The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krumamrbt2, 2022-01-06 14:47:27

โครงงาน Micro : bit

โครงงาน Micro : bit

2

โครงงานคอมพวิ เตอร์

เรือ่ ง Amazing learning Coding by Micro : bit
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผจู้ ดั ทำ เกตกุ ลิน่ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1
รอดตัวงาม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/1
1. เดก็ ชายนธั ทวฒั น์ มาคลา้ ย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5/1
2. เดก็ ชายธีระโชติ
3. เด็กหญิงธดิ ารตั น์

ครทู ีป่ รกึ ษา 1. นางสาววภิ าวรรณ นกทวี ตำแหนง่ ครู

สถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๒ (วัดช่องลม)
ปีการศึกษา สงั กดั สำนักการศึกษาเทศบาลเมืองราชบรุ ี

2563

3



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดีย่ิงจากนางวาสนา เจริญเปลี่ยนผู้อำนวยการ
โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดช่องลม) ครูวิภาวรรณ นกทวี ครูที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คำปรึกษาแนะนำ
และขอ้ คิดเห็นตา่ งๆ ในการทำโครงงานมาโดยตลอดเพ่ือให้บรรลุวตั ถุประสงคข์ องการทำโครงงานรวมถึง
ช่วยแก้ไขเอกสารโครงงานคอมพิวเตอร์ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน ขอขอบคุณ เพ่ือนๆ ท่ีได้ให้ความ
ช่วยเหลือในการทำโครงงานน้ี ให้บรรลุเป้าหมายที่ต้ังไวร้ ว่ มกนั

ท้ายสุดน้ีผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่า โครงงานน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีมีความสนใจ ได้บ้างตาม
สมควร หากมีข้อเสนอแนะประการใดเพื่อปรับปรุงผลงานให้ดีข้ึน ทางคณะผู้จัดทำขอน้อมรับคำ
เสนอแนะดว้ ยความขอบพระคุณยง่ิ

คณะผจู้ ัดทำ

4



บทคดั ยอ่

การจัดทำโครงงานในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบอร์ด Micro : bit และการใช้งานเบื้องต้น
เพ่ือศึกษาการเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง) เพ่ือศึกษาการเขียนโค้ด
Micro : bit เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาไมโครบิตเช่ือมโยงกับอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ไปประยุกต์ใช้
งานในชีวิตประจำวนั ในอนาคต

ผลการศึกษาและจัดทำโครงงานพบว่า การดำเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ทไ่ี ด้กำหนด
ไว้ สามารถนำความรู้ไปใช้ได้จริง สามารถเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง)
ได้ 5 เรื่อง คือ 1.เรื่องเข็มทิศนำทาง 2.เรื่องLED มหัสจรรย์ 3.เร่ืองลูกศรสุ่มทิศทาง 4.เรื่องเกมส์ทอด
ลูกเต๋า 5.เรื่องนาฬิกานับก้าว สามารถเข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมและมีพื้นฐานในการพัฒนาต่อยอด
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต อีกท้ังยังสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับเพื่อนๆ ในห้องเรียนและ
ตา่ งหอ้ งเรยี นได้

5

บทท่ี 1
บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้ Coding เป็นหลักสูตรท่ีนักเรียนท่วั ประเทศต้องเรียนอย่างเป็น
ทางการ (National Standards) ภายในเดอื นพฤศจิกายน 2562 โดยเร่ิมตง้ั แตช่ ั้น ป.1 Coding คือ สว่ น
หนึง่ ของหลักสตู รวทิ ยาการคำนวณท่ีบรรจุอยู่ในสาระเทคโนโลยี กลมุ่ สาระเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เป้าหมาย
โดยรวมของหลักสูตรวิทยาการคำนวณ มุ่งเน้นให้นักเรียนฝึกคิดอย่างเป็นระบบ ค้นเจอปัญหาและ
เงื่อนไข รู้เหตุและผล เข้าใจกระบวนการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหา ซ่ึงเป็นทักษะสำคัญและจำเป็นสำหรับ
เด็กในศตวรรษใหม่ ซึ่งการเรียน Coding ในเด็กเล็กคล้ายกับการเล่นเกม เช่น เกมบันไดงู โดยให้ฝึกคิด
หาทางออกทีละข้ัน ผ่านการคิดและออกคำสั่งลูกศร ซ้าย-ขวา-หน้า-หลัง ในระดับประถมศึกษาตอน
ปลายจะเริ่มเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง) โดยจัดเรียงคำส่ังตามลำดับ
ขนั้ ตอน (sequential)

“ไมโครบติ ” เปน็ แผงควบคุมเล็กๆ ทอ่ี อกแบบให้สามารถสั่งงานไดด้ ว้ ยการเขียนโปรแกรมสไตล์
Block-based programming ซง่ึ จะพาท้งั เด็กๆ และผใู้ หญ่ เขา้ สู่โลก Coding ไดอ้ ย่างสนุกและไมย่ าก
เรื่องการเขียนโค้ด และของเล่นไมโครบิต อาจจะฟังดูล้ำๆ สำหรับคนทั่วไป แต่ในความจริงเด็กรุ่นน้ีเริ่ม
เรียนกันแล้ว เริ่มมีชมรม มีที่เรียนพิเศษท่ใี ชแ้ ลกเปลีย่ นเรือ่ งน้โี ดยเฉพาะ มหี ลายเพจแนะนำซื้อขายอย่าง
จรงิ จัง ไมโครบติ เริ่มโดย BBC เมอื่ ปี 2015 เพือ่ ใช้สำหรับการเรียนการสอน และเปน็ open-source นั่น
ก็คือใครๆ ก็สามารถผลิตหรือหยิบไปพัฒนาต่อได้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการ
เขียนซอฟต์แวร์ ไมไ่ ด้เป็นเพียงผู้บริโภคสื่อหรอื เปน็ เพียงผเู้ ล่น แต่เป็นผู้พฒั นาได้ด้วย ตอนน้ีไมโครบิตไป
ไกลมาก เป็นคอมพิวเตอร์ไซส์พกพา มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์ท่ัวไปถึง 70 เท่า เรียกว่าเล็กกว่าบัตร
เครดิตเสยี อีก ปัจจุบันถูกพัฒนาให้ประมวลผลได้เร็วกว่ารุ่นแรกถึง 18 เท่า ไมโครบิตตวั จ๋ิว จะมีไฟ LED
สีแดง 25 ดวงท่ีจะแสดงผลแบบจุด (dot matrix) เพ่ือส่ือสารส่งข้อความเวลาเราสร้างเกม และเรา
สามารถเขียนโค้ดตา่ งๆ ขนึ้ มาผ่านมือถอื ได้เลยดว้ ย

วิชาวิทยาการคำนวณ (Computing science) เป็นวิชาใหม่และมีเนื้อหาที่ค่อนข้างยาก ซึ่งใน
วิชานี้จะไม่ได้เรียนแค่โปรแกรมพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ หรือเรียนรู้เก่ียวกับการใช้คอมพิวเตอร์ขั้น
พ้ืนฐานเท่าน้ัน แต่วิชาน้ีจะสอนกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและสามารถนำมาปรับใช้
เพ่ือแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ในสาขาวิชาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิชาอ่ืนๆ
เพื่อเป็นการฝึกฝนทักษะและการเป็นผู้สร้างโปรแกรมมากกว่าการเป็นผู้ใช้ คณะผู้จัดทำเล็งเห็นถึง
ความสำคัญน้ี จึงจัดทำโครงงาน Amazing learning Coding by Micro : bit ข้ึนมา โดยการฝึกฝน
ทักษะการเขยี น Coding ให้บอรด์ ไมโครบิตแสดงผลลพั ธ์ตามตอ้ งการ

6

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ศึกษาบอรด์ Micro : bit และการใชง้ านเบือ้ งตน้
2. เพอ่ื ศึกษาการเขยี นโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง)
3. เพ่ือศึกษาการเขียนโค้ด Micro : bit
4. เพอื่ เปน็ พ้ืนฐานในการพฒั นาไมโครบติ เช่อื มโยงกบั อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ไปประยุกต์ใช้

งานในชวี ติ ประจำวนั ในอนาคต

ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า

การศกึ ษาความรู้เก่ยี วกับการเขียนโปรแกรมควบคุมบอรด์ Micro : bit จำนวน 5 เรื่อง
1. เข็มทศิ นำทาง
2. LED มหสั จรรย์
3. ลูกศรสมุ่ ทศิ ทาง
4. เกมส์ทอดลกู เตา๋
5. นาฬกิ านบั กา้ ว

แผนการดำเนินงาน

ตารางท่ี 1 แผนการดำเนินงานโครงงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลาการดำเนินงาน
มกราคม 2564 กมุ ภาพันธ์ 2564 มีนาคม 2564
1. ศึกษาค้นควา้ รวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกบั บอรด์ 12341234 1 234
Micro:bit และการใช้งานเบื้องต้น
2. ศึกษาโปรแกรมทีใ่ ช้เขียนโคด้ และศึกษาโค้ด
3. ทดลองเขยี นโคด้ ควบคมุ Micro:bit ในเว็บไซต์
https://makecode.microbit.org/
4. ศกึ ษาข้อมูลการประยุกตใ์ ช้ Micro:bit
ในชวี ิตประจำวัน
5. เขยี นโค้ดควบคมุ Micro:bit เรื่อง 1. เขม็ ทิศ
นำทาง 2. LED มหสั จรรย์ 3. ลกู ศรสมุ่ ทิศทาง
6. เขยี นโค้ดควบคมุ Micro:bit เรือ่ ง 4. เกมสท์ อด
ลูกเต๋า 5. นาฬกิ านบั กา้ ว
7. ทำเอกสารสรุปรายงานโครงงาน

7

ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ

1. ไดร้ บั ความรู้เก่ียวกบั บอรด์ Micro : bit และการใช้งานเบอื้ งตน้
2. ได้รับความรเู้ ก่ียวกบั การเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง)
3. ไดร้ ับความรู้เกี่ยวกับการเขียนโคด้ Micro : bit
4. ได้แนวคดิ ในการพฒั นาไมโครบติ เชอ่ื มโยงกับอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไปประยกุ ต์ใช้
งานในชีวติ ประจำวัน

8

บทท่ี 2
เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ในการจัดทำโครงงาน กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทำการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเรียนวิชา

วิทยาการคำนวณ การเรียน Coding การเขียนโปรแกรมแบบ block programming ไมโครบิต และ

การประยกุ ต์ใชบ้ อร์ดไมโครบติ ซึ่งมเี น้ือหาดังนี้

2.1 การเรยี น Coding
2.2 รู้จักกบั Micro : bit
2.3 เร่มิ ต้นใช้งานเบือ้ งต้นโปรแกรม Micro : bit
2.4 คำสัง่ Micro : bit

2.1 การเรียน Coding

CODING คืออะไร ทำไมหนูต้องเรียน กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้ Coding เป็นหลักสูตรที่

นักเรียนทั่วประเทศต้องเรียนอย่างเป็นทางการ (National Standards) ภายในเดือนพฤศจิกายน 2562

โดยเร่ิมต้ังแต่ช้ัน ป.1 Coding คือ ส่วนหนึ่งของหลักสูตรวิทยาการคำนวณที่บรรจุอยู่ในสาระเทคโนโลยี

กลุ่มสาระเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เป้าหมายโดยรวมของหลักสูตรวิทยาการคำนวณ มุ่งเน้นให้นักเรียนฝึกคิด

อย่างเป็นระบบ ค้นเจอปัญหาและเง่ือนไข รู้เหตุและผล เข้าใจกระบวนการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหา ซ่ึง

เป็นทักษะสำคัญและจำเป็นสำหรับเด็กในศตวรรษใหม่ ตัวอย่างการเรียน Coding ในเด็กเล็กคล้ายกับ

การเล่นเกม เชน่ เกมบนั ไดงู โดยให้ฝกึ คิดหาทางออกทลี ะขั้น ผ่านการคิดและออกคำสั่งลกู ศร ซ้าย-ขวา-

หน้า-หลงั Coding วชิ าใหมท่ ใี่ สเ่ ข้าไปในกล่มุ วิชาวทิ ยาศาสตร์

ประเทศไทย การศึกษาถูกแบ่งออกเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้หรอื 8 กลุ่มวชิ าที่เด็กทุกคนต้อง
เรยี นเหมอื นกัน หนึง่ ในน้นั คอื ‘กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์’ ในกลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์ สมัยก่อน
ไม่มีสาระเทคโนโลยี มีแต่ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ จนเมื่อปี 2560 ที่ผ่านมา
กระทรวงศึกษาธิการและ สสวท. ปรับหลักสูตรโดยเอาสาระเทคโนโลยีท่ีเดิมทีเคยอยู่ในกลุ่มการงาน
พืน้ ฐานอาชพี โดยเพม่ิ เข้ามาอย่ใู นกลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์

ทำไมเดก็ ๆ ต้องเรียน Coding
Coding มาจากภาษาอังกฤษว่า code หมายถึงการเข้ารหัส รหัสคือการจำลองการทำงานของ
มนุษย์ทีละข้ัน แต่เป็นขั้นท่ีเล็กท่ีสุด มนุษย์นำมาสร้างทีละหน่ึงขั้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ “การท่ีเรา
จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน เราหรอื โปรแกรมเมอร์ต้องคิดใหเ้ ป็นขั้นตอน เพราะคอมพิวเตอร์ไม่มีทางทำ
เองได้” การทำงานของคำว่า Coding จึงถูกนำมาผนวกในหลักสูตร เพ่ือฝึกทักษะการแก้ปัญหา
(Problem Solving Skill) อย่างเป็นขั้นตอนให้เด็กๆ “ทักษะแบบนี้เหมาะกับการสร้างนวัตกร ฝึกการ
เป็นผู้สร้าง เด็กในศตวรรษใหม่จำเป็นต้องเรียนเพื่อฝึกทักษะน้ี คอนเทนต์อาจจะไม่สำคัญเท่าทักษะใน
การทำงาน แก้ปญั หา จึงจะดำเนินชีวติ ได้”

9

2.2 รูจ้ ักกับ Micro:bit

“ไมโครบิต” เป็นแผงควบคุมเล็กๆ ท่ีออกแบบให้สามารถสั่งงานไดด้ ้วยการเขียนโปรแกรมสไตล์
Block-based programming ซ่ึงจะพาทั้งเดก็ ๆ และผู้ใหญ่ เข้าสู่โลก Coding ไดอ้ ย่างสนุกและไมย่ าก
เร่ืองการเขียนโค้ด และของเล่นไมโครบิต อาจจะฟังดูล้ำๆ สำหรับคนท่ัวไป แต่ความจริงเด็กรุ่นน้ีเริ่ม
เรยี นกันแลว้ เรม่ิ มีชมรม มที ่ีเรียนพิเศษท่ใี ช้แลกเปลยี่ นเร่ืองนโ้ี ดยเฉพาะ มีหลายเพจแนะนำซ้อื ขายอยา่ ง
จริงจัง

เจ้าไมโครบิตเร่ิมโดย BBC เม่ือปี 2015 เพ่ือใช้สำหรับการเรียนการสอน และเป็น open-
source น่ันก็คือใครๆ ก็สามารถผลิตหรือหยิบไปพัฒนาต่อได้ โดยมีจุดประสงค์เพ่ือกระตุ้นให้เด็กมีส่วน
รว่ มในการเขียนซอฟต์แวร์ ไม่ได้เป็นเพียงผู้บริโภคส่ือหรือเป็นเพียงผู้เล่น แต่เป็นผู้พัฒนาได้ด้วย ตอนนี้
ไมโครบิตไปไกลแล้ว เป็นคอมพิวเตอร์ไซส์พกพา มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์ทั่วไปถึง 70 เท่า พูดก็คือ
เล็กกว่าบตั รเครดิตเสียอีก ปจั จบุ ันถูกพัฒนาใหป้ ระมวลผลไดเ้ ร็วกว่ารนุ่ แรกถึง 18 เทา่ ไมโครบิตตัวจ๋ิวน้ี
จะมีไฟ LED สีแดง 25 ดวงที่จะแสดงผลแบบจุด (dot matrix) เพื่อสื่อสารส่งข้อความเวลาเราสร้างเกม
และเราสามารถเขยี นโค้ดต่างๆ ข้ึนมาผ่านมือถือได้เลยด้วย หน้าตาของไมโครบิต ด้านหนา้ และด้านหลัง
เห็นได้ว่ามไี ฟ LED ดวงอยบู่ นแผง

ไมโครบิตเลน่ อย่างไร

หน้าตาของไมโครบิต ด้านหน้าและด้านหลัง เห็นได้วา่ มไี ฟ LED อยู่บนแผง

10

ไมโครบิตมีแค่สองปุ่ม (หากดูจากภาพด้านหลังของไมโครบิต คือปุ่ม A และ B ที่อยู่ด้านซ้าย
และขวา) ที่ใช้ในการโปรแกรมเกม และมีมาตรความเร่งท่ีสามารถตรวจจับการเคล่ือนไหวและวัดความ
เอยี งได้ แถมยังมีเข็มทศิ ในตวั ที่ทำให้รวู้ ่าเรากำลังไปในทิศทางไหนอกี ต่างหาก ท้งั นี้ เราจะเชื่อมต่อแผงน้ี
เข้ากับอุปกรณ์อื่น เช่น คอมพิวเตอร์ของคุณพ่อ โน้ตบุ๊กของคุณแม่ และอินเทอร์เน็ตได้ผ่านบลูทูธ
พลังงานต่ำเช่นเดียวกับของเล่นตัวต่อท่ีจะมีแบบพื้นฐานมาให้เด็กๆ ลองต่อตาม อาจจะได้ออกมาเป็น
บา้ น รถบรรทุก หรือไดโนเสาร์ ถ้าเป็น “ไมโครบิต” เด็กๆ กอ็ าจเรม่ิ จากเขยี นโปรแกรมตาม tutorial ที่
จะบอกทีละข้ันตอนเลย กดปุ่มนี้ ปุ่มนั้น เขย่า ให้ไฟ LED ปรากฏขึ้นเป็นรูปใดๆ ที่กำหนด ทำได้ต้ังแต่
เร่ืองง่ายๆ อย่างการทำเป็นไฟกะพริบรูปหัวใจ ทำเกมเป่ายิงฉุบไว้เล่นกับเพ่ือน โปรแกรมให้สามารถรด
น้ำต้นไม้ให้ดินชุ่มฉ่ำอยู่เสมอก็ได้ หรือกระท่ังทำหุ่นยนต์ง่ายๆ ก็ยังได้ หลังจากคุ้นเคยกับมันก็เร่ิมเขียน
โค้ดข้นึ เองได้

ไมโครบิต นอกจากจะช่วยส่งเสริมเรื่องความคิดสร้างสรรค์แล้ว ยังช่วยฝึกเรื่องตรรกะและช่วย
ให้เด็ก (และผู้ใหญ่) คุ้นเคยกับเทคโนโลยี เรื่องการเขียนโค้ด วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ การเขียน
โปรแกรม ซึ่งคงหลีกเลี่ยงได้ยากในอนาคตคือเป็นของท่ีเราจะเจอในโซนของเล่นเด็ก แต่มหัศจรรย์มาก
ทเี ดยี ว

2.3 เรมิ่ ต้นใชง้ านเบอ้ื งต้นโปรแกรม Micro:bit

การเขียนโปรแกรมท่ีใช้สำหรับ Micro:bit เราจะใช้เคร่ืองมือของ เมกโค้ด (makecode) ผ่าน
เบราวเ์ ซอร์อินเตอร์เนต็ ในการเขา้ ใช้งานครั้งแรก ใหท้ ำตามข้ันตอนดังนี้

3.1 ใชเ้ บราวเ์ ซอร์ของ google chrome หรือเบราวเ์ ซอร์ใเข้าไปยังเว็บไซต์
https://makecode.microbit.org

3.2 จะปรากฎหน้าต่างโปแกรม ดังภาพ ซึ่งจะมีสว่ นสำคัญๆ ท่ีจะต้องใช้งานอยู่ 3 สว่ นดวั ยกัน

11
1. new Project ปุ่มสำหรับสร้างงานใหม่ (ในกรณีที่ใช้งานครั้งแรกจะยังไม่โปรเจ๊ก
งงานใดๆ ทางด้านขวามือ แต่ถ้าเราใช้งานไปเรอ่ื ย ๆ โปรเจ๊กท่ีเราสร้างหรอื ตัวอยา่ งที่เรยี กดูจะถกู บันทึก
เก็บไวใ้ นเครอ่ื งของเราอัตโนมตั ิ)
2. Import ปุ่มสำหรับสร้างงานทน่ี ำมาจากหลังอ่นื ๆ เชน่ ไฟล์งานเดิมทมี่ ีอยู่
3. Tutorials ตวั อย่างโปรเจก็ ตท์ ่ีคนอ่นื สร้างไวเ้ ราสามารถเรยี กดตู วั อย่างได้
3.3 หลังจากเข้าไปในโปแกรมตามข้อ 3.2 แล้วจะปรากฎหน้าต่างสำหรับเขียนโปรแกรม
microbit ที่ใชผ้ ่านบราวเ์ ซอรข์ อง makecode จะมสี ว่ นประกอบหลักด้วยกัน 6 สว่ นดังนี้

A เมนูจดั การ ใชส้ ำหรับสร้างโปรเจกต์ใหม่หรือเปิดไฟล์งานเกา่ และยังมปี ุ่มคำสงั่ เพิม่ เตมิ อืน่ ๆ
B ส่วนนเี้ ป็นหนา้ จอแสดงผล เมื่อเราสร้างคำสง่ั ทห่ี นา้ จอ D จะแสดงผลเหมอื นจรงิ (simulator)
C กลุ่มคำส่ังต่างๆ โดยคำสั่งแต่ละหมวดจะใช้วิธีทำงานด้วยการลากแล้วต่อบล็อคคล้ายกับ
Scratch
D พื้นท่ีสำหรับการลากคำสั่งมาวางต่อกัน เพ่ือใช้ในการเขียนโค้ดสามารถเลือกเขียนโค้ดได้ 2
แบบ คอื Tab blocks และ Tab JavaScript
E ปุม่ สำหรับ Download คำสงั่ ลงบอร์ด microbit เพื่อรันบนบอร์ดจรงิ
F การกำหนดชื่อโปรเจกตห์ รอื ไฟล์งานจะไดน้ ามสกลุ ไฟลเ์ ป็น .hex

12

2.4 คำส่งั Micro : bit

13

14

2.4 โปรแกรม Sony Vegas

15

16

บทที่ 3
อปุ กรณ์และวธิ ีการดำเนินการ

การจดั ทำโครงงาน Amazing learning Coding by Micro : bit ผู้จดั ทำโครงงานมวี ิธี
ดำเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมท่ีใชใ้ นการพัฒนาโครงงาน

1. เครื่องคอมพิวเตอรพ์ ร้อมเช่ือมต่อระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต
2. เว็บไซต์ https://makecode.microbit.org/
3. บอรด์ Micro : bit
4. เครอื่ ง Printer

3.2 ข้ันตอนการดำเนินการ

1. ศกึ ษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเก่ียวกับศึกษาค้นควา้ รวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั บอรด์ Micro:bit
และการใช้งานเบ้อื งต้น

2. ศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมข้อมูลทเี่ กี่ยวขอ้ งกับศึกษาโปรแกรมที่ใชเ้ ขียนโคด้ และศึกษาโค้ด
3. ทดลองเขียนโคด้ ควบคมุ Micro:bit ในเว็บไซต์ https://makecode.microbit.org/
4. ศึกษาข้อมูลการประยุกต์ใช้ Micro : bit ในชวี ติ ประจำวัน
5. เขียนโคด้ ควบคมุ Micro : bit เรือ่ งที่ 1.เข็มทศิ นำทาง เรื่องท่ี 2.LED มหัสจรรย์
เรื่องท่ี 3.ลกู ศรสุ่มทิศทาง
6. เขียนโคด้ ควบคุม Micro : bit เรอ่ื งท่ี 4. เกมสท์ อดลูกเต๋า เรอ่ื งที่ 5. นาฬิกานับก้าว
7. ทำเอกสารสรุปรายงานโครงงาน

17

บทที่ 4
ผลการดำเนนิ งาน

การจัดทำโครงงาน Amazing learning Coding by Micro : bit มีเนื้อหาเก่ียวกับการเขียน
โค้ด Micro : bit มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-
วาง) ซ่งึ มีผลการดำเนนิ งานโครงงาน ดงั น้ี

4.1 ผลการดำเนินโครงงาน

การศกึ ษาความรู้เกย่ี วกบั การเขยี นควบคมุ โปรแกรมบอรด์ Micro : bit จำนวน 5 เร่อื ง
เรอ่ื งท่ี 1. เขม็ ทิศนำทาง

18

เรอ่ื งที่ 2. LED มหัสจรรย์

19

เร่อื งท่ี 3. ลกู ศรสมุ่ ทศิ ทาง

20

เร่อื งท่ี 4. เกมส์ทอดลกู เต๋า

21

เร่อื งที่ 5. นาฬิกานบั กา้ ว

22

บทท่ี 5
สรปุ ผลการดำเนินงาน / ข้อเสนอแนะ

การจดั ทำโครงงาน Amazing learning Coding by Micro : bit สามารถสรุปผลการ
ดำเนนิ งานโครงงานและข้อเสนอแนะ ดงั น้ี

5.1 การดำเนินงานจดั ทำโครงงาน

5.1.1 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน
1. เพื่อศกึ ษาบอร์ด Micro : bit และการใช้งานเบอ้ื งต้น
2. เพอ่ื ศึกษาการเขยี นโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง)
3. เพอื่ ศึกษาการเขยี นโคด้ Micro : bit
4. เพ่ือเป็นพนื้ ฐานในการพฒั นาไมโครบติ เช่ือมโยงกบั อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ไป
ประยุกต์ใช้งานในชวี ิตประจำวันในอนาคต

5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื หรือโปรแกรมท่ใี ชใ้ นการพฒั นาโครงงาน
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็
2. บอร์ด Micro : bit
3. เครื่อง Printer

5.2 สรุปผลการดำเนนิ งานโครงงาน

การดำเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ สามารถนำความรู้ไปใช้ได้จริง
สามารถเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง) ได้ 5 เร่อื ง คือ 1.เรอ่ื งเข็มทิศนำทาง
2.เรื่องLED มหัสจรรย์ 3.เรื่องลูกศรสุ่มทิศทาง 4.เรื่องเกมส์ทอดลูกเต๋า 5.เร่ืองนาฬิกานับก้าว สามารถ
เข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมและมพี ื้นฐานในการพัฒนาตอ่ ยอดความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในอนาคต อีกท้ังยัง
สามารถถ่ายทอดความรูใ้ ห้กับเพอ่ื นๆ ใหห้ ้องเรยี นและต่างหอ้ งเรยี นได้

5.3 ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการทำโครงงาน

1. ได้รบั ความรเู้ กีย่ วกับบอร์ด Micro : bit และการใชง้ านเบื้องต้น
2. ได้รบั ความรเู้ กี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบ block programming (แบบลาก-วาง)
3. ได้รับความรเู้ กย่ี วกับการเขียนโค้ด Micro : bit เรื่องเขม็ ทศิ นำทาง เรื่องLED มหัสจรรย์

เรอ่ื งลูกศรสุม่ ทิศทาง เร่ืองเกมสท์ อดลกู เตา๋ และเร่ืองนาฬกิ านับก้าว
4. ได้แนวคดิ ในการพฒั นาไมโครบติ เชือ่ มโยงกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไปประยกุ ต์ใช้

งานในชีวติ ประจำวัน

5.4 ขอ้ เสนอแนะ

1. ศกึ ษาการใชง้ านของอุปกรณใ์ ห้ดี
2. ควรมกี ารประชาสมั พนั ธ์และชกั ชวนเพื่อนๆ มาร่วมโครงงานใหม้ ากข้นึ
3. ควรนำความรู้ไปต่อยอดเพ่ือพัฒนาการเขียนโปรแกรมในรูปแบบอ่ืนๆ

23

บรรณานุกรม

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี . (2562). เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชน้ั
ประถมศึกษาปีท่ี 4 :หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ชนนิ ทร เฉลมิ สขุ และ อภชิ าติ คำปลิว. (2562). เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์อกั ษรเจริญทศั น.์

อดิศักด์ิ มหาวรรณ. บอรด์ micro:bit. สืบค้น 26 มกราคม 2564, จาก
https://sites.google.com/a/web1.dara.ac.th/microbit/micro-bit

24

ภาคผนวก

25

ประวัตผิ ู้จัดทำโครงงาน

1. เด็กชายนัธทวัฒน์ เกตกุ ลนิ่ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1
2. เด็กชายธรี ะโชติ รอดตัวงาม นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1
3. เด็กหญิงธดิ ารัตน์ มาคลา้ ย นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5/1

26

27

28

29

30


Click to View FlipBook Version