื ง Mini Smart Farming
40
รูปท่ี 24 ใบกิจกรรมเร่ือง ความรู IOT
รปู ที่ 24 บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู Mini Smart Farming
41
รปู ที่ 25 บรรยากาศการจดั กิจกรรมการเรยี นรู Mini Smart Farming
42
รปู ท่ี 26 บรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู Mini Smart Farming
43
รูปที่ 27 นักเรยี นทดสอบโปรแกรม Mini Smart Farming ผา น App Blynk 2.0 พรอ มแจง เตือนผา น Line Notifly
44
45