The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วชิราภรณ์ รามพุตซา, 2019-12-18 08:58:02

ex2-แปลง

ex2-แปลง

1

สือ่ ทีใ่ ชใ้ นการสอื่ สารขอ้ มลู

ส่ือสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้ 2 กลุ่มคือ

1.ส่ือประเภทเหน่ียวนํา ได้แก่ สายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล และสายใยแก้วนําแสง
2.ส่ือประเภทกระจายคลื่น ได้แก่ คล่ืนวิทยุ ไมโครเวฟ

ส่ือประเภทเหน่ียวนาํ
สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable)

1) สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable) สายนาํ สัญญาณแบบนีแ้ ต่ละคูส่ ายที่เปน็ สายทองแดงจะ
ถูกพนั บิดเปน็ เกลียว เพ่ือลบการรบกวนของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าจากคสู่ ายขา้ งเคยี งภายในสายเดียวกันหรือจาก
ภายนอก ทาํ ใหส้ ามารถส่งข้อมูลด้วยความเรว็ สูง สายคูบ่ ิดเกลยี วสามารถใชส้ ่งข้อมลู จาํ นวนมากเปน็ ระยะ
ทางไกลไดห้ ลายกโิ ลเมตร เนื่องจากราคาไม่แพงมาก ใชส้ ่งข้อมูลไดด้ ี น้าํ หนักเบา ง่ายต่อการตดิ ตั้ง จึงนยิ มใช้
งานอย่างกวา้ งขวาง ตวั อย่างสายคูบ่ ิดเกลยี ว ดังรูปท่ี 4.12
สายค่บู ิดเกลยี วมี 2 ชนดิ คอื

1. สายคบู่ ิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสญั ญาณรบกวน หรอื สายยทู พี ี (Unshielded Twisted Pair
:UTP) เป็นสายใช้ในระบบโทรศพั ท์ ต่อมาได้มีการรบั ปรุงคุณสมบัติให้ดขี น้ึ จนสามารถใชก้ บสัญญาณความถี่
สูงได้ ทาํ ใหส้ ่งข้อมูลไดด้ ้วยความเร็วสงู ข้ึน

2.สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวน หรือสายเอสทีพี (Shielded Twisted Pair:
STP) เป็นสายท่ีหุ้มด้วยตัวกน้ั สญั ญาณเพ่ือป้องกนั การรบกวนไดด้ ยี ่ิงข้นึ สายเอสทีพรี องรบั ความถ่ีของการส่ง
ข้อมลู สูงกว่าสายยทู พี ี แตม่ รี าคาแพงกว่า

2

สายบิดคตู่ เี กลียว
สายบดิ คตู่ เี กลยี ว (Twisted Pairs) เมื่อก่อนเป็นสายสัญญาณที่ใช้ในระบบโทรศัพท์ แต่ปัจจบุ นั ได้

กลายเปน็ มาตรฐานสายสัญญาณท่เี ชื่อมตอ่ ในเครือขา่ ยท้องถ่นิ (LAN) สายคบู่ ดิ เกลียวหนึง่ คปู่ ระกอบดว้ ยสาย
ทองแดงขนาดเล็ก เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 0.016-0.035 น้ิว ห้มุ ด้วยฉนวนแล้วบดิ เป็นเกลยี วเป็นคู่ การ
บิดเปน็ เกลยี วของสายแต่ละคู่มีจุดประสงคเ์ พ่ือช่วยลดคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ทีร่ บกวนซงึ่ กันและกนั

สายบิดคู่ตเี กลียวที่มขี ายในทอ้ งตลาดมีหลายประเภทด้วยกนั ซง่ึ สายสญั ญาณอาจประกอบดว้ ยสายคู่
บิดเกลียวต้งั แตห่ น่ึงคไู่ ปจนถึง 600 คูใ่ นสายขนาดใหญ สายบดิ คตู่ เี กลยี วทีใ่ ช้กับเครือขา่ ย LAN จะ
ประกอบด้วย 4 คู่ สายคู่บดิ เกลียวท่ใี ช้ในเครอื ข่ายแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ

- STP (Shielded Twisted Pairs) หรอื สายบดิ คู่ตเี กลยี วหุ้มฉนวน
- UTP (Unshielded Twisted Pairs) หรอื สายบิดคตู่ ีเกลยี วไม่หุ้มฉนวน
Shielded Twisted Pairs (STP)
สายบดิ คู่ตีเกลยี วแบบมสี ว่ นป้องกันสญั ญาณรบกวน หรอื STP (Shielded Twisted Pairs) มสี ว่ นท่ี
เพมิ่ ขน้ึ มาคือ สว่ นที่ปอ้ งกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก ซึ่งชนั้ ปอ้ งกันน้ีอาจเป็นแผ่นโลหะบาง ๆ หรอื ใย
โลหะที่ถกั เปยี เป็นตาข่าย ซงึ่ ชี้นป้องกันนจ้ี ะหอ่ ห้มุ สายคู่บิดเกลยี วทั้งหมด ซ่ึงจดุ ประสงค์ของการเพม่ิ ข้นั หอ่ หมุ้
นเ้ี พ่อื ป้องกันการรบกวนจากคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ เชน่ คลน่ื วทิ ยุจากแหล่งตา่ ง ๆ

รปู สาย Shielded Twisted Pairs (STP)
Unshielded Twisted Pairs (UTP)

สายบดิ คูต่ เี กลียวชนดิ ไมม่ กี ารก้นั สัญญาณรบกวน (Unshielded Twisted : UTP) เรียกอกี อย่างหนง่ึ ว่า
ยูทพี ี สายสญั ญาณประเภทน้เี ปน็ สายบดิ คู่ตเี กลียวที่ให้ในระบบวงจรโทรศัพทต์ ้ังเดิม ต่อมาได้มีการปรบั ปรุง
คณุ สมบัตใิ หด้ ีขึน้ สายยูทีพีท่ีนยิ มใชใ้ นปจั จุบันได้ปรบั ปรุงคณุ สมบตั ิจนสามารถใช้กับสัญญาณความถ่ีสงู ได้

3

สายยูทพี ใี ชล้ วดทองแดง 8 เส้น ขณะทใ่ี นระบบโทรศัพท์จะใช้เพียง 2 หรือ 4 เสน้ ซ่ึงตอ่ เข้ากบั หวั ตอ่ แบบ RJ
45 ซ่ึงเป็นตวั ต่อทมี่ ลี ักษณะคลา้ ยกบั หวั ต่อในระบบโทรศัพทท์ ว่ั ไป แต่ในระบบโทรศัพท์ จะเรยี กหัวต่อวา่ RJ
11 การทม่ี สี ายทองแดงไวห้ ลายเส้นกเ็ พื่อใหห้ ัวต่อ RJ 45 ซ่งึ เปน็ หวั ตอ่ มาตรฐานสามารถเลอื กใชง้ านได้ใน
หลายๆ รปู แบบ เช่น
+ ใช้สายทองแดงต้ังแต่ 3 - 8 เสน้ เป็นสายสญั ญาณ 10 เมกะบิตของ อีเธอรเ์ น็ตแบบ 10BASE-T
+ ใชส้ ายทองแดง 4 เส้น เปน็ สายสญั ญาณ 100 เมกะบติ ของอีเธอร์เนต็ แบบ 100BASE-T
+ ใชส้ ายทองแดง 8 เส้น เปน็ สายสัญญาณของเสียง
+ ใชส้ ายทองแดง 2 เส้น สําหรับระบบโทรศัพท์

รปู สาย Unshielded Twisted Pairs (UTP)
คุณสมบตั ิพิเศษของสายบิดคู่ตเี กลียว

การใช้สายบดิ คู่ตเี กลยี วในการรบส่งสัญญาณนัน้ จาํ เป็นตอ้ งใช้สายหน่งึ คู่ในการสง่ สัญญาณ และอีกหน่ึงคู่
ในการรบั สญั ญาณ ซึ่งในแต่ละคู่สายจะมีทง้ั ข้วั บวกและขั้วลบ ในการทําเชน่ น้ีเปน็ เทคนิคอย่างหน่ึงในการรบั ส่ง
ขอ้ มูลที่เรยี กว่า "Differential Signaling" ซึ่งเทคนิคนี้คิดค้นขนึ้ มาเพอื่ จะกาํ จัดคล่ืนรบกวน
(Electromagnetic Noise) ทีเ่ กิดกับสัญญาณขอ้ มูล ซึ่งคลืน่ รบกวนนีเ้ กิดขึ้นไดง้ า่ ย และเมื่อเกดิ ขึ้นกบั
สายสัญญาณแล้วจะทาํ ให้สญั ญาณข้อมูลยากตอ่ การอ่านหรอื แปลความหมาย
มาตรฐานสายสัญญาณ

สมาคมอตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรอื EIA (Electronics Industries Association) และสมาคม
อตุ สาหกรรมโทรคมนาคม หรือ TIA (Telecommunication Industries Association) ไดร้ ่วมกนั กาํ หนด
มาตรฐาน EIA/TIA 568 ซงึ่ เปน็ มาตรฐานทใ่ี ช้ในการผลิตสาย UTP โดยมาตรฐานน้ีได้แบ่งประเภทของสาย
ออกเปน็ หลายประเภทโดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คอื หมายเลขทบี่ อกประเภท ส่วน
สถาบนั มาตรฐานนานาชาติ (International Organization for Standardization) ไดก้ าํ หนดมาตรฐานนี้
เชน่ กัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเปน็ Class A-F คุณสมบัตทิ ัว่ ไปของสายแต่ละประเภทเปน็ ดังน้ี

Category 1 / Class A : เปน็ สายที่ใชใ้ นระบบโทรศพั ท์อยา่ งเดียว โดยสายนไ้ี ม่สามารถใช้ในการส่ง
ขอ้ มูลแบบดจิ ติ อลได้ สายโทรศัพท์ท่ีใช้ก่อนปี 1983 จะเป็นสายแบบ Cat 1

4

Category 2 / Class B : เปน็ สายทร่ี องรบั แบนด์วิธไดถ้ งึ 4 MHz ซึง่ ทําให้สามารถสง่ ข้อมูลแบบ
ดจิ ติ อลได้ถึง 4 MHz ซ่ึงจะประกอบดว้ ยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่

Category 3 / Class C : เปน็ สายที่สามารถส่งข้อมลู ไดถ้ งึ 16 Mbps และมสี ายคูบ่ ิดเกลียวอยู่ 4 คู่

Category 4 : สง่ ข้อมูลไดถ้ ึง 20 Mbps และมสี ายคู่บดิ เกลียวอยู่ 4 คู่

Category 5 / Class D : ส่งขอ้ มลู ไดถ้ ึง 100 Mbps โดยใช้ 2 คู่สาย และรับสง่ ขอ้ มลู ไดถ้ งึ 1000
mbpsเมื่อใช้ 4 คู่สาย

Category 5 Enhanced (5e) : เช่นเดยี วกบั Cat 5 แต่มีคุณภาพของสายทดี่ ีกว่า เพือ่ รองรับการส่ง
ขอ้ มลู แบบฟลู ล์ดูเพล็กซ์ท่ี 1000 Mbps ซึง่ ใช้4 คสู่ าย

Category 6 / Class E : รองรบั แบนดว์ ธิ ได้ถงึ 250 MHz

Category 7 / Class F : รองรบแบนด์วธิ ไดถ้ งึ 600 MHz และกําลังอยูใ่ นระหว่างการวจิ ยั

มาตรฐาน TIA/EIA นน้ั ได้กาํ หนดคุณสมบัติตา่ ง ๆ ของสายสญั ญาณ UTP ดงั น้ี

- ค่าความตา้ นทาน (Impedance) : โดยทว่ั ไปจะกาํ หนดไวท้ ี่ 100 Ohm + 15%

- ค่าสูญเสียสญั ญาณ (Attenuation) : ของสายท่ีความยาว 100 เมตร หรือ อตั ราสว่ นระหวา่ งกําลงั
สญั ญาณทส่ี ่งต่อกําลังสญั ญาณที่วดั ได้ท่ปี ลายสาย โดยมหี นว่ ยเป็นเดซิเบล (dB)

- NEXT (Near-End Cross Talk) : เปน็ ค่าของสัญญาณรบกวนของสายคสู่ ่งต่อสายค่รู บั ท่ฝี งั่ สง่
สัญญาณ โดยวัดเปน็ เดซเิ บลเชน่ กัน

- PS-NEXT (Power-Sum NEXT) : เปน็ คา่ ท่ีคํานวณไดจ้ ากสญั ญาณรบกวน NEXT ของสายอีก 3 คู่
ที่มีผลต่อสายคู่ทีว่ ดั คา่ นีจ้ ะมีผลเมอื่ ใชส้ ายสญั ญาณท้งั คูใ่ นการรบั ส่งสญั ญาณ เชน่ กิกะบิตอเี ธอร์เน็ต

- FEXT (Far-End Cross Talk) : จะคลา้ ยกับ NEXT แต่เปน็ การวดั ค่าสญั ญาณรบกวนท่ีปลายสาย

- EFEXT (Equal-Level Far-End Cross Talk) : เปน็ ค่าท่คี าํ นวณไดจ้ ากคา่ สูญเสียของสญั ญาณ
(Attenuation) ลบด้วยค่า FEXT ดังนน้ั ELFEXT ยิ่งแสดงว่าค่าสูญเสียยิง่ สูงดว้ ย

- PS-ELFEXT (Power-Sum ELFEXT): เป็นคา่ ที่คาํ นวณคลา้ ย ๆ กับคา่ PS-NEXT คอื เปน็ ค่าที่
คํานวณได้จากการรวม ELFEXT ทเ่ี กดิ จากสายสามคู่ทเ่ี หลอื

- Return Loss : เป็นค่าที่วัดได้จากอัตราสว่ นระหว่างกําลังสญั ญาณทส่ี ่งไปต่อกําลังสญั ญาณท่ี
สะทอ้ นกลับมายงั ต้นสาย

- Delay Skew : เนอ่ื งจากสญั ญาณเดนิ ทางบนสายสัญญาณแต่ละคดู่ ว้ ยเวลาที่ต่างกนั ค่าดเี ลย์สกิวคือ
คา่ แตกตา่ งระหว่างค่ทู เ่ี ร็วทส่ี ุดกบั ค่ทู ช่ี า้ ท่ีสดุ

5

หัวเช่ือมต่อ
สายคูบ่ ดิ เกลยี วจะใช้หัวเช่อื มต่อแบบ RJ-45 ซ่งึ จะมีลักษณะคล้ายกับหัวเช่อื มต่อแบบ RJ-11 ซ่ึงเปน็ หัวที่

ใช้กับสายโทรศพั ท์ทว่ั ๆ ไป ข้อแตกต่างระหวา่ งหวั เชื่อมตอ่ สองประเภทนี้คือ หัว RJ-45 จะมขี นาดใหญ่กวา่
เลก็ น้อยและไมส่ ามารถเสียบเขา้ กับปลั๊กโทรศพั ท์ได้ และอีกอย่างหวั RJ-45 จะเช่ือมสายคู่บิดเลียว 4 คู่
ในขณะทหี่ วั RJ-11 ใชไ้ ด้กับสายเพยี ง 2 คู่เท่าน้ัน ดงั รปู จะแสดงสาย UTP และหวั เชื่อมต่อแบบ RJ-45

หัวเชื่อมต่อแบบ RJ-45
การทําสายแพทชค์ อร์ด หรือสายทเ่ี ชอ่ื มระหว่างฮบั กบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์นัน้ ปลายสายท้งั สองขา้ งจะต้อง
เขา้ ตามมาตรฐาน
EIA/TIA 568B ส่วนสายครอสสโ์ อเวอร์ หรอื สายที่ใชเ้ ช่อื มตอ่ ระหว่างฮับกบั ฮบั หรอื ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์กบั
คอมพิวเตอร์นั้นปลายสายด้านหนงึ่ ตอ้ งเขา้ แบบ EIA/TIA 568A สว่ นปลายสายอกี ดา้ นต้องเขา้ แบบ EIA/TIA
568B

การเข้าหัวสาย
หลักการและเหตุผล

ในการเช่อื มตอ่ ระบบเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์ อปุ กรณส์ าํ คัญอยา่ งหน่ึงทีม่ กี ารใชง้ านอยา่ ง
แพรห่ ลายคือ สายสญั ญาณ UTP ซ่ึงเป็นสายสญั ญาณทําจากสายทองแดง 8 เส้น พนั เป็นคู่ ๆ ได้ 4 ค่อู ยู่
ภายในฉนวน ซ่งึ มรี าคาไมแ่ พงแล้วสามารถตดิ ตงั้ เองไดอ้ ย่างง่ายดาย ซงึ่ ในการทดลองนจ้ี ะให้นกั ศกึ ษาไดร้ จู้ ัก
และได้ทดลองการเข้าหวั สาย UTP ในแบบต่าง ๆ และทราบถงึ การเลือกใชส้ าย UTP แบบตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสม
กับการเช่ือมต่อระหวา่ งอปุ กรณ์ในระบบเครอื ขา่ ยอยา่ งถูกต้อง

6

ข้อดแี ละข้อเสียของสายคบู่ ดิ เกลยี ว

ข้อดี
-ราคาถูก
-งา่ ยตอ่ การนําไปใช้

ข้อเสีย
-จํากดั ความเรว็
-ใชก้ บั ระยะทางสัน้ ๆ
-ในกรณีเปน็ สายแบบไม่มชี ีลด์ กจ็ ะไวต่อสญั ญาณรบกวน

สายโคแอกซ์ สายโคแอก็ ซเ์ ชียล(coaxial cable)

เปน็ สายสัญญาณทีใ่ ชเ้ ปน็ ส่อื กลางการเดินทางของข้อมูลในระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์(computer
network) เปน็ สายสญั ญาณประเภทแรกทใ่ี ช้และเปน็ ท่ีนิยมมากในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมยั แรกๆ แต่
ในปจั จุบันเครือขา่ ยส่วนใหญ่จะใชส้ ายสัญญาณอีกประเภทหน่งึ คอื สายคเู่ กลยี วบดิ และสายใยแกว้ นาํ แสง
สว่ นสายโคแอก็ ซ์เชียลถือวา่ เป็นสายที่ล้าสมยั สําหรับเครือขา่ ยคอมพิวเตอรใ์ นปจั จบุ นั อยา่ งไรกต็ ามยงั มรี ะบบ
เครอื ข่ายบางประเภทที่ใช้สายแบบนีอ้ ยู่

สายโคแอก็ ซ์เชยี ลมักถูกเรยี กสั้นๆวา่ สายโคแอ็กซ์(coax) มตี ัวนําไฟฟ้าอยูส่ องส่วน คาํ ว่า โคแอ็กซ์ คอื มีแกน
ร่วมกัน น่ันหมายความวา่ ตวั นําไฟฟา้ ท้ังสองตวั มีแกนรว่ มกนั นน่ั เอง โครงสรา้ งของสายโคแอ็กซ์ประกอบไป
ด้วย สายทองแดงปน็ แกนกลาง หอ่ หุ้มด้วยวสั ดทุ ่เี ป็นฉนวน ช้ันตอ่ มาจะเปน็ ตวั นาํ ไฟฟา้ อกี ชั้นหน่ึง เป็นแผน่
โลหะบางหรอื อาจเปน็ ใยโลหะทถ่ี ักเปน็ เปยี หมุ้ อีกชั้นหน่งึ ชัน้ สดุ ทา้ ยเปน็ ฉนวนหุ้มและวัสดุป้องกัน
สายสัญญาณ

ส่วนทีเ่ ป็นแกนของสายทําหนา้ ท่นี าํ สญั ญาณข้อมูล ช้นั ใยข่ายจะเป็นชน้ั ท่ีป้องกันสัญญาณรบกวนจาก
ภายนอกและเปน็ สายดินไปในตัว ดังน้ัน ทัง้ สองสว่ นน้จี ึงไมค่ วรเชื่อมต่อกัน เน่ืองจากจะทําให้ไฟช็อตได้

7

ข้อดแี ละข้อเสยี ของสายโคแอกเชยี ล
ขอ้ ดี

-เชือ่ มต่อได้ในระยะทางไกล
-ป้องกนั สญั ญาณรบกวนได้ดี
ขอ้ เสีย
-มีราคาแพง
-สายมขี นาดใหญ่
-ติดตัง้ ยาก

สายใยแกว้ นําแสง

สายใยแกว้ นาํ แสง (Fiber Optic) คือสายที่มีแกนผลิตดว้ ยใยแก้วบริสุทธ์ิ มคี ุณสมบัตหิ ลักในกานาํ สง่ ลําแสง
จากต้นทางไปยงั ปลายทาง เพื่อประโยชนบ์ างอยา่ ง หลกั ๆสําหรบั สายงานของเรา คือการนาํ สง่ ขอ้ มูล
เครือข่ายงคอมพิวเตอร์ (Network) เน่อื งจากการนําส่งข้อมูลดว้ ยแสงผ่านสายใยแกว้ นําแสง (Fiber Optic)
สามารถนาํ สง่ ไดใ้ นระยะทางท่ีไม่จาํ กดั และสามาถส่งข้อมูลได้ในขนาดมากๆ(Bandwidth) และสาย Fiber
Optic ยงั ไม่มีผลกระทบกับคลนื่ สญั ญาณรบกวนทางไฟฟา้ ดว้ ยครับ ปัจจุบนั ความต้องการในการรบั -ส่งข้อมลู
คอมพวิ เตอร์ต้องการ Media ทสี่ ามารถรบั ส่งข้อมูลไดป้ ริมาณที่มากขึ้น Fiber Optic จึงเปน็ ทางออกที่ดี และ
ประกอบกับราคาค่าอปุ กรณ์ และ คา่ บริการงาน Fiber Optic มีราคาทถ่ี ูกลงมาก จึงเปน็ ท่นี ยิ ม ในการใช้
Media ประเภทน้ี ในการรับ-ส่งข้อมูล ปัจจบุ ัน นิยมเดินเป็นสาย Main หลกั (Back Bone) อยยู่ ังไม่เป็นที่
นิยมใช้เดินเป็นจดุ ย่อยๆ ภายใน ซึ่งยงั เหมาะกบั สาท่เี ปน็ ทองแดงอยู่ แต่ใน อนาคตอนั ใกล้ เราอาจจะไดเ้ หน็
สาย Fiber Optic เดินเป็นจุดยอ่ ยภายในอาคาร กนั แลว้ ครับ เพราะอนาคต ผมวา่ ทองแดงคงจะแพงมากและ
หายากมากขึน้ ครับ

สายใยแกว้ นําแสงทีใ่ ช้ในบา้ นเรามที ้งั หมด 2 โหมดหลักๆ อันไดแ้ ก่
1. การสง่ สัญญาณโหมดผสม (Multi Mode)
2. การส่งสญั ญาณโหมดเดีย่ ว (Single Mode)

8

คุณสมบตั ิของสาย Fiber Optic
ออพติคเคเบิล 1 เส้น ประกอบด้วย ใยแก้วนําแสงต้ังแต่ 2 core ขึน้ ไป มี 2 ชนดิ คอื แบบ multi-

mode (MM)และแบบ single-mod(SM)ความแตกต่างของทั้งสองชนิดน้ี คือขนาดของตัวใยแก้วใจกลางหรือ
ท่ีเรียกว่า core

1. Single Mode (SM) ออพติคเคเบิลเปน็ สีเหลืองมีเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของ Core และ Cladding 9/125
um ตามลําดบั เนือ่ งจากขนาด core เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 9 ไมครอน ขนาดเปลือกหุ้มเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 125
ไมครอน เมื่อ core มขี นาดเล็กมาก ทําใหแ้ สงเดินทางเป็นระเบยี บขึน้ ทําให้เกิดการสูญเสียนอ้ ยลง ความเร็ว
ในการรบั ส่งข้อมลู สูงสุดประมาณ 2,500 ล้านบทิ ตอ่ วินาทตี ่อหนึ่งความยาวคลื่นแสงท่ี 1300 นาโนเมตร ดว้ ย
ระยะทางไม่เกิน 20 กม. ระยะทางในการใช้งานจรงิ ไดถ้ ึง 100 กม. และความเร็วจะลดลง แต่ไม่ตํา่ กว่า 1,000
ล้านบิทต่อวินาที ข้อดีของ SM อกี อนั หนึง่ ก็คอื มันทํางานที่ความยาวคลนื่ ท่ี 1300 นาโนเมตร ซ่ึงเปน็ ช่วงทม่ี ี
การลดทอนแสงน้อยทีส่ ุดซึ่งส่วนของแกนแก้วจะมีขนาดเลก็ มากและจะใหแ้ สงออกมาเพียง Mode เดียว แสง
ที่ใช้จะต้องเป็น เส้นตรง ข้อดีทาํ ใหส้ ่งสัญญาณได้ไกล ตามรูป

2. Multi Mode (MM) ออพติคเคเบลิ มีสสี ม้ จะมีขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางของ Core และ Cladding
62/125 um และ 50/125 um ตามลําดบั เนอ่ื งจากขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญข่ นาด core
เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 50 ไมครอน ขนาดเปลือกหุ้มเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 125 ไมครอน เนื่องจากมีขนาด core ใหญ่
ทําให้แสงทเี่ ดนิ ทางกระจดั กระจาย ทาํ ใหแ้ สงเกดิ การหกั ลา้ งกัน จึงมีการสญู เสยี ของแสงมาก จงึ ส่งข้อมลู ไดไ้ ม่
ไกลเกิน 200 เมตร ความเรว็ กไ็ มเ่ กิน 100 ล้านบทิ ตอ่ วนิ าที ท่คี วามยาวคลน่ื 850 นาโนเมตร เหมาะสาํ หรับใช้
ภายในอาคารเท่าน้ัน แตม่ ีขอ้ ดีก็คือ ราคาถูก เพราะ core มีขนาดใหญ่ สามารถผลติ ได้ง่ายกว่า

สาย Fiber Optic แบง่ ตามลักษณะการใช้งาน
1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอรแ์ บบเดนิ ภายในอาคาร (Indoor)

โดยมีการหมุ้ ฉนวนอีกชัน้ หน่ึงให้มี ความหนา 900 um เพ่ือสะดวกในการใชง้ านและป้องกันสายไฟเบอรใ์ นการ
ตดิ ตัง้ ปรมิ าณของ
เส้นใยแกว้ บรรจุอยู่ไม่มากนัก เชน่ 4,6,8 Core สว่ นสายทใ่ี ชเ้ ชื่อมตอ่ ระหว่างอปุ กรณ์จะมขี นาด 1 Core ซงึ่
เรยี กว่า Simplex ขนาด 2 Core เรยี กวา่ Zip Core

9

2. Loose Tube เปน็ สายไฟเบอรท์ ่ีออกแบบมาใช้เดนิ ภายนอกอาคาร (Outdoor) โดยการนาํ สายไฟ
เบอร์มาไว้ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้ําเขา้ ไป เพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้สมั ผสั กบั แรงต่างๆ อีกท้ังยังกันนํ้าซึมเขา้
ภายในสาย สายแบบ Outdoor ยงั แบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านได้อีกดงั นี้

2.1 Duct Cable เปน็ สาย Fiber Optic แบบรอ้ ยท่อ โครงสร้างของสายไมม่ สี ่วนใดเป็นตวั นาํ ไฟฟา้
ซงึ่ จะไมม่ ีปญั หาเรื่องฟา้ ผา่ แตจ่ ะมีความแขง้ แรงทนทานน้อย ในการติดต้ังจึงควร ร้อยไปในท่อ Conduit
หรอื HDPE (High-Density-Polyethylene)

2.2 Direct Burial เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมาใหส้ ามารถใชฝ้ งั ดินได้โดยไมต่ ้องรอ้ ยท่อ
โดยโครงสร้างของสายจะมีส่วนของ Steel Armored เกราะ ชว่ ยปอ้ งกนั และเพิ่ม ความแข็งแรงให้สาย

2.3 Figure - 8 เป็นสายไฟเบอร์ทใ่ี ช้แขวนโยงระหว่างเสา โดยมสี ่วนท่ีเป็นลวดสลงิ ทาํ หน้าท่รี ับ แรง
ดึงและประคองสาย จึงทาํ ให้สายมรี ูปรา่ งหนา้ ตัดแบบเลข 8 จึงเรยี กว่า Figure - 8

2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็นสายไฟเบอร์ ทีส่ ามารถโยงระหว่างเสาได้ โดยไม่
ตอ้ งมีลวดสลงิ เพื่อประคองสาย เน่ืองจากโครงสร้างของสายประเภทน้ี ได้ถูกออกแบบให้ เปน็ Double
Jacket จงึ ทําให้มีความแข็งแรงสงู

3. สายแบบ Indoor/Outdoor

เปน็ สายเคเบิลใยแก้วทส่ี ามารถเดินได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร เปน็ สายที่มีคุณสมบัตพิ ิเศษท่เี รียกวา่
Low Smoke Zero Halogen (LSZH)

ซ่ึงเมอ่ื เกดิ อคั คภี ัย จะเกิดควนั น้อยและควนั ไม่เปน็ พิษ เมื่อเทียบกับ Jacket ของสายชนดิ อืน่ ที่จะลามไฟง่าย
และเกดิ ควนั พษิ

โครงสรา้ ง

ใยแกว้ นําแสงนอกจากประกอบด้วยใยแก้วที่ทาํ ดว้ ยแก้วหรอื พลาสตคิ คุณภาพสูงแลว้ ยังประกอบดว้ ยเปลือก
หุม้ ดา้ นในหรือ cladding ทีม่ ีคา่ ดชั นีในการหักเหของแสงต่ํา มเี ส้นผ่าศูนยก์ ลาง 125 ไมครอน เคลือบด้วยสี
ซิลโิ คนหนา 125 ไมครอนโดยรอบ สนี ี้ชว่ ยบ่งบอกวา่ สายใยแกว้ นาํ แสงเปน็ สายลาํ ดบั ทเ่ี ท่าไร เพราะเน่ืองจาก
สายแตล่ ะเส้นมีขนาดเล็กมาก สายใยแกว้ จึงถูกมดั รวมกนั เป็นชดุ ๆละไม่เกนิ 12 เสน้ อยใู่ นหลอดพลาสติค
คลา้ ยหลอดกาแฟ เรยี กวา่ loose tube แตล่ ะเสน้ จงึ บอกใหร้ ูว้ า่ เสน้ ไหนเป็นเส้นไหน ต้นทางปลายทางจะได้
ตอ่ เปน็ เส้นเดยี วกนั ตามตารางด้านลา่ ง ในแตล่ ะเส้น มี 2 สี สหี นึง่ บอกว่าเปน็ ชุดทีเ่ ท่าไร อกี สหี น่งึ บอกว่าเปน็
เสน้ ที่เท่าไร เช่น ชุดท่ี 1 เสน้ ท่ี 5 จะมสี นี ํ้าเงนิ -เทา เปน็ ต้นส่วนประกอบสุดทา้ ย จะเป็นพลาสตคิ หมุ้ เพ่ือกนั
กระแทก มเี ส้นผา่ ศนู ย์กลางโดยรวมตัง้ แต่ 400-900 ไมครอน

10

Optical Fiber ประกอบขึน้ มาจากวัสดทุ เ่ี ป็น
1. แก้ว (Glass Optical Fiber)
2. พลาสติก (Plastic Optical Fiber)
3. พลาสตกิ ผสมแก้ว (Plastic Clad Silica ,PCS)

ความร้ดู ้าน FIBER OPTIC
ความต้องการในการขนส่งขอ้ มลู ทค่ี วามเรว็ สูงขึ้นและระยะทางท่ีไกลข้นึ นาํ ไปสู่การ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ
การใช้ photons แทน electrons สําหรับการรบั สง่ สญั ญาณ ผ่านเคเบลิ้ ทาํ ให้ได้แบนด์วดิ ธ์ทส่ี งู ขนึ้ แตร่ าคา
ตา่ํ ลงอย่าง ไรกต็ าม แนวคิดในการสง่ ข่าวสาร โดยใชแ้ สงไมใ่ ช่ของใหม่ เพียงแตใ่ นทศวรรษหลังสดุ น้ี สามารถ
ท่จี ะนําวัสดุ และอุปกรณ์ ทางแสงท่ไี ดส้ รา้ งและพัฒนามาให้ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ต่อไป

ขอ้ ดี ข้อเสยี ของสายใยแกว้ นาํ แสง
ข้อดี
- มีการลดทอนสญั ญาณต่ํา(Low Attenuation)
- สามารถบรรจุข้อมูลไดจ้ ํานวนมาก(High Bandwidth)
- โครงสร้างของสายมขี นานเลก็ และนาํ้ หนกั เบา
- มีคณุ สมบตั เิ ปน็ ฉนวน ไม่นาํ ไฟฟา้
- ปราศจากการรบกวนทางไฟฟา้
- มคี วามปรอกภยั สูงเนอ่ื งจากการขโมยสัญาณ
- เส้นใยแกว้ นาํ เสียงมอี ายุการใชง้ านทนี่ าน
ขอ้ เสยี
- เสน้ ใยแกว้ นาํ แสงเปราะบางและแตกหักง่าย
- ไมส่ ามารถโค้งงอได้เหมอื นสายทองแดง
-ในการติดตง้ั สายFiber Optic ตอ้ งใช้เคร่ืองมอื พิเศษซึ่งราคาแพง

11

สอ่ื ประเภทกระจายคล่ืน
เป็นส่ือแบบไรส้ าย การรบั ส่งข้อมูลโดยทว่ั ไปจะผ่านอากาศซึ่งภายในอากาศน้นั จะมพี ลังงานคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้

แพรก่ ระจายอยู่ทัว่ ไป โดยจะตอ้ งมีอุปกรณท์ ่ีไวค้ อยจดั การกบั คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าเหล่าน้ัน ซง่ึ ปกติแล้วจะมีอยู่ 2ชนดิ ด้วยกัน
1.แบบ Directional เป็นแบบกาํ หนดทิศทางของสัญญาณ ดว้ ยการโฟกัสคลื่นนนั้ ๆ ซึ่งจําเปน็ ตอ้ งทําการรบั ส่งด้วยความ

ระมดั ระวัง โดยจะตอ้ งอยู่ในระนาบเดยี วกัน
2.แบบ Omnidirection เปน็ การกระจายสญั ญาณรอบทศิ ทาง ซ่ึงสญั ญาณทีส่ ่งออกไปนน้ั จะกระจายหรอื แพร่ไปท่ัว

ทิศทางในทางอากาศ ทาํ ให้สามารถรบั สัญญาณเหล่าน้ไี ดด้ ้วยการตั้งเสาอากาศ การกระจายสญั ญาณแบบรอบทิศทาง เชน่
วทิ ยกุ ระจายเสียง หรอื การแพรภ่ าพสญั ญาณโทรทัศน์ ซึ่งทาํ ไดโ้ ดยการติดต้ังสาอากาศทีวเี พ่อื รบั ภาพสัญญาณโทรทัศนท์ ี่
แพรม่ าตามอากาศ

คล่ืนวิทยุ (Radio Frequency)
เป็นคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าความถ่สี ูง ซงึ่ มคี ุณสมบตั ิกระจายไปไดเ้ ป็นระยะทางไกล ดว้ ยความเร็วเท่ากบั แสงคือ 300
ลา้ นเมตรต่อวนิ าที เครอื่ งส่งวิทยุจะทาํ หนา้ ทส่ี ร้างคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าความถี่สงู หรือคลืน่ วทิ ยุ (RF) ผสมกับคลืน่ เสยี ง
(Audio Frequency -AF) แล้วสง่ กระจายออกไป ลาํ พังคลื่นเสยี งซ่ึงมคี วามถ่ีตํา่ ไม่สามารถสง่ ไปไกลๆ ได้ ต้องอาศยั
คลน่ื วทิ ยุเปน็ พาหะจงึ เรยี กคลืน่ วิทยวุ ่า คลน่ื พาหะ (Carier Wave) เครือ่ งรบั วทิ ยุ จะทําหนา้ ท่รี บั คลน่ื วทิ ยุและแยก
คลืน่ เสยี งออกจากคลืน่ วทิ ยุใหร้ ับฟังเปน็ เสยี งปกตไิ ด้
ความถี่ของคลื่น หมายถงึ จํานวนรอบของการเปล่ยี นแปลงของคล่ืน ในเวลา 1 นาที คล่ืนเสยี งมีความถีช่ ่วงทห่ี ูของ
คนรบั ฟงั ได้ คือ ตัง้ แต่ 20 เฮริ ต์ ถงึ 20 กิโลเฮิรตรซ์ (1 KHz =1,000 Hz) ส่วนคล่ืนวทิ ยเุ ปน็ คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ความถี่
สงู อาจมีตัง้ แต่ 3 KHz ไปจนถงึ 300 GHz
( 1 GHz = พนั ล้าน Hz) คล่ืนวทิ ยแุ ตล่ ะช่วงความถี่จะถูกกาํ หนดใหใ้ ชง้ านดา้ นตา่ งๆ ตามความเหมาะสม

1.ระบบเอเอ็ม (AM) หมายถึงระบบการผสมคล่ืนทีเ่ มอื่ ผสมกันแลว้ ทาํ ใหค้ วามสงู ของคลนื่ วทิ ยเุ ปล่ยี นแปลงไป
ตามคลนื่ เสยี ง จึงเรยี กวา่ การผสมทางความสูงของคลน่ื (Amplitude Modulation) หรอื AM วิทยุ AM ใหค้ ณุ ภาพ
ของเสยี งไมด่ นี ัก เพราะเกิดการรบกวน ได้ง่าย เชน่ ถูกรบกวนจากสถานีข้างเคยี ง เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ และท่สี ําคญั คือการ
รบกวนจากธรรมชาติ ได้แก่ เวลาฝนตก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า สภาพอากาศทแี่ ปรปรวนมากๆ จะทาํ ให้เสยี งขาดหายเป็น
ช่วงๆ การสง่ วิทยุ AM แบง่ ความถีก่ ารใชง้ านออกเป็นชว่ งคลืน่ (Band) ต่างๆ ดงั น้ี
1.1 LW (Long wave) ความถ่ี 30 -300 KHz
1.2 MW (Medium Wave) ความถี่ 535 -1605 KHz เป็นความถ่ีของวิทยุ AM สว่ นใหญท่ ีใ่ ช้ในประเทศไทย จาํ นวน
กว่า 200 สถานี กระจายอยูท่ ่ัวประเทศ โดยท่ัวไปส่งได้ไกลประมาณ 200 กโิ ลเมตร

12

กระจายอย่ทู ั่วประเทศ โดยท่ัวไปสง่ ได้ไกลประมาณ 200 กิโลเมตร
1.3 SW (Shot Wave) ความถ่ี 3 -30 MHz คุณภาพเสยี งไมด่ ี แต่สง่ ไปได้ไกลมากนบั พนั กิโลเมตร จึงสามารถ
สง่ กระจายเสียงได้ถึงข้ามทวปี เช่น สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงแห่งประเทศไทย (Radio Thailand) 11.965 MHz
และ 9.0655 MHz สถานี BBC ความถี่ที่รับได้ในประเทศไทย 11.910 MHz สถานวี ิทยุเสียงอเมรกิ า หรอื
(Voice of America) ความถ่ี 11.780 MHz สถานวี ทิ ยขุ องออสเตเลยี (Radio Australia) ความถ่ี 15.40
MHz Radio Japan ความถี่ 15.235 MHz (ยทุ ธนา สารยิ า 2527 : 18)

2.ระบบ เอฟเอม็ (FM) เป็นการผสมคลน่ื ทางความถี่ (Frequency Modulation) คอื คล่ืนวทิ ยทุ ี่
ผสมกบั คลนื่ เสยี งแลว้ จะมีความถ่ไี มส่ มา่ํ เสมอ เปล่ยี นแปลงไปตามคลน่ื เสียง แตค่ วามสูงของคลน่ื ยังคงเดิม
วิทยุ FM สง่ ดว้ ยความถ่ี 88 -108 MHz ในประเทศไทยมีจํานวนกวา่ 100 สถานี กระจายอยู่ตามจงั หวดั ตา่ งๆ
ท่วั ประเทศ ให้คุณภาพเสยี งดีเย่ยี ม ไมเ่ กิดสัญญาณรบกวนจากสภาพอากาศแปรปรวน แต่ส่งไดใ้ นระยะ
ประมาณไมเ่ กนิ ประมาณ 150 กโิ ลเมตร ปัจจุบันนิยมสง่ ในแบบ สเตอรโิ อ ท่ีเรยี กว่าระบบ FM Sterio
Multiplex ซงึ่ เครอื่ งรบั วิทยสุ ามารถแยกสญั ญาณแอกเปน็ 2 ข้าง คือ สญั ญาณสําหรับลาํ โพงด้านซ้าย (L)
และ สัญญาณสําหรบั ลาํ โพงขวา (R)

ความแตกต่างระหวา่ ง AM FM
AMใชค้ ล่ืนขนาดกลาง (ความยาวคลนื่ ระหว่าง 100-1,000 เมตร)ในการสง่ กระจายเสยี งในขณะที่ FM

ใชค้ ลื่นส้ัน (ความยาวคลืน่ ระหวา่ ง 1-10 เมตร) หรือคลืน่ สน้ั พเิ ศษ (ความยาวระหว่าง 0.1-1 เมตร) การใช้
FM ในการสง่ คลืน่ วทิ ยกุ ระจายเสยี งจะสามารถยกระดบั คณุ ภาพของเสยี งให้ดขี ้นึ ป้องกันเสยี งรบกวนได้
(เนือ่ งจากรปู แบบของเสียงรบกวนจํานวนมากคล้ายคลงึ กบั AM )นอกจากน้ีขอบเขตความถย่ี ังกว้างกว่า
ดงั น้นั การกระจายเสียงในระบบสเตอริโอจงึ มักใช้ FM
คล่นื วิทยุมีคณุ สมบัติที่นา่ สนใจ

คลน่ื วทิ ยมุ ีสมบัติที่น่าสนใจอกี ประการหน่ึง คือ สามารถหักเหและสะท้อนได้ทบ่ี รรยากาศช้ันไอโอโนส
เฟียร์ บรรยากาศในชั้นนปี้ ระกอบด้วยอนภุ าคท่มี ีประจุไฟฟา้ อยู่เป็นจํานวนมาก เมื่อคลื่นวทิ ยุเคลอ่ื นที่มาถึงจะ
สะท้อนกลับสผู่ วิ โลกอกี สมบัติข้อน้ีทําให้สามารถใช้คลืน่ วทิ ยใุ นการสื่อสารเปน็ ระยะทางไกลๆได้แต่ถ้าเปน็
คล่ืนวทิ ยทุ ม่ี คี วามถี่สงู ขึน้

13

ข้อดี
1. มกี ารกระจายเสียงครอบคลมุ พ้นื ที่ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง มีจํานวนสถานีมาก ทําใหส้ ามารถส่งข่าวสารไปยังผู้ฟัง
ไดจ้ ํานวนมาก
2. มีความรวดเร็วในการสง่ ข่าวสาร ทาํ ให้ผฟู้ ังได้รับขา่ วสารอย่างรวดเรว็ และทันต่อเหตุการณ์
3. เปน็ สอื่ ท่ีมผี ลทางจติ วทิ ยาสงู เพราะนํา้ เสียง ลลี าในการพูดหรอื เสียงประกอบ สามารถทําใหเ้ กดิ จินตนาการ
ไดเ้ ป็นอย่างดี
4. เป็นส่ือท่มี คี ่าใชจ้ า่ ยต่ํา เมื่อเปรียบเทียบกบั สอ่ื อ่นื ๆ ทําให้สามารถสร้างความถ่ีและการเข้าถึงผบู้ ริโภค
ไดม้ าก
5. สามารถเลอื กกลุ่มผฟู้ ังได้ โดยเลอื กโฆษณาในรายการหรือเวลาทเ่ี หมาะสมกับสภาพตลาดและสถานการณ์
ไดเ้ ปน็ อย่างดี
6. เปน็ สื่อที่มีความยืดหย่นุ ผู้โฆษณาสามารถปรบั เปล่ยี นข้อความโฆษณาให้เหมาะสมกับสภาพตลาดและ
สถานการณ์ได้อยา่ งง่ายดาย
7. เข้าถึงกลมุ่ เปา้ หมาย ผทู้ ี่อา่ นหนงั สอื ไม่ออกก็สามารถรบั ฟังได้ ครอบคลุมบริเวณพนื้ ท่ีกว้างขวางมาก
8. ใหค้ วามรสู้ กึ เปน็ กันเองกบั ผ้ฟู ัง สร้างความใกล้ชิด ซ้าํ ยังพกติดตัวได้ตลอดเวลา
9. สามารถฟังไปดว้ ยและทํางานอืน่ ไปดว้ ยได้

ขอ้ เสีย
1. มขี อ้ จาํ กดดา้ นการสรา้ งสรรค์ ขาดการจูงใจด้านภาพ ไม่สามารถสาธติ การทํางานของสินค้าหรอื บรกิ ารได้
2. อายขุ องข่าวสารสั้น หากผู้ฟังพลาดรายการโฆษณา จะไม่สามารถย้อนมารับฟงั ไดอ้ ีก
3. มีการแบง่ แยกกลุม่ ผู้ฟงั เพราะมรี ายการให้เลอื กฟังมาก ผฟู้ ังสามารถเลือกฟังไดห้ ลายสถานี อาจทําให้
พลาดขา่ วสารทน่ี าํ เสนอ
4. มีความยุ่งยากในการซื้อส่อื เนอ่ื งจากมีจาํ นวนสถานีมาก ทําให้ยากต่อการเลอื กเวลาและสถานี
5. ขอ้ มลู วจิ ยั ผู้ฟังมจี ํากัด มปี ัญหาในการวัดปริมาณผ้ฟู ัง ทําใหผ้ ู้วางแผนโฆษณาขาดข้อมูลที่จะใชเ้ ป็นเกณฑใ์ น

14

สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave)

สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็นคลนื่ ความถี่วิทยชุ นิดหนง่ึ ที่มคี วามถ่ีอยูร่ ะหวา่ ง 0.3GHz – 300GHz
ส่วนในการใช้งานนัน้ สว่ นมากนิยมใชค้ วามถ่ีระหวา่ ง 1GHz – 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ทสี่ ามารถผลติ ข้ึน
ได้ด้วยอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์เปน็ สือ่ กลางในการสื่อสารทีม่ ีความเรว็ สูงในระดบั กกิ ะเฮิรตซ์ (GHz) และ
เนือ่ งจากความของคลนื่ มหี นว่ ยวดั เป็นไมโครเมตร จงึ เรยี กชอ่ื วา่ “ไมโครเวฟ” การสง่ ขอ้ มูลโดยอาศยั
สัญญาณไมโครเวฟซ่ึงเป็นสญั ญาณคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลทต่ี ้องการส่ง และจะต้องมี
สถานที่ทาํ หน้าทส่ี ง่ และรับขอ้ มูล และเนือ่ งจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงในระดับสายตา
(Line of sight transmission) ไมส่ ามารถเลี้ยวหรอื โค้งตามขอบโลกทม่ี ีความโค้งได้ จึงต้องมีการต้ังสถานรี ับ-
สง่ ข้อมลู เปน็ ระยะๆ และส่งข้อมลู ต่อกันเปน็ ทอดๆ ระหวา่ งสถานีตอ่ สถานีจนกว่าจะถึงสถานปี ลายทาง หาก
ลักษณะภูมิประเทศ มีภูเขาหรือตึกสงู บดบังคลืน่ แลว้ ก็จะทาํ ใหไ้ ม่สามารถส่งสญั ญาณไปยังเป้าหมายได้ ดังน้นั
แต่ละสถานจี งึ จาํ เป็นต้ังอยู่ในท่สี งู เชน่ ดาดฟา้ ตึกสงู หรือยอดดอยเพื่อหลีกเลี่ยงการชนเนื่องจากแนวการ
เดนิ ทางทเ่ี ปน็ เสน้ ตรงของสัญญาณดงั ที่กลา่ วมาแล้ว การสง่ ขอ้ มลู ด้วยส่ือกลางชนดิ นีเ้ หมาะกับการสง่ ข้อมลู ใน
พื้นทีห่ ่างไกลมากๆ และทุรกันดาร

การใช้งานคล่ืนไมโครเวฟ
คล่ืนไมโครเวฟมียา่ นความถ่กี วา้ งมากจึงถูกนาํ ไปประยุกตใ์ ชง้ านไดห้ ลายชนิด เป็นทน่ี ิยมอย่าง

แพรห่ ลาย ทง้ั งานในด้านส่ือสาร งานด้านตรวจจับวตั ถุเคลื่อนที่ และงานด้านอุตสาหกรรม เป็นตน้ การใชง้ าน
คลน่ื ไมโครเวฟแบ่งออกได้ดังนี้

1 ระบบเช่ือมตอ่ สญั ญาณในระดบั สายตา ใช้ในงานสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างงจดุ หนงึ่ ไปอีกจุดหน่งึ เช่นการ
สือ่ สารโทรศัพท์ทางไกล ใช้การส่งผา่ นสญั ญาณโทรศัพท์จากจุดหนง่ึ ไปอีกจดุ หนึ่งไปยงั สถานีทวนสญั ญาณอีก
จดุ หนง่ึ และส่งผ่านสญั ญาณโทรศพั ทไ์ ปเรื่อย ๆ จนถึงปลายทางและการถ่ายทอดโทรทัศนจ์ ะทําการถา่ ยทอด
สญั ญาณโทรทศั นจ์ ากห้องสง่ โทรทศั นห์ รือจากรถถา่ ยทอดสดไปยงั เครื่องส่งไมโครเวฟ สง่ ไปปลายทางที่
สายอากาศแพรก่ ระจายคลน่ื ของโทรทัศนช์ ่องนนั้ ระบบเชื่อมต่อสญั ญาณในระดับสายตา

15

2 ระบบเหนอื ขอบฟ้า (Over the Horison) เป็นระบบสอื่ สารไมโครเวฟทใ่ี ช้ชัน้ บรรยากาศห่อหุ้มโลกช้ันโทร
โพสเฟียร์ (Troposphere) ชว่ ยในการสะท้อนและการหกั เหคลื่นความถี่ไมโครเวฟ ให้ถงึ ปลายทางในระยะทาง
ทไี่ กลขึน้ การสื่อสารไมโครเวฟระบบน้ีไม่ค่อยนยิ มใชง้ าน ใชเ้ ฉพาะในกรณจี ําเป็นหรือฉุกเฉิน เชน่ ภมู ปิ ระเทศท่ี
แหง้ แลง้ กันดาร เปน็ ป่าดงดบิ เปน็ นํ้าขวางกนั และเป็นอันตราย เปน็ ตน้ การส่ือสารแบบน้ตี ้องสง่ คลืน่
ไมโครเวฟข้นึ ไปกระทบชน้ั บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ ทําใหเ้ กิดการหักเหของคล่ืนกลบั มายังพ้ืนโลก
ระบบสอื่ สารไมโครเวฟเหนือขอบฟ้า
เนอื่ งจากการสื่อสารแบบนี้มีระยะทางไกลมากข้นึ ใชก้ ารสะท้อนช้ันบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ทาํ ใหค้ ล่นื
ไมโครเวฟเกดิ การกระจดั กระจายออกไป มสี ว่ นน้อยที่ส่งออกไปถงึ ปลายทาง สญั ญาณท่ีไดร้ บั อ่อนมากต้องใช้
เครือ่ งส่งที่กําลังสง่ สูง และจานสายอากาศปลายทางต้องมีอตั ราขยาย (Gain) สูง จงสามารถติดตอ่ ส่ือสารกันได้
ดี ขอ้ ดขี องการส่อื สารระบบไมโครเวฟเหนอื ขอบฟ้าคือ สามารถตดิ ต่อส่ือสารไดร้ ะยะทางทไ่ี กลมากขนึ้ เปน็
หลายรอ้ ยกโิ ลเมตร

3 ระบบดาวเทียม (Statellite System) เป็นระบบส่อื สารไมโครเวฟท่ใี ชส้ ถานีทวนสญั ญาณลอยอยใู่ นอวกาศ
เหนอื พน้ื โลกกว่า 30,000 กโิ ลเมตร โดยใชด้ าวเทียมทําหน้าท่เี ป็นสถานที วนสญั ญาณ ทําให้สามารถส่อื สาร
ดว้ ยคลน่ื ไมโครเวฟได้ระยะทางไกลมาก ๆ นยิ มใช้งานในระบบสื่อสารข้ามประเทศข้ามทวปี เป็นระบบสอื่ สาร
ท่ีนยิ มใช้งานมากอกี ระบบหน่ึง

4 ระบบเรดาร์ (RADAR System) เรดาร์ (RADAR) ย่อมาจากคาํ เต็มวา่ Radio Detection And
Ranging เปน็ การใช้คลน่ื ความถ่ไี มโครเวฟช่วยในการตรวจจับและวัดระยะทางของวตั ถตุ ่าง ๆ ทอ่ี ยหู่ ่างไกล

16

ตลอดจนวัตถุเคล่ือนที่แบบตา่ ง ๆ หลักการของเรดาร์คือการสง่ คลน่ื ไมโครเวฟออกไปจากสายอากาศในมุม
แคบ ๆ เมื่อคลื่นไมโครเวฟกระทบกับวัตถุจะสะท้อนกลบั มาเขา้ สายอากาศอีกคร้ัง นําสัญญาณที่รับเทียบกับ
สญั ญาณเดิมและแปรคา่ ออกมาเป็นข้อมูลตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการ

5 ระบบเตาไมโครเวฟ (Microwave Over) เปน็ การใช้คลืน่ ไมโครเวฟท่ีกําลังสง่ สูง ๆ สง่ ผ่านเข้าไปในบริเวณ
พื้นที่แคบ ๆ ทท่ี าํ ด้วยโลหะ คลื่นไมโครเวฟสามารถสะท้อนกําแพงโลหะเหลา่ นน้ั เกดิ เปน็ คลนื่ ไมโครเวฟ
กระจดั กระจายอยูใ่ นพ้ืนทแี่ คบ ๆ นัน้ สามารถนําไปใช้ในการอุ่นอาหาร หรือทําอาหารสุก

ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของระบบไมโครเวฟ
ขอ้ ดี
1. ใช้ในพนื้ ที่ซ่ึงการเดนิ สายกระทาํ ไดไ้ มส่ ะดวก
2. ราคาถกู กว่าสายใยแก้วนําแสงและดาวเทยี ม
3. ตดิ ต้งั งา่ ยกว่าสายใยแกว้ นําแสงและดาวเทยี ม
4. อตั ราการสง่ ข้อมลู สงู
ขอ้ เสีย
สัญญาณจะถกู รบกวนไดง้ า่ ยจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากธรรมชาติ เช่น พายุ หรอื ฟ้าผา่

17

แหล่งอ้างอิง
1. https://sites.google.com/site/sowiphank/sayyan-mikhorwef-microwave

2. https://www.siamchemi.com/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%

99%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7

%E0%B8%9F/

3. https://sites.google.com/site/noogay082sudarat/home/sux-thi-chi-ni-kar-suxsar-khxmul

4. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%

A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%9F

5. https://sites.google.com/site/teeboyboy/home/sux-laea-xupkrn-kherux-khay


Click to View FlipBook Version