แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
เอกสารลำดับท่ี 14 /2565
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | ก
คำนำ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้
ในการบริหารจัดการงบประมาณ ให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรการเร่งรัดงบประมาณรายจ่าย
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ให้สามารถ
ดำเนินงานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตลอดจนนโยบาย
และจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระนอง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการใช้จ่าย
งบประมาณฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการนำไปใช้เป็นข้อมูลในการบริหาร
งบประมาณตอ่ ไป
กลมุ่ นโยบายและแผน
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | ข
สารบัญ หนา้
ก
เรอื่ ง ข
คำนำ ง
สารบญั จ
สารบัญตาราง ฉ
สารบญั แผนภมู ิ 1
สารบญั รูปภาพ 6
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป 8
8
ข้อมูลที่ต้งั 8
วิสยั ทศั น์ (Vision) 8
พนั ธกจิ (Mission) 9
เป้าประสงค์ (Goal)
กลยทุ ธ์เชิงนโยบาย 12
กลยทุ ธ์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของมนุษย์ 15
และของชาติ
กลยุทธ์ท่ี 2 ดา้ นการจัดการศึกษาเพอ่ื เพิ่มความสามารถ 29
ในการแข่งขันของประเทศ
กลยุทธท์ ่ี 3 ด้านการพฒั นาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพของ 33
ทรัพยากรมนษุ ย์
กลยุทธ์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษา 36
ท่มี ีคณุ ภาพ มีมาตรฐานและการลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา
ดา้ นการจดั การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตร 43
กบั ส่งิ แวดลอ้ ม 43
กลยุทธท์ ี่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ าร
จัดการศึกษา 44
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ 44
กรอบนโยบายการจดั การศึกษาของสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา 44
ประถมศกึ ษาระนอง 45
รปู แบบการพัฒนาเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาSQ-POM : Model 46
ดา้ นคุณธรรม (Moral) 46
ด้านคณุ ภาพ (Quality)
ดา้ นโอกาส (Opportunity)
ด้านความปลอดภัย (Safety)
ดา้ นประสทิ ธิภาพ (Performance)
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | ค
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้
46
เรอ่ื ง 46
กลยทุ ธ์
กลยุทธ์ที่ 1 พฒั นาองค์กรให้พร้อมบรกิ าร พฒั นาวชิ าการ 47
เพือ่ การเรียนรู้ 47
กลยทุ ธ์ที่ 2 พฒั นาครแู ละบุคลากรเพื่อการปฏิบตั ิงาน 48
กลยทุ ธท์ ่ี 3 พฒั นาคุณภาพสู่มาตรฐาน
48
สว่ นท่ี 2 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งาน 49
เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง 49
วตั ถุประสงค์ 50
เปา้ หมาย 50
เปา้ หมายการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ปี พ.ศ. 2565 รายไตรมาส 51
แหลง่ งบประมาณ 51
ขอ้ เทจ็ จริง 52
คาดการณ์
ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ 53
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ จากแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 53
พ.ศ. 2565 54
งบบริหารจดั การสำนกั งาน 56
งบภารกิจกลมุ่ 57
งบพัฒนาคุณภาพ (โครงการตามแผน)
งบนโยบาย (สำหรบั นโยบายเร่งดว่ น) 58
59
ส่วนท่ี 3 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จัดสรรครั้งท่ี 1 60
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง 66
ส่วนท่ี 1 งบรหิ ารจัดการสำนกั งาน 84
สว่ นที่ 2 งบภารกิจกลุ่ม
สว่ นท่ี 3 งบพัฒนาคุณภาพ (โครงการตามแผน)
ภาคผนวก
คณะผจู้ ดั ทำ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | ง
สารบญั ตาราง หน้า
49
เร่อื ง
ตารางที่ 1 แสดงเป้าหมายการเบิกจา่ ยงบประมาณ ปี พ.ศ. 2565 รายไตรมาส 53
53
ของสำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาระนอง 54
ตารางที่ 2 แสดงงบรหิ ารจดั การสำนกั งาน ตงั้ กรอบวงเงิน 56
ตารางท่ี 3 แสดงงบภารกจิ กลุ่ม 1 โครงการ ตัง้ กรอบวงเงนิ 58
ตารางที่ 4 งบพัฒนาคุณภาพ (โครงการตามแผน) ต้ังกรอบวงเงนิ
ตารางที่ 5 งบนโยบาย (สำหรับนโยบายเรง่ ด่วน) ตั้งกรอบวงเงนิ 59
ตารางที่ 6 แสดงการจดั สรรงบประมาณ ในสว่ นของงบบริหารจัดการสำนกั งาน 60
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา 64
ประถมศึกษาระนอง
ตารางท่ี 7 แสดงการจดั สรรงบประมาณ ในส่วนของงบภารกจิ กลุม่ ท่ตี ้ังกรอบวงเงินไว้
ตารางท่ี 8 แสดงการจัดสรรงบประมาณ ในสว่ นของงบพัฒนาคณุ ภาพ
(โครงการตามแผน) ที่ตง้ั กรอบวงเงนิ ไว้ เปน็ รายไตรมาส
ตารางท่ี 9 แสดงผลการจัดสรรงบภารกิจกล่มุ ท่ีได้รบั การจัดสรรในคร้ังท่ี 1
จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | จ
สารบัญแผนภูมิ หน้า
49
เรื่อง 50
แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงรอ้ ยละภาพรวมรายจ่ายงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ 57
พ.ศ. 2565 ทกุ งบประมาณ 58
แผนภมู ิท่ี 2 แสดงรอ้ ยละรายจ่ายประจำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
แผนภมู ทิ ี่ 3 แสดงงบประมาณทไ่ี ด้รับจัดสรรคร้งั ที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 59
63
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาระนองได้จัดสรรงบประมาณ 65
ออกเปน็ 3 สว่ น
แผนภูมทิ ่ี 4 แสดงร้อยละการบรหิ ารงบประมาณ ในส่วนของงบบรหิ ารจดั การ
สำนกั งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง
แผนภูมิท่ี 5 แสดงรอ้ ยละการจัดสรรงบประมาณ ในส่วนของงบภารกจิ กลุ่มท่ีต้ัง
กรอบวงเงินไว้
แผนภูมิที่ 6 แดสงร้อยละการจัดสรรงบพัฒนาคุณภาพ (โครงการตามแผน) ทีต่ ง้ั
กรอบวงเงินไว้
แผนภมู ิที่ 7 แสดงรอ้ ยละการจัดสรรงบประมาณ (โครงการตามแผน) คร้งั ท่ี 1
จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | ฉ
สารบญั รปู ภาพ หนา้
7
เร่ือง 44
ภาพท่ี 1 แผนทีจ่ งั หวัดระนอง
ภาพที่ 2 รูปแบบการพฒั นาเขตพื้นที่การศึกษา SQ-POM : Model
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 1
ส่วนท่ี 1
ข้อมลู ทัว่ ไป
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแล
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร มีหนา้ ที่ดำเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตาม
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542 และมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2546 และตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา พ.ศ. 2560 ข้อ 5 ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตาม
อำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ และมีอำนาจหนา้ ท่ีดังตอ่ ไปนี้
(1) จัดทำนโยบายแผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ให้สอดคล้องกับ
นโยบายมาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของ
ทอ้ งถิน่ (2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นท่ี
การศึกษา และแจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับ ตรวจสอบ
ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว
(3) ประสาน สง่ เสรมิ สนับสนนุ และพฒั นาหลักสตู รร่วมกบั สถานศึกษาในเขตพนื้ ที่การศึกษา
(4) กำกบั ดูแล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน และในเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
(5) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุน
การจัดและพฒั นาการศึกษาในเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
(7) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพนื้ ที่การศึกษา
(8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
อน่ื ทีจ่ ัดการศกึ ษารูปแบบทหี่ ลากหลายในเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
(9) ดำเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นท่ี
การศึกษา
(10) ประสาน ส่งเสริม การดำเนนิ งานของคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานดา้ นการศกึ ษา
(11) ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน
และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
(12) ปฏิบตั งิ านรว่ มกนั กับหรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอื่นท่เี ก่ียวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 2
การบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง แบ่งส่วนราชการ
ตรากฎกระทรวงวา่ ดว้ ย การกำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งสว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
พุทธศักราช 2546 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงาน
เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา พ.ศ.2560 ข้อ 6 ดังน้ี
ขอ้ 6 ให้แบง่ ส่วนราชการภายในสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาไวด้ ังต่อไปนี้
(1) กลุ่มอำนวยการ
(2) กลมุ่ นโยบายและแผน
(3) กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
(4) กลมุ่ บรหิ ารงานการเงินและสินทรพั ย์
(5) กลุ่มบริหารงานบุคคล
(6) กลุ่มพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
(7) กลมุ่ นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
(8) กลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษา
(9) หน่วยตรวจสอบภายใน
ขอ้ 7 ส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามีอำนาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้
(1) กลุ่มอำนวยการ มอี ำนาจหนา้ ทด่ี ังต่อไปนี้
(ก) ปฏบิ ัติงานสารบรรณสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
(ข) ดำเนนิ การเกีย่ วกบั งานช่วยอำนวยการ
(ค) ดำเนินการเกย่ี วกับอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดลอ้ ม และยานพาหนะ
(ง) จดั ระบบบรหิ ารงาน การควบคุมภายใน และพัฒนาองค์กรสำนักงาน
(จ) ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่กิจการ ผลงานและบริการข้อมูลข่าวสาร
(ฉ) ประสานการดำเนินงานระหวา่ งหน่วยงานภายในและภายนอกเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
(ช) ดำเนนิ การเลือกตั้งและสรรหากรรมการและอนุกรรมการ
(ซ) ประสาน ส่งเสริมการจัดสวสั ดิการและสวัสดิภาพ
(ฌ) ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการภายในของสำนักงานเขตที่พื้นที่การศึกษาท่ี
มิใช่งานของสว่ นราชการใดโดยเฉพาะ
(ญ) ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั หรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอื่นทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
(2) กลุ่มนโยบายและแผน มอี ำนาจหน้าท่ีดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) จัดทำนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐาน
การศกึ ษา แผนการศึกษา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน และความตอ้ งการของท้องถิน่
(ข) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และแจ้งการ
จัดสรรงบประมาณ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 3
(ค) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ และผลการ
ปฏิบัตติ ามนโยบายและแผน
(ง) ดำเนินการวิเคราะห์ และจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิก และโอน
สถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
(จ) ปฏบิ ัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอนื่ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
(3) กลมุ่ สง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
(ก) ศกึ ษา วเิ คราะห์ ดำเนนิ การ และส่งเสริมการจดั การศึกษาทางไกล
(ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัด
การศึกษา
(ค) ดำเนินงานสารสนเทศเพ่อื การบริหารและการจัดการศึกษา
(ง) ดำเนินการวิเคราะห์ และปฏิบัติงานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่อื สาร
(จ) สง่ เสรมิ สนับสนนุ และดำเนินงานบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอื่นที่เกีย่ วข้อง หรือท่ี
ได้รบั มอบหมาย
(4) กล่มุ บรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์ มีอำนาจหน้าท่ีดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) ดำเนินงานเกย่ี วกบั งานบรหิ ารการเงิน
(ข) ดำเนินงานเก่ยี วกบั งานบรหิ ารงานบัญชี
(ค) ดำเนินงานเกี่ยวกับงานบรหิ ารงานพสั ดุ
(ง) ดำเนินงานเกย่ี วกบั งานบรหิ ารสนิ ทรัพย์
(จ) ใหค้ ำปรกึ ษาสถานศึกษาเก่ยี วกับการดำเนินงานบริหารการเงิน งานบญั ชี งานพัสดุ
และงานบริหารสินทรพั ย์
(ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอ่ืนทีเ่ กีย่ วข้อง หรือท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย
(5) กลุ่มบริหารงานบคุ คล มีอำนาจหนา้ ท่ีดังตอ่ ไปนี้
(ก) วางแผนอัตรากำลัง และกำหนดตำแหน่ง
(ข) สง่ เสริม สนบั สนุนการมหี รอื เล่อื นวทิ ยฐานะ
(ค) วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุและแต่งตัง้ ย้าย โอน และการ
ออกจากราชการของข้าราชกรครูและบุคลากรทางการศึกษา
(ง) ศึกษา วิเคราะห์ และดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเลื่อน
เงนิ เดอื น การมอบหมายหนา้ ทใ่ี หป้ ฏิบตั ิของขา้ ราชการครูและบุคลกรทางการศึกษา
(จ) จดั ทำข้อมูลเกีย่ วกบั บำเหนจ็ ความชอบและทะเบียนประวัติ
(ฉ) จดั ทำข้อมูลระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 4
(ช) ปฏิบัติการบริการและอำนวยความสะดวกในเรื่องการออกหนังสือรับรองต่าง ๆ
การออกบัตรประจำตัว และการขออนญุ าตต่างๆ
(ซ) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำข้อมูลเพื่อดำเนินงานวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการ
ดำเนนิ คดขี องรัฐ
(ฌ) ปฏิบตั ิงานร่วมกบั หรือสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอืน่ ท่ีเกี่ยวข้อง หรือท่ี
ได้รบั มอบหมาย
(6) กลุม่ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มอี ำนาจหนา้ ท่ีดงั ต่อไปน้ี
(ก) ดำเนินงานฝึกอบรมการพัฒนาก่อนแตง่ ตัง้
(ข) ดำเนนิ งานฝกึ อบรมพฒั นาเพื่อเพ่ิมศักยภาพการปฏิบัติงาน
(ค) ดำเนนิ งานพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ ไป ตามมาตรฐาน
วิชาชีพและจรรยาบรรณ
(ง) ปฏิบัติงานส่งเสริม สนับสนุน และยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
(จ) ดำเนินการเกี่ยวกับการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัยภายในประเทศ
หรือต่างประเทศ
(ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเสริมสร้างระบบเครือข่ายการพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา
(ช) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่
ได้รบั มอบหมาย
(7) กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา มีอำนาจหน้าทด่ี ังตอ่ ไปน้ี
(ก) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตร
การศกึ ษาระดบั ก่อนประถมศกึ ษา และหลักสูตรการศึกษาพเิ ศษ
(ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตรการสอนและกระบวนการเรียนรู้
ของผูเ้ รียน
(ค) วิจัยพัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบและประเมินเกี่ยวกับการวัดและการ
ประเมินผลการศกึ ษา
(ง) วิจัย พัฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษารวมท้งั
ประเมนิ ตดิ ตาม และตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา
(จ) นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
(ฉ) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย และพัฒนาสือ่ นวัตกรรมการนเิ ทศการศกึ ษา
(ช) ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศึกษาของเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 5
(ซ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
หรอื ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
(8) กลุ่มสง่ เสริมการจดั การศึกษา มอี ำนาจหน้าท่ดี งั ต่อไปน้ี
(ก) ศกึ ษา วิเคราะห์ สง่ เสรมิ สนบั สนุน และดำเนินงานเกย่ี วกับศาสตรพ์ ระราชา
(ข) ส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
(ค) ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเกี่ยวกับการจัดเตรียมข้อมูลการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน
สงั คมอื่น
(ง) ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินให้สามารถจดั การศึกษาสอดคล้อง
กบั นโยบายและมาตรฐานการศกึ ษา
(จ) ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาสำหรับผูพ้ ิการ ผูด้ ้อยโอกาส และผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ
(ฉ) สง่ เสริมงานการแนะแนว สขุ ภาพ อนามยั กีฬา และนันทนาการ ลูกเสือ ยุวกาชาด
เนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพิทักษ์สิทธิเด็ก
และเยาวชน และงานกิจการนักเรยี นอืน่
(ช) สง่ เสรมิ สนับสนนุ การระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา
(ซ) ประสานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติด และส่งเสริมป้องกัน แก้ไข
และคุ้มครองความประพฤตนิ กั เรียนและนกั ศกึ ษา รวมท้งั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
(ฌ) ดำเนินงานวเิ ทศสัมพันธ์
(ญ) ประสาน สง่ เสรมิ การศึกษากับการศาสนาและการวัฒนธรรม
(ฎ) ส่งเสริมแหลง่ การเรยี นรู้ สงิ่ แวดลอ้ มทางการศึกษาและภูมิปัญญาท้องถ่นิ
(ฏ) ประสานและส่งเสรมิ สถานศึกษาให้มบี ทบาทในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
(ฐ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรอื สนบั สนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง หรือท่ี
ได้รับมอบหมาย
(9) หน่วยตรวจสอบภายใน ให้ปฏิบัติงานขึ้นตรงกับหัวหน้าส่วนราชการ และมีอำนาจหน้าท่ี
ดังตอ่ ไปนี้
(ก) ดำเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการเงิน การบัญชี ตรวจสอบระบบการดูแล
ทรัพย์สิน
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 6
(ข) ดำเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการดำเนินงาน หรือกระบวนการปฏิบัติงาน
เปรยี บเทียบกับผลผลติ หรอื เปา้ หมายทก่ี ำหนด
(ค) ดำเนินงานเกี่ยวกบั การประเมินการบรหิ ารความเสี่ยง
(ง) ดำเนินการอ่ืนเกี่ยวกบั การตรวจสอบภายในตามท่กี ฎหมายกำหนด
(จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวขอ้ ง หรือท่ี
ได้รบั มอบหมาย
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (10) ของข้อ 7 แห่งประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง การแบ่งสว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา พ.ศ.2560
(10) กลุ่มกฎหมายและคดี ให้ปฏิบัติงานข้ึนตรงกับผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และมีอำนาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้
(ก) ส่งเสรมิ สนับสนนุ พฒั นาการมีวนิ ยั และรักษาวินัย
(ข) ดำเนินการสืบสวนเกยี่ วกับเร่ืองร้องเรียน
(ค) ดำเนินการสอบสวนเกย่ี วกับวนิ ัยและการตรวจพจิ ารณาวนิ ัย
(ง) ดำเนินการเกย่ี วการอทุ ธรณ์และการพิจารณาอทุ ธรณ์
(จ) ดำเนนิ การเก่ียวกบั การรอ้ งทุกข์และการพจิ ารณารอ้ งทุกข์
(ฉ) ดำเนนิ การเก่ยี วกบั ความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจ้าหน้าที่
(ช) ดำเนนิ การเก่ียวกบั งานคดปี กครอง คดแี พ่ง คดีอาญา และคดีอ่นื ๆ ของรฐั
(ซ) ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ
(ฌ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทำข้อมูลและติดตามประเมินผลเพื่อพัฒนางานกฎหมาย
และงานคดีของรฐั
(ญ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ได้รับมอบหมาย
ข้อมูลท่ีตั้ง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ตั้งอยู่เลขที่ 2/10 หมู่ที่ 3 ตำบลบางริ้น
อำเภอเมือง จังหวัดระนอง รหัสไปรษณีย์ 85000 โทรศัพท์ 0 7780 0028 โทรสาร 0 77 -
800027 Website : http://rnedu.go.th มีพื้นที่รับผิดชอบโรงเรียนประถมศึกษาในพื้นที่ 5 อำเภอ
ไดแ้ ก่ อำเภอเมืองระนอง อำเภอกระบรุ ี อำเภอกะเปอร์ อำเภอละอุ่น และอำเภอสุขสำราญ มีอาณาเขต
ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดตา่ ง ๆ ดังน้ี
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 7
ภาพที่ 1 : แผนทจ่ี งั หวดั ระนอง
ทีม่ า : สำนักงานจังหวดั ระนอง https://www.ranongcities.com/
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 8
วิสยั ทศั น์ (Vision)
“พฒั นาองค์กรคุณธรรม สง่ เสริมคุณภาพการศึกษา บนพ้ืนฐานความเป็นไทย ภายใต้การมสี ่วน
ร่วม สศู่ ตวรรษท่ี 21”
พนั ธกิจ (Mission)
1. สง่ เสริมและสนับสนนุ ใหป้ ระชากรวยั เรยี นทุกช่วงวัยไดร้ ับการศกึ ษาอยา่ งท่ัวถงึ
2. ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลกั สูตร และมที กั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21
3. พัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพอยา่ งต่อเนื่อง
4. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
เพอ่ื เสริมสร้างคุณภาพการจัดการศกึ ษา
เป้าประสงค์ (Goal)
1. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการ
ทเ่ี หมาะสมตามช่วงวยั มคี ณุ ธรรม คุณภาพสมู่ าตรฐานสากล
2. ประชากรวัยเรยี นทกุ คนได้รบั โอกาสในการศึกษาข้นั พ้ืนฐานอยา่ งทว่ั ถงึ และเปน็ ธรรม
3. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีทักษะและวัฒนธรรมการปฏิบัติงาน
ที่เหมาะสมและมงุ่ เม้นผลสมั ฤทธิ์
4. สถานศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพ ขบั เคลื่อนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ให้มีคุณภาพส่มู าตรฐานสากล
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ในการ
ขับเคลือ่ นการจดั การศึกษาโดยเน้นการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วน
กลยุทธ์เชิงนโยบาย
ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
ระนอง ได้กำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ 2565 โดยยดึ หลักของการพัฒนาท่ีย่ังยนื และการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในอนาคตเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 –
2580) แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –
2579 นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 และนโยบาย
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 เพอ่ื ม่งุ สู่ Thailand
4.0 โดยมกี ลยทุ ธ์เชงิ นโยบาย ดังน้ี
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 9
กลยุทธ์ที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพอื่ ความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
กลยทุ ธ์ที่ 2 การจัดการศกึ ษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
กลยทุ ธท์ ี่ 3 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
กลยทุ ธท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาทม่ี ีคุณภาพมีมาตรฐานและ
ลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศึกษา
กลยุทธ์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
กลยุทธท์ ่ี 6 การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่อื ความมน่ั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ
ประเด็นกลยทุ ธ์
1. พัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นพลเมืองดีของชาติและเปน็ พลโลกทด่ี ี
เป็นมาตรการในการพัฒนาผเู้ รียนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยดึ ม่ันในการ
ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิด
ที่ ถูกต้องเป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์
มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคมประเทศชาติ
ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม โดยมีแนวทางการดำเนินงาน
ดังนี้
1.1 ระดบั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาตามมาตรการ
ทีก่ ำหนด
1.2 ระดับสถานศึกษา
1.2.1 พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยการนำพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิรลงกรณฯ พระวชิรเกล้า
เจ้าอยู่หัวและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั ถึงประสงค์ตามท่ีกำหนด
1.2.2 จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ
และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีคำนิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ
มีจิตอาสา รับผิดชอบ ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม
โอบออ้ มอารี มวี ินัยและรกั ษาศลี ธรรม
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 10
2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อมในการรับมือภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกระดับความ
รนุ แรง ทม่ี ีผลตอ่ ความมน่ั คงของประเทศ
เปน็ มาตรการในการพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ ความสามารถในการรับมือภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เช่น ภัยจากยาเสพติด ภัยจากความรุนแรง การคุกคาม
ในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ โดยมีแนวทาง
การดำเนินการ ดังนี้
2.1 ระดบั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาตามมาตรการ
ทีก่ ำหนด
2.2 ระดบั สถานศึกษา
2.2.1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยคุกคาม ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง
การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน
และภยั คุกคามรปู แบบใหม่ทุกรปู แบบ ตลอดจนรูจ้ กั วธิ ีการป้องกันและแก้ไขปัญหา หากได้รับผลกระทบ
จากภัยดงั กลา่ ว
2.2.2 มีมาตรการและแนวทางการปอ้ งกันยาเสพติดในสถานศึกษาและชมุ ชน
2.2.3 จัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้มีความมน่ั คง ปลอดภัย
2.2.4 มีระบบการดูแล ติดตาม และช่วยเหลือผู้เรียน ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
ใหไ้ ด้รบั คำปรึกษา ชีแ้ นะและความช่วยเหลอื อยา่ งทนั การณ์ ทันเวลา รวมท้งั การอบรมบ่มนิสยั
เป้าหมายและตวั ชว้ี ัดเป้าหมาย
เป้าหมายที่ 1
สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของรัชกาลท่ี 10 เกี่ยวกับทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอ้ ง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ จิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัวผู้อื่น
และสังคม มีความซ่ือสตั ย์ สุจรติ มัธยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวินัยและรักษาศีลธรรม
ตวั ชี้วัด
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง
เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ จิตอาสา
รับผิดชอบต่อครอบครัวผู้อื่นและสังคม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย
และรักษาศลี ธรรม ตามคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางฯ
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามพระบรมรา
โชบายด้านการศึกษาของรัชกาลท่ี 10 เกยี่ วกับทศั นคติท่ีดีตอ่ บา้ นเมือง มีหลักคดิ ทีถ่ ูกต้อง เปน็ พลเมืองดี
ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ จิตอาสา รับผิดชอบ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 11
ต่อครอบครัวผู้อื่นและสังคม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัยและรักษา
ศลี ธรรมตามคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางฯ
เป้าหมายท่ี 2
ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น
การปกครองระบบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชวี้ ัด
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลัก
ของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อมและจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
เป้าหมายที่ 3
สถานศึกษานำความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีอีสานและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
ตวั ชว้ี ดั
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลั กปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปสกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี นให้มีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่กี ำหนด
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการนำหลักการของเกษตรอินทรีย์ วิถีไทย
บรูณาการการเรียนรู้ เพ่ือใหน้ ำไปใชช้ ีวติ ประจำวัน
เปา้ หมายที่ 4
ผ้เู รียนมคี วามสามารถรับมอื กบั ภยั คุกคามทกุ รูปแบบท่มี ผี ลกระทบต่อความม่ันคง
ตวั ช้ีวัด
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือ
กับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคาม
ในชวี ติ และทรัพย์สิน การคา้ มนษุ ย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัตติ ่าง ๆ อุบตั เิ หตุ โควดิ 19 ฝุ่น PM 2.5
และอน่ื ๆ
2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีความพร้อม สามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ
ทม่ี ีผลกระทบตอ่ ความม่ันคง
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 12
เป้าหมายที่ 5
ผู้เรียนได้รับการปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ทัศนคติที่ถูกต้อง ผ่านกระบวนการ
ลกู เสือ ยวุ กาชาดและจิตอาสา
ตวั ช้ีวดั
ร้อยละ 100 ของผู้เรียนได้รับการปลูกฝังความมีระเบียบวินัย จิตสาธารณะ
ผา่ นกระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด
เปา้ หมายท่ี 6
หน่วยงานผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ
(ITA online)
ตัวชี้วดั
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนินงานของภาครัฐ (ITA online) ระดับ A
2. ร้อยละ 60 ของสถานศึกษามีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนนิ งานของภาครัฐ (ITA online) ระดบั A
กลยทุ ธท์ ี่ 2 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
ประเด็นกลยทุ ธ์
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ นำไปสู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ
ตามความสามารถ ความสนใจ มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ โดยมแี นวทางดำเนินการ ดงั นี้
1. ระดับสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
1.1 ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเครอ่ื งมือวดั แวว และรวบรวมเคร่ืองมือวัดแวว
จากหน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งท้งั ภาครัฐและเอกชน
1.2 สง่ เสริม สนับสนนุ ใหส้ ำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ดำเนนิ การวดั แววความถนัด
ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา จัดกิจกรรมแนะ
แนวใหผ้ เู้ รียนค้นหาตนเอง นำไปสู่การพฒั นาผู้เรยี นให้มีความพรอ้ มที่จะพฒั นาต่อยอดไปสู่ความเป็นเลิศ
ดา้ นทักษะอาชีพ ท่ตี รงตามความตอ้ งการและความถนัดของผ้เู รยี น
1.3 ศึกษา วิเคราะห์ความเหมาะสมของวิธีและกระบวนการงบประมาณ ตั้งแต่
จำนวนงบประมาณในการสนับสนุนสถานศึกษาและผู้เรียนอย่างเพียงพอ และเหมาะสม วิธีการจัดสรร
วิธีการ ด้านระบบบัญชี การเบิกจ่าย และการติดตาม ตรวจสอบ เป็นต้น เพื่อกระจายอำนาจ
ให้สถานศกึ ษา มคี วามเปน็ อสิ ระในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรยี นอยา่ งเต็มศักยภาพ
1.4 ส่งเสริม สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาจัดทำ
แผนงาน โครงการ และกิจกรรม เพิ่มศักยภาพผู้เรียนตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 13
พัฒนา ทั้งด้านวิชาการ ด้านอาชีพ และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตั้งแต่ระดับสถานศึกษา เขตพื้นท่ี
การศึกษา จงั หวดั ภมู ิภาคระดับประเทศ และระดบั นานาชาติ
2. ระดับสถานศกึ ษา
2.1 ดำเนินการวดั แววผเู้ รยี น และพฒั นาขีดความสามารถของผเู้ รียนตามศักยภาพ
และความถนัด โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัตจิ ริง (Active Learning) เช่น การจัดการเรียนรู้
ตามกระบวนการ 5 ข้นั ตอนหรือบันได 5 ขั้น (Independent Study : IS) การเรียนรเู้ ชิงบูรณาการแบบ
สหวิทยาการ เชน่ สะเตม็ ศกึ ษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education
: STEM Education) เป็นต้น โดยส่งเสรมิ ให้ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้ผูเ้ รียนเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง ผา่ นระบบดิจทิ ลั (Digital Learning Platform)
2.2 ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน และจัดกิจกรรม
เพื่อพฒั นาสุขพลามัย ให้เปน็ คนที่สมบรู ณ์ แขง็ แรง ทงั้ ร่างกายและจติ ใจ
2.3 สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรและการจดั กิจกรรมกระบวนการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนา
ผ้เู รียนใหม้ ีความเป็นเลิศทางวชิ าการ ตามความสนใจและความถนดั เตม็ ตามศกั ยภาพ
2.4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนา
เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
เปน็ รายบคุ คล ตามความต้องการและความถนัดของผเู้ รยี น
2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศในทักษะสื่อสารภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ และภาษาที่ 3 เพม่ิ เตมิ อยา่ งน้อย 1 ภาษา
2.6 ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด ประเมินผลการเรียนของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นการวัด
ประเมินตามสมรรถนะรายบุคคล โดยการจัดให้มีการวัดประเมินจากส่วนกลางในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
2.7 สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง
เป้าหมายและตัวชีว้ ัดเป้าหมาย
เปา้ หมายท่ี 1
ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(3R8C)
ตัวชวี้ ดั
ร้อยละ 50 ของผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) ในระดับดีเยี่ยม โดยพิจารณาจากการประเมินความสามารถในการอ่าน
คิด วิเคราะห์และเขยี น
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 14
เปา้ หมายที่ 2
ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะความรู้ที่สอดคล้องกับทักษะ
ทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และมีทักษะด้านอาชพี
ตัวชีว้ ัด
1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนเป็นผู้มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีความสามารถ
พิเศษด้านผู้นำ ด้านนักคิด ด้านสร้างสรรค์ ด้านนักวิชาการ ด้านนักคณิตศาสตร์ ด้านนักวิทยาศาสตร์
ดา้ นนกั ภาษา ดา้ นนักกฬี า ด้านนกั ดนตรี ด้านศิลปิน และนักเรียนที่เขา้ แขง่ ขนั ระดบั นานาชาติ
2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับการเสริมทักษะ
การเรียนรู้ทีเ่ ช่อื มโยงสู่อาชีพและการมงี านทำ
3. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รับการเสริมทักษะ
การเรยี นรู้ทีเ่ ช่อื มโยงสู่อาชพี และการมงี านทำ
เป้าหมายที่ 3
ผู้เรียนมีความสามารถด้านการอ่าน (Reading Literacy) ด้านคณิตศาสตร์
(Mathematical Literacy) และดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA
ตัวชว้ี ัด
ร้อยละ 100 ของผู้เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามแนว
ทางการประเมิน PISA ด้วยชุดฝึกสมรรถนะและขอ้ สอบ PISA style
เปา้ หมายที่ 4
ผู้เรยี นมีทักษะและความสามารถทางวิชาการ
ตวั ชว้ี ัด
1. ร้อยละ 60 ของผู้เรียนแต่ละระดับชั้น (ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) ผ่านเกณฑ์
การทดสอบภาษาองั กฤษ เพื่อใชใ้ นการสอื่ สารในระดบั ทด่ี ขี น้ึ (เกรด 3 ข้ึนไป)
2. ร้อยละ 60 ของผู้เรียนกลุม่ เป้าหมาย ผ่านการทดสอบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
ตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR) ตามทก่ี ำหนด
3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีสถานศึกษาที่มีความพร้อมในการจัดห้องเรียน
พิเศษ (EP/MEP/IEP)
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 15
กลยุทธท์ ่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและสรา้ งเสรมิ ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์
ประเดน็ กลยุทธ์
1. พฒั นาหลกั สูตรทุกระดับการศกึ ษา
เป็นมาตรการสนับสนุนให้มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกล างให้เป็นหลักสูตรเชิง
สมรรถนะ สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็น
รายบุคคลอย่างเหมาะสมทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีทักษะสื่อสาร
ภาษาไทย โดยมีแนวทางดำเนินการ ดังน้ี
1.1 ระดับสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
1.1.1 พัฒนาหลักสูตรทุกระดับ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน
(ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสตปิ ัญญา สอดคล้องกับทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
1.1.2 ส่งเสรมิ ให้ครปู รบั เปล่ียนการจัดการเรยี นรู้ “ครูผูส้ อน” เป็น “Coach”
ผู้อำนวยการการเรียนรู้ ผู้ให้คำปรึกษา หรือให้ข้อเสนอแนะการเรียนรู้ และปรับระบบการวัดประเมิน
ผลสมั ฤทธิผ์ ้เู รยี นใหส้ อดคล้องกับหลักสูตร
1.2 ระดับสถานศกึ ษา
พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลาง เน้นการพัฒนา
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล (หลักสูตรเชิงสมรรถนะ) และปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้เรียนและบรบิ ทของพน้ื ท่ี
2. การพัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพของผเู้ รยี น
2.1 การพฒั นาศักยภาพและคณุ ภาพของผู้เรียนระดับปฐมวัย
เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาเหมาะสมกับวัยในทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะสื่อสารภาษาไทย และมีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ
(ฟัง พูด) และทักษะด้านดิจิทัล พร้อมที่จะได้รับการพัฒนาในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น โดยมีแนวทาง
ดำเนินการ ดังน้ี
2.1.1 ระดบั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
1) จัดทำเครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย และประเมิน
พัฒนาการเด็กปฐมวัยปีเว้นปี พร้อมสรุปและรายงานผลต่อกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
2) ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษา เพื่อประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย และดำเนินกาพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย
ทั้งผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและบุคลากรปฐมวัย รวมทั้งผู้ปกครอง ให้มีความรู้ ความเข้าใจการจัด
การศกึ ษาปฐมวยั
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 16
3) สนับสนุนให้สถานศึกษามีครูหรือครูผู้ช่วยด้านปฐมวัย
ตามมาตรฐานทีก่ ำหนด
4) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การจัดการศึกษาปฐมวัย แนวคิด ทฤษฎี
และองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ เกย่ี วกับการจดั การศกึ ษาปฐมวยั เพือ่ บริการแก่โรงเรยี นและผ้สู นใจ
5) กำกับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือสถานศึกษา รวมทั้งสรุป
และรายงานผลการดำเนนิ งานต่อกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง
2.1.2 ระดับสถานศึกษา
1) จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบที่หลากหลาย โดนการ
จัดสภาพแวดล้อม ทั้งในและนอกหอ้ งเรยี นใหเ้ อ้อื ตอ่ การพฒั นาการเรยี นรู้
2) จัดการเรียนรู้ สร้างประสบการณ์ เน้นการเรียนเป็นเล่น เรียนรู้
อย่างมีความสขุ
3) ปรับปรุงอาคารสถานท่ี สิ่งอำนวยความสะดวก สนามเด็กเลน่ ให้ได้
มาตรฐาน มคี วามปลอดภยั สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
4) จัดหาสื่อ อุปกรณ์ ที่มีคุณภาพเหมาะสม มีมาตรฐาน และความ
ปลอดภยั
5) อภิบาลเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาวะที่ดี ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็
6) สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัย
เพื่อการมสี ่วนรว่ มและการสนบั สนุนการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
7) สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง
2.2 การพัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา
ผู้เรียนระดับประถมศึกษาได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคมและสตปิ ญั ญา มีวินัย มีทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 โดยมแี นวทางดำเนนิ การ ดังน้ี
2.2.1 ระดบั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
1) ส่งเสริม สนับสนุนใหส้ ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาและสถานศึกษา
จัดการศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสตปิ ญั ญา ให้มคี ุณลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้
- เปน็ ไปตามหลักสูตร
- มีทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21
- มีทักษะการเรยี นรู้ทีเ่ ช่อื มโยงสูอ่ าชีพและการมีงานทำ
- มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์นำไปสู่การพัฒนา
นวตั กรรม
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 17
- มีความรู้ความสามารถด้านดิจิทัล (Digital และใช้ดิจิทัล
เปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
มนี สิ ัยรกั การอ่าน มที กั ษะสือ่ สารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3
2) จัดทำเครื่องมือประเมินความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และดำเนินการประเมิน รวมทั้งประสานการดำเนินงานเพื่อทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ผลการประเมิน
เพอ่ื เป็นฐานการพัฒนานกั เรยี นทกุ ระดับชน้ั
3) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ
รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้เพื่อการวางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนำไป
ปฏิบตั ไิ ด้
4) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษา เพื่อส่งเสริม
กระบวนการเรยี นรู้ ตามสมรรถนะรายบุคคลและเตรยี มความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชพี
5) ดำเนินการติดตาม และตรวจสอบให้ผู้เรียนได้รับประทานอาหาร
อยา่ งครบถ้วนถูกตอ้ งตามหลกั โภชนาการ
6) กำกับ ติดตามและให้ความช่วยเหลือสถานศึกษาในการจัด
การศึกษาภาพรวม รวมทั้งสรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงาน
ทเ่ี กี่ยวข้อง
2.2.2 ระดบั สถานศึกษา
1) จัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง
(Active Learning)
2) จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้ และระบบ
ความคดิ ในลักษณะสหวิทยาการ (STEAM Education) เช่น
- ความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละการตั้งคำถาม
- ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ความร้ทู างวศิ วกรรม และการคิดเพื่อหาทางแกป้ ัญหา
- ความรู้และทักษะในดา้ นศิลปะ
- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผลและการหา
ความสัมพนั ธ์
3) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ สอดคล้อง
กับความสามารถความถนัดและความสนใจ รวมถงึ กจิ กรรมการแนะแนวทั้งด้านศกึ ษาต่อ และด้านอาชีพ
เป็นการวางพื้นฐานการเรยี นรู้ การวางแผนชวี ิต และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนำไปปฏิบตั ิได้
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 18
4) จดั กิจกรรมการเรยี นเพ่อื ส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ เู้ รียนมีทักษะพื้นฐาน
ในการดำรงชวี ิต มีสุขภาวะทด่ี ี สามารถดำรงชวี ิตอยา่ งมีความสุข
5) จัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social
and Emotional Learning : SEL)
6) จัดการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มทักษะการคิดแบบมีเหตุผล
และเป็นขัน้ ตอน (Coding)
7) ดำเนินการให้ผู้เรียนได้รับประทานอาหารอย่างครบถ้วน ถูกต้อง
ตามหลักโภชนาการ เปน็ ไปดว้ ยความถกู ตอ้ งตามระเบยี บและวนิ ยั การคลงั
8) สรุปและรายงานผลการดำเนนิ งานต่อสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
และหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
2.3 การพฒั นาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรยี นระดับมธั ยมศึกษา
ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสตปิ ญั ญา มีวนิ ัย มที กั ษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ มีทักษะ
ดา้ นภาษาไทย เพื่อใชใ้ นการเรยี นรู้ มีทักษะสอื่ สารภาษาองั กฤษ และภาษาที่ 3 มคี วามสามารถในการใช้
เทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ นำไปสู่การมีทักษะ
อาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ มีความยืดหย่นุ ทางด้านความคิด สามารถทำงานร่วมกับ
ผู้อื่นได้ภายใต้สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม มีทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต มีสุขภาวะที่ดี สามารถ
ดำรงชวี ติ อย่างมีความสขุ โดยมแี นวทางดำเนนิ การ ดังนี้
2.3.1 ระดับสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
1) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา และสถานศึกษา
จดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนให้มีพัฒนาการที่สมวยั ในทกุ ดา้ น ทงั้ ทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา มีความยืดหยุ่นทางต้นความคิด สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ภายใต้สังคมที่เป็นพหุ
วฒั นธรรม ให้มคี ณุ ลกั ษณะ ดังตอ่ ไปน้ี
- เปน็ ไปตามหลักสูตร
- มที กั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ
และภาษา ที่ 3 เพอ่ื ใช้เปน็ เครอื่ งมือในการประกอบอาชพี
- มีความรแู้ ละทักษะดา้ นวิทยาศาสตร์นำไปสกู่ ารพัฒนานวตั กรรม
- มีความสามารถด้านดิจิทัล (Digital) และใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือ
ในการเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
มีนิสัยรกั การอ่าน มีทักษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 19
2) ประสานการดำเนินงานเพื่อทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อเป็น
ฐานการพัฒนานกั เรียนทกุ ระดับชน้ั
3) ส่งเสริม สนับสนุน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ
รวมถึงการวางรากฐานการเรียนรู้เพื่อการวางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนำไป
ปฏิบตั ไิ ด้
4) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพื่อส่งเสริม
กระบวนการเรยี นร้ตู ามสมรรถนะรายบุคคลและเตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารประกอบสัมมาอาชพี
5) จัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพิ่มศักยภาพผู้เรียนที่มี
ความรู้และทักษะด้านวทิ ยาศาสตร์ เป็นนักคิด นักปฏิบัติ นักประดิษฐ์ เป็นนวัตกรรม นำไปสู่การพัฒนา
นวัตกรรมในอนาคต รวมท้ังจดั กิจกรรมกีฬา การออกกำลังกาย และสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รียนมีศักยภาพในการ
จัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขทั้งด้านร่างก าย
และจิตใจ
6) กำกบั ติดตามและให้ความชว่ ยเหลือสถานศกึ ษา
2.3.2 ระดบั สถานศกึ ษา
1) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการ
ปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning)
2) ส่งเสริมครูใหจ้ ดั การเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได
5 ข้ัน (Independent Study : IS)
3) ส่งเสริม สนบั สนุนครใู หจ้ ดั การเรียนรอู้ ยา่ งเป็นระบบ ม่งุ เนน้ การใช้
ฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education) เชน่
- ความรทู้ างวิทยาศาสตร์และการตงั้ คำถาม
- ความเข้าใจและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ความรูท้ างวิศวกรรม และการคดิ เพอ่ื หาทางแก้ปญั หา
- ความรู้และทกั ษะในดา้ นศิลปะ
- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผลและการหา
ความสัมพันธ์
4) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์
เป็นนักคิด นักปฏิบัติ นักประดิษฐ์ เป็นนวัตกรรม นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมในอนาคต รวมทั้งจัด
กิจกรรมกีฬา การออกกำลังกาย และสนบั สนุนให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มี
สขุ ภาวะทดี่ ี สามารถดำรงชวี ิตอย่างมคี วามสุขทัง้ ด้านร่างกายและจติ ใจ เมอ่ื ถึงชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 20
สามารถวางแผนการศึกษาต่อหรือการประกอบอาชีพได้ตามความถนัด ความต้องการและความสนใจ
ของตนเอง
5) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social and
Emotional Learning : SEL)
6) สรุปและรายงานผลการดำเนนิ งานต่อสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
และหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง
2.4 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนท่ีมคี วามตอ้ งการดแู ลเป็นพิเศษ
เป็นการจัดการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อย
โอกาส ในรูปแบบที่หลากหลาย เหมาะสมกับบริบทและความต้องการจำเป็นพิเศษเฉพาะบุคคล
โดยแนวทางดำเนินการ ดงั นี้
2.4.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาระบบการวัด
และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ สำหรบั เดก็ พกิ ารและเด็กด้อยโอกาส
2.4.2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัด
การศกึ ษา รวมท้งั การพฒั นาหลักสูตรและส่ือการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อย
โอกาสในรูปแบบท่ีหลากหลายเหมาะสมกบั บริบทและความต้องการจำเปน็ พิเศษเฉพาะบคุ คล
2.4.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริม สนับสนุน
การให้บริการช่วยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ (Early Intervention : El)
2.4.4 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนทรัพยากร
และจัดสรรงบประมาณด้านการศกึ ษาท่ีเหมาะสมกับบริบทและความต้องการเป็นพเิ ศษ
2.4.5 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมให้สถานศึกษา
นำระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจัดการ การให้บริการและการ
เรียนรู้
2.4.6 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปรับปรุงเกณฑ์อัตรากำลัง
ครูและบคุ ลากรให้มคี วามเหมาะสมกบั ภาระงานในการจัดการศกึ ษาพิเศษและเด็กด้อยโอกาส
2.4.7 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานส่งเสริม สนับสนนุ ให้มีการ
พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ มีเจตคติที่ดีต่อการจัด
การศกึ ษาสำหรับเด็กพิการและเดก็ ด้อยโอกาส
2.4.8 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาระบบการ
ให้บริการเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการจำเป็นพเิ ศษ
2.4.9 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนการพัฒนาภาคี
เครือข่าย (Education Partnership) ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการ
และเด็กด้อยโอกาส
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 21
3. นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่
ผู้เรียนทกุ ระดับการจดั การศึกษา
เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน
พัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเอง ตามความต้องการและความถนัดของผู้เรียนสามารถสร้างสังคม
ฐานความรู้ (Knowledge-Based) ของตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
โดยแนวทางการดำเนินการ ดงั น้ี
3.1 ระดับสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
3.1.1 จดั หา พฒั นาข้อมูลองค์ความรู้ สื่อ วดิ ีโอ และองคค์ วามรู้ประเภทต่าง ๆ
หนงั สือ แบบเรียนในรปู แบบของดจิ ทิ ัลเทคบุ๊ค (Digital Textbook) ตามเน้ือหาหลักสตู รทก่ี ำหนด
3.1.2 พฒั นารูปแบบการเรียนรูผ้ า่ นระบบดจิ ิทัล (Digital Learning Platform)
เพ่อื ตอบสนองตอ่ การพัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล
3.1.3 ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital device) เพื่อเป็น
เครือ่ งมอื ในการเขา้ ถงึ องค์ความรู้ และการเรยี นรผู้ า่ นระบบดจิ ิทลั อยา่ งเหมาะสมตามวยั
3.1.4 สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพื่อพฒั นาผู้เรียน
ใหผ้ เู้ รยี นเรียนร้ดู ้วยตนเองผ่านระบบดจิ ิทัล
3.2 ระดับสถานศกึ ษา
3.2.1 ประยุกต์ใช้ข้อมูลองค์ความรู้ สื่อ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ
หนงั สือ แบบเรยี นในรูปแบบของดจิ ทิ ัลเทคบุ๊ค (Digital Textbook) ตามเนอ้ื หาหลักสูตรทก่ี ำหนด
3.2.2 จัดการเรยี นรูผ้ า่ นระบบดจิ ทิ ลั (Digital Learning Platform)
เพอ่ื ตอบสนองตอ่ การพัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นเป็นรายบุคคล
3.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผา่ นระบบดจิ ทิ ัล
4. การพฒั นาคณุ ภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
การพัฒนาคุณภาพครู ต้องดำเนินการตั้งแต่การผลิต และการพัฒนาครูอย่าง
ตอ่ เนือ่ งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องรว่ มมือกับสถาบันการผลติ ครู ในการผลิต
และพัฒนา ให้ครูเป็นไปตามเป้าประสงค์ มีการดึงดูด คัดสรรผู้ที่มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครู
คุณภาพ มีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่องครอบคลุมท้ังเงินเดือน เส้นทางสาย
อาชีพ การสนับสนุนสื่อการสอนและสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน
รวมถึงการพฒั นาครทู มี่ คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการสอนมาเปน็ ผู้สร้างครรู ุ่นใหม่อย่างเปน็ ระบบ และประเมิน
ครจู ากการวัดผลงานการพฒั นาผู้เรียนโดยตรง
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 22
4.1 การผลติ ครูท่ีมีคุณภาพ
การผลิตครูที่มีคุณภาพ เป็นมาตรการการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการ
ผลิตครูให้ผลิตครูที่มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงและเป็นต้นแบบ
ดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม
4.1.2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สร้างความร่วมมือ
กับสถาบันการผลิตครู วเิ คราะห์ความขาดแคลนความต้องการครขู องสถานศึกษา
4.1.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมมือกับสถาบันการ
ผลิตครู วางแผนวเิ คราะห์หลักสตู รให้สอดคลอ้ งกบั แผนความตอ้ งการ
4.1.4 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนทุนการศึกษา
ใหน้ กั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาทีม่ ที ศั นคติท่ีดีตอ่ อาชพี ครูเขา้ รับการศึกษากบั สถาบันการผลิตครู
4.1.5 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ติดตามและประเมินผล
การผลติ ครูอยา่ งเปน็ ระบบ
4.2 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นมาตรการที่สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะต้องดำเนินการเพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถงึ
ความสำคัญในอาชพี และหนา้ ที่ของตน โดยพัฒนาใหเ้ ปน็ ครู เป็นครยู คุ ใหม่ ปรับบทบาทจาก “ครผู ู้สอน”
เป็น “Coach” หรือ “ผู้อำนวยการการเรียนรู้” ปรับวิธีสอนให้เด็กสามารถแสดงความคิดเห็น
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมในชั้นเรียน ทำหน้าที่กระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ แนะนำวิธีเรียนรู้
และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีบทบาท
เป็นนกั วิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพ่อื ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรียน โดยมแี นวทางการดำเนนิ การ ดังนี้
4.2.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูศึกษา วิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเอง (Need
Assessment) เพอื่ วางแผนการพฒั นาอย่างเปน็ ระบบและครบวงจร
4.2.2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา จัดให้มีหลักสูตรและกรอบแนวทางในการพัฒนาครู ที่เชื่อมโยงกับความก้าวหน้าในวิชาชีพ
(Career Path)
4.2.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหน่วยงานอื่น ๆ จัดทำ
หลักสตู รการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้ตรงตามความต้องการและความขาดแคลน
4.2.4 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาสนบั สนนุ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาวางแผนและเข้ารบั การพฒั นาตามหลักสตู รที่กำหนด
ท่ีเชือ่ มโยงความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพ (Career Path)
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 23
4.2.5 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC)
4.2.6 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทักษะด้านดิจิทัล (Digital
Literacy) การสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ ทักษะสื่อสารภาษาที่ 3
สอดคล้องกบั ภารกิจและหน้าทข่ี องตน
4.2.7 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ส่งเสริม พัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดบั การ
พัฒนาทางด้านภาษา (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR)
ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด
4.2.8 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครูใหส้ ามารถออกแบบการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการวัด
ประเมินผลที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active
Learning)
4.2.9 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่มีความ
แตกตา่ ง (Differentiated Instruction)
4.2.10 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการสร้างเครื่องมือการวัดผลและประเมินผล
การเรียนรู้ดา้ นทักษะการคดิ ขัน้ สูง (Higher Order Thinking)
4.2.11 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้มีความรู้ ความสามารถจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็กอย่างมี
ประสิทธิภาพ
4.2.12 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ตามศกั ยภาพของผู้เรยี นแตล่ ะบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพิการ
4.1.13 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรพัฒนาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face – to – Face
Training
4.1.14 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ปรับปรุงระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลประสิทธิภาพและประเมินประสิทธิผล
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 24
ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาข้อกำหนด
ดา้ นคณุ ภาพและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
4.1.15 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการครู
และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ตั้งแต่การทำฐานข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาจนถึงพัฒนา
ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยมแี นวทางการดำเนนิ การ ดังนี้
1) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผ่านระบบดิจิทัล เพื่อใช้ในการพัฒนา
ผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภททงั้ ระบบ
2) พัฒนาหลักสูตร เนื้อหาดิจิทัล (Digital Content) ในสาขา
ทขี่ าดแคลน เช่น การพฒั นาทักษะการคดิ ขั้นสูง การจดั การศึกษาสำหรับผู้เรยี นที่มีความต้องการจำเป็น
พิเศษ และผู้เรียนทม่ี ีความแตกตา่ ง เป็นตน้
3) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ทุกประเภท พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ืองผ่านระบบดจิ ทิ ัล
4) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล ระบบบริหารจัดการผู้บริหาร ครู
และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทท้ังระบบ
5) พัฒนาครูให้มีความชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษา
คอมพวิ เตอร์
เป้าหมายและตวั ชว้ี ัดตามเป้าหมาย
เป้าหมายท่ี 1
หน่วยงานมีและจัดทำกรอบหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร กรอบหลักสูตรท้องถิ่น
ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –
2579
ตวั ช้ีวัด
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีกรอบหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับเป้าหมาย
จุดเนน้ สาระทอ้ งถ่ินและสอดคล้องกบั แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาทมี่ ีการพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถ่นิ ท่สี อดคล้องกับ
เป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และกรอบ
หลักสูตรระดบั ทอ้ งถนิ่ ตามความต้องการของสถานศกึ ษา
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการนำหลักสูตรระดับท้องถิ่นไปใช้ในการพัฒนา
การศึกษา
4. ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจในการ
จัดทำและใชห้ ลกั สตู ร
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 25
เป้าหมายที่ 2
ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักรู้ในการจัดทำ
และใชห้ ลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
ตัวชว้ี ัด
รอ้ ยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มคี วามรู้ ความเข้าใจและตระหนัก
รู้ในการจัดทำและใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
เปา้ หมายที่ 3
สถานศึกษามีการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแล และติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา และมีผลการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เป็นไปตามเกณฑท์ ่กี ำหนด
ตัวชี้วดั
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอก ตามเกณฑ์
ทก่ี ำหนด
เป้าหมายที่ 4
สถานศึกษาได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา
ตามภารกจิ และการนำนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ
ตวั ช้วี ัด
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่ได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การจดั การศกึ ษาตามภารกิจ และการนำนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ
เป้าหมายที่ 5
สถานศึกษาได้รับการกำกับ ดูแล ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ตามระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ตวั ชวี้ ัด
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่ได้รับการกำกับ ดูแล ติดตามและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา ตามระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
เปา้ หมายท่ี 6
สถานศกึ ษามีการวจิ ัย และนำผลการวจิ ัยไปใชใ้ นการพัฒนางาน
ตัวชี้วดั
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาและส่งเสริม
ใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาวจิ ยั และนำผลการวจิ ัยไปพฒั นางานในหนา้ ที่
2. ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาด้าน
การสง่ เสริมการวิจัย และนำผลการวจิ ัยไปพฒั นางานในหนา้ ท่ี
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 26
เป้าหมายท่ี 7
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริมให้การวัดและประเมินผลการบริหารจัดการ
และนำผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
ตัวชว้ี ัด
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่ได้รับการวัดและประเมินผลการบริหารจัดการ
และนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
เปา้ หมายที่ 8
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา ไดร้ ับการพฒั นาให้เปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้
ตัวช้วี ดั
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการดำเนินการพัฒนา การจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM) ของบคุ ลากรในสำนักงาน
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการดำเนินการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการสรุปองค์ความรู้จากการทำ KM / PLC
และนำไปใช้ในการพฒั นาและนำกระบวนการวจิ ัยหรอื เทคนคิ การวิจยั มาประยุกต์ใชเ้ พ่ือการพัฒนา
4. ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ
และสามารถพฒั นาตนเองผ่านกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
5. ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
เป้าหมายท่ี 9
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดร้ ับการพัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารงานด้านการ
บรหิ ารงานบุคคล
ตวั ชว้ี ัด
1. สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามแี ผนบรหิ ารอตั รากำลัง
2. สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาสรรหาและการบรรจแุ ต่งต้ังด้วยระบบคุณธรรม
3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา
4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการเสริมสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
5. สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามีการยกย่องเชิดชูเกียรติ และส่งเสริมความก้าวหน้า
ในวชิ ชี ีพแกข่ ้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 27
เป้าหมายที่ 10
ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
เพิ่มข้นึ
ตัวชี้วัด
1. ร้อยละของสถานศึกษามีจำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีคะแนนการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) รอ้ ยละ 40 ขน้ึ ไป เพิ่มข้ึนจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ีไ่ ด้รับการประเมนิ
2. ร้อยละของสถานศึกษามีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ร้อยละ 50 ข้ึนไป เพ่มิ ขน้ึ จากปีการศึกษาท่ีผ่านมา
ทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ที่ได้รับการประเมิน
เปา้ หมายที่ 11
ผเู้ รยี นมีผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานระดบั ชาติ (NT) สูงขึ้น
ตวั ชี้วัด
ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ความสามารถพนื้ ฐานระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑท์ ี่กำหนด
เป้าหมายท่ี 12
เด็กระดับปฐมวัย มีผลการประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน (ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม สติปญั ญา) ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์
ตวั ช้วี ดั
1. ร้อยละ 100 ของเด็กกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
(ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม สตปิ ญั ญา)
2. ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัย มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐาน
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560
เปา้ หมายท่ี 13
สถานศกึ ษาใชร้ ะบบการประกนั คุณภาพภายในเพื่อสง่ เสริมคณุ ภาพการศึกษา
ตัวชีว้ ดั
1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในทม่ี ีประสิทธิภาพ
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ในภาพรวมระดับดีขน้ึ
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการติดตามและพัฒนาส่งเสริม สนับสนุน กำกับ
ดแู ลตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้รับการเตรียมความพร้อมสำหรับการประเมิน
คุณภาพภายนอกจากสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 28
เป้าหมายท่ี 14
สถานศึกษาจัดกระบวนการเรยี นการสนทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั
ตวั ชว้ี ัด
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคญั
เป้าหมายที่ 15
สถานศกึ ษามีการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เพือ่ เสริมสรา้ งทักษะพ้ืนฐานท่ีเชื่อมโยง
สู่การสรา้ งอาชพี และการมีงานทำ
ตัวชว้ี ดั
ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษาที่มกี ารจัดการเรียนรู้ให้กับผูเ้ รียน เพือ่ เสรมิ สรา้ งทักษะ
พ้นื ฐานที่เชอ่ื มโยงสู่การสรา้ งอาชีพและการมีงานทำ
เปา้ หมายท่ี 16
สถานศึกษาจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์
และลงมอื ปฏบิ ัติ (Active learning)
ตวั ช้ีวัด
ร้อยละ 100 สถานศึกษาที่จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด
วิเคราะห์และลงมือปฏบิ ตั ิ (Active learning)
เปา้ หมายท่ี 17
สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอน เพ่อื ฝึกทกั ษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเป็นข้ันตอน
(Coding)
ตวั ชี้วัด
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมี
เหตุผลและเป็นขน้ั ตอน (Coding)
เป้าหมายที่ 18
สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา (STEM Education) นวัตกรรมการ
เรยี นรู้
ตวั ชว้ี ดั
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา ( STEM
Education)และสรา้ งนวตั กรรมเก่ยี วกับการเรียนรูท้ ่เี ก่ียวขอ้ งกับสะเตม็ ศึกษา
เป้าหมายท่ี 19
สถานศึกษาใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อการเรียนรู้และเป็นเครื่องมือการเรียนรู้
ของผ้เู รยี น
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 29
ตัวช้ีวดั
ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่ใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อการเรียนรู้และเป็น
เครอ่ื งมือการเรียนรู้ของผเู้ รียน เช่น DEEP, DLIT, DLTV และแพลตฟอร์มโซเชยี ลมีเดยี เป็นต้น
กลยุทธ์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน
และการลดความเหลื่อมล้ำทางการศกึ ษา
ประเดน็ กลยุทธ์
1. สร้างความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงาน
ทเ่ี ก่ียวข้องในการจดั การศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับบริบทของพื้นที่ โดยมแี นวทางการดำเนินการ ดงั น้ี
1.1 ระดับสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
1.1.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้มีความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถิ่น
ภาคเอกชน หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้องในการจัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั บริบทของพืน้ ท่ี ตลอดจนการกำกับ
ติดตาม และประเมินผล
1.1.2 จัดทำฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน เพื่อเก็บรวบรวม เชื่อมโยงข้อมูล
ศกึ ษาวิเคราะห์ เพ่ือวางแผนการจดั เขตพน้ื ทบ่ี ริการการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รยี น
1.2 ระดบั สถานศึกษา
1.2.1 ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และหน่วยงาน
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง วางแผนการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้อง เหมาะสมกบั บริบทของพ้ืนท่รี บั ผดิ ชอบ
1.2.2 ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน เอกชน และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องระดับพื้นที่ จัดทำแผนการรับนักเรียนทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา
1.2.3 ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ จัดทำสำมะโนประชากรวัยเรียน
(อายุ 0 – 6 ป)ี เพือ่ ไปใชใ้ นการวางแผนการจัดการศกึ ษา
1.2.4 ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ ติดตาม ตรวจสอบ เด็กวัยเรียน
ได้เขา้ ถงึ บรกิ ารการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งทั่วถึง ครบถ้วน
1.2.5 ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคส่วน
บริหารจัดการทรพั ยากรในชมุ ชน ใหส้ ามารถใชร้ ว่ มกันไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
1.2.6 ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ จัดอาหาร อาหารเสริม (นม)
ใหผ้ เู้ รียนอยา่ งเพียงพอ มคี ุณภาพ
1.2.7 ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ สนับสนุนให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล
ได้เดนิ ทางไปเรยี นอย่างปลอดภัยทงั้ ไปและกลับ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 30
2. การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภท ให้มีคุณภาพ
และมาตรฐานตามบรบิ ทของพ้นื ที่ โดยมแี นวทางการดำเนินการ ดังนี้
2.1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน และสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
จัดทำมาตรฐานสถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพในด้านต่าง ๆ ไดแ้ ก่
2.1.1 มาตรฐานด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก
2.1.2 มาตรฐานด้านครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
2.1.3 มาตรฐานด้านระบบความปลอดภัยของสถานศึกษา
2.1.4 มาตรฐานด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Technology) เป็นต้น
การกำหนดมาตรฐานสถานศึกษาด้านต่าง ๆ ดังกล่าว ให้พิจารณาตามบริบท
ของสภาพภูมศิ าสตร์ ประเภท และขนาดของสถานศึกษา เป็นสำคัญ
2.2 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาสถานศึกษาระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด โรงเรียนขนาดเล็ก
และสถานศึกษาประเภทอื่น ให้มีคุณภาพ และตามมาตรฐานที่กำหนด โดยเน้นสถานศึกษาระดับตำบล
โรงเรยี นขนาดเลก็ ในพ้ืนท่ีห่างไกล และโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามโครงการพิเศษ
2.3 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
สง่ เสริม สนับสนุน สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินสถานศกึ ษาในทกุ มิติ
3. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรียนทุกกลุ่ม และสถานศึกษาทุกประเภท
อยา่ งเหมาะสมและเพียงพอ
เปน็ มาตรการเพ่ือการลดความเหลื่อมลำ้ และสร้างโอกาสให้ผเู้ รยี นเข้าถึงการบริการ
การศึกษาที่มีคุณภาพ โดยการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน เพื่อให้เด็กวัยเรียนทุกคน ตั้งแต่ระดับปฐมวยั
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาอย่างเพียงพอและเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง โดยคำนึงถึง
ความจำเป็นตามสภาพพื้นที่ ภมู ศิ าสตร์ สภาพหาเศรษฐกิจ และทตี่ ั้งของสถานศึกษา จัดหาทุนการศึกษา
เพิ่มเติม เพื่อช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอ่ืน
เป็นพิเศษให้เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความ
ตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ และจัดสรรงบประมาณเป็นค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนินการ และงบลงทุนใหส้ ถานศึกษา
อย่างเหมาะสมและเพียงพอ จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ และงบลงทุน
ให้สถานศึกษาอย่างเหมาะสมและเพยี งพอ โดยมแี นวทางการดำเนนิ การ ดงั นี้
3.1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน และสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา
วิเคราะห์ ความเหมาะสมของงบประมาณในการสนับสนุนให้กับผู้เรียน และสถานศึกษาอย่างเหมาะสม
และเพียงพอ สอดคล้องกับสถานภาพและพื้นที่ ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำแผนงบประมาณ
การศึกษาอย่างอิสระ
3.2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา
ของผ้เู กย่ี วขอ้ งในพ้ืนที่ประกอบการจัดทำแผนงบประมาณก่อนเสนอหนว่ ยงานต้นสงั กดั
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 31
3.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน และสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประสานความร่วมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อจัดสรรงบประมาณให้เด็กวัยเรียน
กลุม่ ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ เพอ่ื ลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศึกษา
3.4 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานและสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนกระบวนการจัดทำแผนงบประมาณ และติดตามกำกับการใช้จ่ายงบประมาณ
ของสถานศึกษาให้มีประสิทธภิ าพและมีความโปรง่ ใส
4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เป็นเครื่องมือในการ
พัฒนาคุณภาพของผู้เรยี น โดยมแี นวทางการดำเนินการ ดงั น้ี
4.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษามโี ครงขา่ ยสอื่ สารโทรคมนาคมที่มปี ระสิทธภิ าพและมีความปลอดภยั สงู
4.2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ทีใ่ ช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะ
ด้านการเรียนรูด้ จิ ิทัล (Digital Literacy) แกผ่ ูเ้ รียน
4.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน และสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาปรับปรงุ พัฒนาห้องเรียนให้เป็นห้องเรยี นท่ีประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) ในการจัดการเรยี นรแู้ กผ่ ู้เรยี น
4.4 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) สำหรับผู้เรียนทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
นำไปสกู่ ารสร้างการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต
4.5 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาใช้เทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
(Distance Learning Technology : DLT)
เปา้ หมายและตวั ชี้วัดตามเป้าหมาย
เป้าหมายท่ี 1
จำนวนประชากรวัยเรียนที่มีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้เข้าเรียน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 สัดส่วนนกั เรียนระดบั ปฐมวัยและอตั ราการออกกลางคันลดลง
ตัวชวี้ ัด
1. ร้อยละ 100 ของประชากรวัยเรียนที่อายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้เข้า
เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1
2. สัดสว่ นของนกั เรียนปฐมวัย 1:3 ต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 – 6 ปี เป็น 90:100 คน
3. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาไมม่ นี ักเรียนออกกลางคนั
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 32
เปา้ หมายที่ 2
อัตราการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นของผู้เรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 และมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ตัวชว้ี ดั
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ศึกษาต่อในระดับ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
2. ร้อยละ 50 ของผู้เรยี นกลมุ่ เป้าหมายได้ศกึ ษาต่อสายอาชีพ
เป้าหมายท่ี 3
ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความต้องการพิเศษได้รับการดูแลช่วยเหลือ
และสง่ เสรมิ ให้ได้รับการศึกษาเตม็ ตามศักยภาพ
ตัวชี้วัด
1. ร้อยละ 100 ของเด็กพิการเรียนรวมได้รับการช่วยเหลือและส่งเสริมให้ได้รับ
การศกึ ษาเต็มตามศกั ยภาพ
2. ร้อยละ 100 ของเด็กด้อยโอกาสได้รับการช่วยเหลือและส่งเสริมให้ได้รับ
การศกึ ษาเตม็ ตามศักยภาพ
เป้าหมายที่ 4
ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถ
ดำรงชีวิตอยา่ งมีความสขุ ทัง้ ดา้ นรา่ งกายและจิตใจ
ตัวชีว้ ัด
1. ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวยั ท่ีมสี ุขภาวะและโภชนาการสมวัยตามเกณฑม์ าตรฐาน
2. รอ้ ยละ 90 ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 มผี ลการ
ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
เปา้ หมายท่ี 5
สถานศกึ ษาพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานทเี่ อื้อตอ่ การจดั การเรยี นรู้
ตวั ชี้วดั
1. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษาส่งเสรมิ การใช้ดิจิทัลแพลตฟอรม์ เพ่ือการเรียนรู้หรือ
เป็นเคร่ืองมือเพ่อื การเรยี นรู้
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้มีการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ของสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น โรงอาหาร ห้องน้ำ ห้องส้วม ห้องปฏิบัติการ
สนามเด็กเล่น เปน็ ต้น
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการพัฒนาด้านส่งเสริมการศึกษาของสถานศึกษา
ใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รียน เช่น สือ่ การเรยี นการสอน อาหารกลางวนั อาหารเสรมิ (นม) เป็นตน้
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 33
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้มีการพัฒนาด้านการมีส่วนร่วมของเอกชน
บ้าน วัด โรงเรียน ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้ รียน เช่น การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ครูภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ิน แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน เปน็ ตน้
เป้าหมายที่ 6
สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สร้างความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ตัวชว้ี ัด
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีความปลอดภัยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
และสงั คม
2. รอ้ ยละ 100 ของครมู ีความปลอดภัยทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีและดำเนินการตามแนวทาง มาตรการ คู่มือใน
การดำเนนิ งานสรา้ งความปลอดภัยในสถานศกึ ษา
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบดูแลชว่ ยเหลือและคมุ้ ครองนักเรยี น
5. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษามขี ้อมลู นกั เรียนที่ไดร้ ับการดูแลชว่ ยเหลือตามระบบ
ดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
กลยุทธ์ที่ 5 ด้านการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม
ประเด็นกลยุทธ์
1. จดั ทำ Road Map และแผนปฏิบัตกิ าร เพ่ือจัดแนวทางการดำเนินการใหอ้ งค์ความรู้
และสรา้ งจติ สำนึกดา้ นการผลิตและบริโภคท่ีเป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม
2. จัดทำคู่มือและพัฒนาสื่อนวัตกรรมในรูปแบบ QR CODE และสื่อระบบ
Multimedia และอื่น ๆ
3. จัดทำเกณฑ์การประกวดโรงเรียนคาร์บอนต่ำและชุมชนคาร์บอนต่ำและพัฒนา
วทิ ยากรใหค้ วามรู้เรอื่ งวงจรชวี ติ ของผลติ ภณั ฑ์ (LCA) สู่สังคมคารบ์ อนตำ่
4. พัฒนาวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนและจัดทำหน่วยการเรียนรู้ในเรื่องการผลิต
และบริโภคที่เป็นกับสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับ
มัธยมศึกษา และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการเก็บข้อมูล การลดก๊าซที่มีผลต่อปรากฏการณ์ภาวะ
เรือนกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ในรูปแบบการเปรียบเทียบและการลดการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน Carbon emission / Carbon Footprint
ในสถานศกึ ษาส่ชู มุ ชน
5. จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญในการจัดทำ Road Map เป็นที่ปรึกษาในการดำเนินการ
ตามแผนปฏิบัตกิ าร โรงเรยี นคารบ์ อนตำ่ สูช่ มุ ชนคารบ์ อนตำ่
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 34
6. พัฒนาต่อยอดและขยายผลศูนย์การเรียนรู้ลดใช้พลังงาน การจัดการขยะ
และอนรุ ักษ์สง่ิ แวดล้อมใน 6 ศนู ย์ 4 ภมู ภิ าค
7. พฒั นาเครอ่ื งมือ และกระบวนการให้ความรู้และแนวทางการจัดการเรยี นรู้ กิจกรรม
เร่อื งการผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ มใน 6 ภูมิภาค
8. จัดสรรงบประมาณดำเนินการตาม Road map และแผนปฏิบัติการ 245 เขต
เพอื่ ดำเนนิ การต่อยอดขยายความรู้และสร้างเครือข่ายโรงเรยี น ชมุ ชน และเชอื่ มตอ่ หน่วยงาน ทั้งภาครัฐ
และเอกชน
9. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนากระบวนการรณรงค์ให้มีการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม และยกระดับสำนักงานเขตพื้นที่ต้นแบบ 245 เขต และสถานศึกษาด้านการบริหาร
จัดการสำนักงานสีเขียวและสถานศึกษาท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม (Green office)
10. พัฒนา ยกระดับสถานศึกษานำร่องขยายผลสง่ สถานศึกษาตน้ แบบด้านการพัฒนา
ด้านการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระบบ เช่น การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เบอร์ 5
และผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากและสัญลักษณ์เบอร์ 5 เพื่อลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและลดปริมาณขยะ
ในสำนักงานและสถานศึกษา
11. ส่งเสริมการพัฒนาสื่อนวัตกรรม และบูรณาการสาระการเรียนรู้และแผนการ
จัดการเรยี นรู้ เรอ่ื งการผลิตและบรโิ ภคท่ีเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มตอ่ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
12. ขยายผลผ่านระบบ DLTV ส่งเสริมความรู้ เรื่องการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อมต่อความปลอดภัย และสุขภาพที่ดีสู่สังคมเมืองเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษ
และสิ่งแวดล้อมที่ดี รวมทั้งการเลือกผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและฉลากที่แสดง
สญั ลกั ษณ์ท่เี ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
13. พัฒนานวัตกรรมโดยใช้กระบวนการ BBL/PLC และ Decision – Making การนำ
ขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบผลิตภัณฑ์และพลังงานและลดปริมาณขยะ การบำบัดน้ำเสีย ลดการเผา
และลดใชส้ ารเคมี สโู่ รงเรียนปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม
14. ขยายผลจากโรงเรียนคาร์บอนต่ำสู่ชุมชนเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษ
และสิ่งแวดลอ้ มดี Green city ดา้ นพลังงาน การจัดการขยะและน้ำเสีย ชุมชนผลติ และบริโภคที่เป็นมิตร
กับสิง่ แวดลอ้ ม
15. ส่งเสริม สนบั สนนุ และพัฒนาใหน้ ักเรียน โรงเรยี น ไดศ้ ึกษาเรยี นรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้
โรงเรียนอุตสาหกรรม การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชนเมืองนิเวศและหน่วยงานส่งเสริมการ
บริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำความรู้มาประยุกต์ใช้และจัดทำโครงงานด้านการอนุรักษ์
สง่ิ แวดล้อม
16. ส่งเสริมแนวทางการจัดการเรียนรู้อาชีพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
จัดค่ายเยาวชนวัยชนลดคารบ์ อนเพื่อโลก ประกวดชมุ ชนต้นแบบท่นี ำความรู้จากโรงเรียนต่อยอดสู่ชุมชน
นิเวศปลอดขยะ ปลอดสารพิษเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม อย่างน้อย 2,000 ชุมชน
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 35
เป้าหมายและตัวช้วี ัดตามเปา้ หมาย
เปา้ หมายท่ี 1
สถานศึกษามกี ารส่งเสริมการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย
ตัวชี้วดั
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการจัดทำแผนปฏิบัติการลด และคัดแยกขยะมูล
ฝอยของสถานศกึ ษา
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนำไปจัดการอย่าง
เหมาะสม ถูกต้องตามหลักวชิ าการ
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ในการคัดแยกขยะมูล
ฝอยก่อนทิ้ง เช่น การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมรณรงค์ การอบรม KM การจัดนิทรรศการ
เพื่อใหค้ วามรู้ ศึกษาสภาพจรงิ จากแหลง่ เรียนรู้ เป็นต้น
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมให้บุคลากรนำขยะมูลฝอยมาใช้
ประโยชน์ เช่น หมกั ทำปุ๋ย นำ้ หมกั ชวี ภาพ เลีย้ งไสเ้ ดอื น ธนาคารขยะ ผา้ ป่ารไี ซเคิล เป็นต้น
5. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีกิจกรรมลดปริมาณขยะ เช่น ถุงพลาสติกหูหิ้ว
แก้วพลาสตกิ โฟมบรรจุอาหาร เป็นตน้
เปา้ หมายท่ี 2
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามีการส่งเสริมการลดและคดั แยกขยะมูลฝอย
ตัวชว้ี ัด
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการจัดทำแผนปฏิบัติการลด และคัดแยกขยะมูล
ฝอยของหน่วยงาน
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนำไปจัดการอย่าง
เหมาะสม ถกู ต้องตามหลกั วิชาการ
3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีกิจกรรมให้ความรู้ในการคัดแยกขยะมูลฝอยก่อน
ทิ้งแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เช่น การจัดกิจกรรมรณรงค์ การอบรม KM การจัดนิทรรศการเพื่อให้
ความรู้ เปน็ ต้น
4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในการนำ
ขยะมลู ฝอยมาใช้ประโยชน์ เชน่ หมักทำปุ๋ย นำ้ หมกั ชวี ภาพ เลี้ยงไส้เดือน ธนาคารขยะ เป็นตน้
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีกิจกรรมลดปริมาณขยะ เช่น ถุงพลาสติกหูห้ิว
แก้วพลาสตกิ โฟมบรรจุอาหาร เป็นตน้
เป้าหมายที่ 3
หน่วยงานมีการส่งเสริมใหล้ ดการใช้พลงั งาน
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 36
ตวั ชว้ี ัด
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการส่งเสริมให้ลดการใช้พลังงาน เช่น การ
ประหยดั พลงั งานด้านไฟฟ้า พลังงานดา้ นน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ การใช้นำ้ เพื่ออปุ โภคบริโภค เปน็ ต้น
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการส่งเสริมให้ลดการใช้พลังงาน เช่น การ
ประหยดั พลงั งานดา้ นไฟฟ้า พลงั งานดา้ นน้ำมันเชื้อเพลงิ การใชน้ ้ำเพอ่ื อปุ โภคบรโิ ภค เปน็ ตน้
กลยุทธ์ท่ี 6 ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา
ประเด็นกลยุทธ์
1. ใหส้ ถานศกึ ษาหรือกลุม่ สถานศกึ ษามีความเป็นอิสระในการบริหารจัดการศึกษา
เป็นมาตรการการกระจายอำนาจให้สถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษามีความเป็น
อิสระในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุมด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ
ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยดำเนินการเป็นรายสถานศึกษาหรือกลุ่ม
สถานศกึ ษา อาจดำเนินการเปน็ รายด้านหรือทกุ ด้านได้ โดยมแี นวทางการดำเนนิ การ ดังนี้
1.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
วิเคราะห์ หลักเกณฑ์ รูปแบบ หน้าที่ อำนาจ และโครงสร้างการกำกับดูแลของสถานศึกษาหรือกลุ่ม
สถานศึกษา
1.2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานและสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
วิเคราะห์หน้าทีแ่ ละอำนาจ องค์ประกอบ จำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาการ
เลือกประธานและกรรมการ คณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศกึ ษาหรือของกลุ่มสถานศึกษา โดยให้
คำนึงถึงหลักธรรมาภิบาลและความเป็นอิสระของบสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา ให้มีความ
หลากหลายและความแตกต่างของสถานศกึ ษา รวมถึงความต้องการและข้อจำกัดของแต่ละพื้นท่ี
1.3 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษาจัดหาเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนงาน
ด้านธุรการ ด้านการเงิน การบัญชีและพัสดุ และด้านบริหารงานบุคคล เพื่อมิให้งานดังกล่าวเป็นภาระ
ทีเ่ กินสมควรแก่ครู ผปู้ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่กี ารจดั การเรียนรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รยี น
1.4 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
วิเคราะห์ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกับกระจายอำนาจให้สถานศึกษา
หรือกลมุ่ สถานศึกษามคี วามเป็นอสิ ระในการบรหิ ารและจดั การศึกษา
1.5 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
จัดทำแผนปฏิบตั กิ ารและดำเนนิ การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถานศึกษาหรอื กลุ่มสถานศึกษาให้มี
ความเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
1.6 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาพัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียน
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 37
ขนาดเล็กและโรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
และสอดคล้องกับบรบิ ทของพ้นื ท่ี
1.7 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาบริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีจำนวนนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบาย
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน
1.8 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ส่งเสริมการจัดการศึกษาในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษาที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะ
พเิ ศษ
1.9 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนขนาดเล็กมีระบบ
การบริหารจัดการที่หลากหลาย เช่น การบริหารจัดการแบบกลุ่มโรงเรียน การสอนแบบบูรณาการ
คละชนั้ เป็นตน้
1.10 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของทุกคนในชุมชน เป็นศูนย์กลางในการ
พัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชวี ิต
1.11 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา นำผลการประกับคุณภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผนการปฏิบัติการตรวจสอบ ติดตาม
เพื่อการปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
1.12 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนารูปแบบระบบบริหารจัด
การศึกษา ให้สอดคล้องกบั การพัฒนาให้สถานศกึ ษามอี ิสระในการบริหารจัดการศึกษา
1.13 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา จัดอบรม พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ความเชี่ยวชาญ
ประสบการณ์ ทจ่ี ำเป็นสำหรบั การปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
1.14 สถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษาได้รับการกระจายอำนาจให้อย่างเป็นอิสระ
ในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุมดา้ นการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการ
บริหารงานบุคคล และด้านการบรหิ ารงานทั่วไป โดยดำเนนิ การเปน็ รายสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา
อาจดำเนินการเปน็ รายดา้ นหรือทุกด้านได้
1.15 สถานศกึ ษาหรือกลมุ่ สถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษา
เพ่อื ทำหนา้ ท่สี ง่ เสรมิ สนบั สนุน กำกบั ดแู ลกจิ การและการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 38
2. พัฒนาสำนักงานส่วนกลางและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นหน่วยงานมี
ความทันสมัยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
เป็นมาตรการในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของสำนักงานทั้งระดับ
สำนักงานส่วนกลางและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัย พร้อมที่จะปรับตัวให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของดลกอยู่ตลอดเวลา มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป็นหน่วยงายที่มีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม
เพ่ือใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี
2.1 ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุง และพัฒนาสำนักงานส่วนกลางและสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัย มีหน้าที่สนับสนุน กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
สถานศกึ ษา เพอ่ื การบรหิ ารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล
2.2 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สำนักงานส่วนกลาง และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ใช้ระบบการบริหารจัดการที่มุ้งเน้นคุณธรรมและความโปร่งใสในการท ำงานตามหลักการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity & Transparency
Assessment : ITA)
2.3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สำนักงานส่วนกลางและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
นำนวัตกรรม และเทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology) มาใช้ในการบรหิ ารงาน
2.4 ส่งเสริมการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน (Area-
based Management) รูปแบบการบรหิ ารแบบกระจายอำนาจ “CLUSTERs”
2.5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนบูรณาการจัดการศึกษาในระดับเขต
พื้นที่
2.6 สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย
เช่น เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ สหวิทยาเขต
กลุม่ โรงเรยี น ฯลฯ
2.7 ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพนื้ ท่ี
2.8 ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมและสาธารณชน ให้มีความรู้
ความเขา้ ใจและมีส่วนรว่ มรับผิดชอบ (Accountability) ในการบริหารจดั การศกึ ษา
2.9 ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนทรัพยากร
เพอื่ การศึกษา
3. ปฏริ ูปการคลงั ด้านการศกึ ษา เพือ่ เพิ่มคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษา
โดยการจัดสรรงบประมาณตรงสผู่ ู้เรียน และสถานศกึ ษา
เป็นมาตรการที่เน้นการนำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการ
จัดสรรงบประมาณอุดหนนุ ผูเ้ รียนทุกคน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติทีต่ อ้ งการปฏิรปู การคลัง โดยการ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 39
จัดสรรงบประมาณตรงไปยังผู้เรียน เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) จะเป็นเครื่องมือสำคัญ
ในการดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าว โดยสามารถพิสูจน์ตัวตนของผู้เรียนที่รับจัดสรร
งบประมาณ ได้อยา่ งถูกต้อง ลดความซ้ำซ้อนในการจดั สรรงบประมาณอุดหนุนผู้เรยี น สามารถกำหนด
เงื่อนไขการจัดสรรงบประมาณให้แก่ผู้เรียนกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับ
ระบบธนาคาร ในการจัดสรรงบประมาณตรงไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีแนวทางการ
ดำเนนิ การ ดังนี้
3.1 ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบการบริหารจัดการงบประมาณ
อดุ หนุนผู้เรยี นและสถานศกึ ษาโดยตรง
3.2 พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพื่อพัฒนาระบบการบริหาร
จดั การงบประมาณอุดหนนุ ผู้เรยี นและสถานศึกษาโดยตรง
3.3 พัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบไบโอเมทริกซ์ (Biometric) ในการพิสูจน์ตัวตน
ของผู้เรียน เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการจัดสรรงบประมาณ โดยจะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลนักเรียน
รายบคุ คล กับกระทรวงมหาดไทย
3.4 พัฒนาระบบเบิกจ่ายงบประมาณอุดหนุนตรงไปยังผู้เรียนและสถานศึกษา
โดยผา่ นระบบธนาคาร
4. พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology) และระบบการทำงาน
ทเี่ ป็นดิจิทัลเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่าและเกิดประโยชนส์ งู สุด
เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ใน
การเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารอย่างเป็นระบบ นำไปสู่การนำเทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมลู ขนาดใหญ่
(Big Data Technology) เพอื่ เชอ่ื มโยงข้อมูลดา้ นต่าง ๆ ตั้งแต่ขอ้ มูลผเู้ รยี น ข้อมลู ครู ข้อมูลสถานศึกษา
ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอื่น ๆ ที่จำเป็น มาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความถนัด และสามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูลในการวาง
แผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ นำ Cloud Technology มาให้บริการแก่หน่วยงานทุก
ระดับ ทั้งระดับ Laas Paas และ Saas และพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) ระบบ
บริหารงานสำนักงาน เช่น ระบบแผนงานและงบประมาณ ระบบบัญชี ระบบพัสดุ ระบบสารบรรณ
เป็นต้น เพื่อเจ้าหน้าที่สามารถใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งองค์กร
โดยมแี นวทางการดำเนินการ ดังน้ี
4.1 ศึกษา วิเคราะห์ นำ Cloud Technology มาให้บริการหน่วยงานในสังกัด
ทุกระดับ ทั้งในรูปแบบ Private Cloud Hybridge Cloud และ public Cloud ทั้งในระดับ lass Paas
และ Saas
4.2 ศึกษา วิเคราะห์ นำ Big Data Technology มาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล
ของนักเรยี นในฐานข้อมลู ต่าง ๆ เพอ่ื นำมาวเิ คราะห์ คุณภาพของผเู้ รยี นในมิตติ ่าง ๆ
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 40
4.3 พัฒนาแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั (Digital Platform) เพื่อสนับสนนุ ภารกิจด้านบริหาร
จัดการศึกษา ทั้งระบบพร้อมให้บริการ (Services) เชื่อมโยงข้อมูล เพื่อแลกเปลีย่ นและบูรณาการข้อมลู
ภาครัฐทั้งภายในและนอกสังกัด อีกทั้งยังเป็นระบบกลาง สำหรับใช้ในการพิสูจน์ยืนยันตัวตนเดียว
และรองรบั การทำงานรว่ มกบั แพลตฟอรม์ ดิจิทัลตา่ ง ๆ
4.4 พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษย์ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สามารถ
เชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างกระทรวง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยการเชื่อมโยงข้อมูลรายบุคคลที่เกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชีพ
ในตลอดช่วงชีวิต เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล สามารถประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง และศักยภาพบุคคลของประเทศ นำไปสู่การตัดสินใจ
ระดบั นโยบายและระดับปฏบิ ัติ
4.5 พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน
และบุคลากรทางการศึกษา ด้านการบริหารงาน เชื่อมโยงการพัฒนาครู เพื่อให้สอดคล้องกับ
ความก้าวหน้าในอาชีพ ตลอดจนพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ตั้งแต่ระดับ
ปฐมวัย จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สามารถเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำไปสู่การพัฒนา
ฐานขอ้ มลู ประชากรด้านการศึกษาของประเทศ
เปา้ หมายและตวั ช้วี ัดตามเปา้ หมาย
เป้าหมายท่ี 1
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้ดำเนินงานอย่างมี
คุณภาพ
ตวั ช้ีวัด
1. ร้อยละ 100 ของโรงเรยี นขนาดเล็กกลมุ่ เป้าหมาย มผี ลการประเมินการยกระดับ
คุณภาพการบรหิ ารจัดการ ระดบั ดีข้นึ (รอ้ ยละ 70 ข้ึนไป)
2. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล มีนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
คณุ ภาพสถานศกึ ษา
3. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนขยายโอกาส มีนวัตกรรมในการส่งเสริมทักษะอาชีพ
สกู่ ารมงี านทำ
เปา้ หมายท่ี 2
สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี แผนพัฒนาการศึกษา แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาที่มีความสอดคล้องกับภารกิจ บริบทขององค์การและนโยบาย จัดทำรายงานการ
กำกบั ติดตาม การดำเนนิ งาน รวมทง้ั รายงานผลการดำเนนิ งาน
ตวั ชี้วดั
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี แผนพัฒนา
การศกึ ษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่มี คี วามสอดคล้องกับภารกจิ บริบทขององคก์ ารและนโยบาย
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 41
2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามีการจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี
เปา้ หมายท่ี 3
หน่วยงานมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการ
เรียนการสอน
ตวั ชี้วดั
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษานำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อการ
บริหาร เช่น ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ EO-CMS (Smart Area Yst1) การจัดเก็บข้อมูลผ่านระบบ
คลาวด์ (Cloud Computing) ฐานข้อมลู (Big Data) การใชร้ ะบบ VIDEO Conference เป็นต้น
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษานำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อการ
จัดการเรียนการสอน เช่น การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) การจัดการศึกษาผ่าน
เทคโนโลยีสานสนเทศ (DLIT) แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (DEEP) หรือช่องทาง
การศกึ ษา ทาง Social media เป็นต้น
3. ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาผ่านเทคโนโลยี
ดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อการจัดการเรียนการสอน เช่น แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
(DEEP) ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคล เพื่อความเป็นเลิศ (HECE) หรือ เทคโนโลยีดิจิทัลแพลตฟอร์มอื่น ๆ
เป็นต้น
4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อการ
บริหาร เช่น ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ EO-CMS (Smart Area Yst1) การจัดเก็บข้อมูลผ่านระบบ
คลาวด์ (Cloud Computing) ฐานข้อมูล (Big Data) การใช้ระบบ VIDEO Conference ระบบการ
บริหารงบประมาณ (BRS) เปน็ ตน้
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เพื่อการ
จัดการเรียนการอสอน เช่น การพัฒนาระบบคลังข้อสอบออนไลน์ การนิเทศออนไลน์ วารสารออนไลน์
คลงั ความรู้ออนไลน์ (KM) เปน็ ต้น
เปา้ หมายที่ 4
หนว่ ยงานมีแผนเป็นเครื่องมือในการบริหารงบประมาณให้มีประสทิ ธภิ าพ
ตวั ช้วี ัด
1. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษามีแผนการใชง้ บประมาณหรือแผนการจดั ซ้อื จัดจ้าง
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้รับการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบการใช้
งบประมาณ ผา่ นกระบวนการตรวจสอบภายในของสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาและเครือข่าย
เปา้ หมายที่ 5
หน่วยงานจัดระบบบริหารจัดการ เป็นไปตามมาตรฐานและส่งเสริมคุณภาพ
สถานศกึ ษา
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 42
ตัวชีว้ ัด
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการ มีการพัฒนามาตรฐานการ
ปฏิบตั งิ าน มีระบบควบคมุ ภายใน มีการกำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการปฏิบัติงาน
2. ร้อยละ 90 ข้ึนไปของผรู้ บั บริการ มีความพงึ พอใจที่มตี ่อระบบการบริหารจัดการ
ของสถานศกึ ษา (ระดบั ดมี ากขึ้นไป)
3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีระบบการบริหารจัดการ มีการพัฒนามาตรฐาน
การปฏบิ ตั งิ าน มรี ะบบควบคุมภายใน มกี ารกำกับ ตดิ ตาม มีการประเมนิ และรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน
4. ร้อยละ 90 ขึ้นไปของผู้รับริการมีความพึงพอใจที่มีต่อระบบบริหารจัดการ
ของสำนักงาเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา (ระดบั มากข้นึ ไป)
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด มีผลงานที่แสดงถึง
ความสำเรจ็ และเปน็ แบบอย่างได้อย่างนอ้ ยหนว่ ยงานละ 5 ชิน้
เป้าหมายท่ี 6
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กระจายอำนาจและส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อการ
บริหารและการจดั การศกึ ษาใหเ้ กิดประสิทธิภาพ
ตวั ชี้วัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีการกระจายอำนาจและการส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ในการบริหารโดยเครอื ขา่ ย เช่น เครือขา่ ยกลุ่มโรงเรยี น อนกุ รรมการตดิ ตาม
เป้าหมายท่ี 7
สำนักงานเขตพื้นที่กาดกรศึกษามีการบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคลอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
ตัวชว้ี ดั
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีแผนบริหารอัตรากำลัง และบริหารอัตรากำลัง
อย่าง มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพสถานศึกษา
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง ข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาด้วยระบบคณุ ธรรม
เป้าหมายท่ี 8
หนว่ ยงานมกี ารสอ่ื สารและประชาสมั พันธผ์ ลการดำเนินงาน
ตัวชว้ี ัด
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผลสำเร็จของการ
ดำเนินงานด้วยรูปแบบที่หลากหลาย เช่น จดหมายข่าว วารสารออนไลน์ เว็บไซต์สถานศึกษา
หรอื Social media เป็นต้น
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง
แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ห น้ า | 43
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผลสำเร็จของการ
ดำเนนิ งานด้วยรูปแบบทหี่ ลากหลาย เช่น จดหมายขา่ ว วารสารออนไลน์ เวบ็ ไซตส์ ำนกั งาน หรือ Social
media เป็นต้น
เป้าหมายที่ 9
หน่วยงานมีการส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาพัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเลก็ และโรงเรยี นทีส่ ามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคณุ ภาพ (Stand
Alone) ใหม้ ีคุณภาพอยา่ งย่งั ยืนและสอดคล้องกับบริบทของพน้ื ท่ี
ตวั ชี้วัด
1 หน่วยงานมีการส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาบริหารจัดการโรงเรียนขยาย
โอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษา
อยา่ งมคี ณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับนโยบายโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน
2. หน่วยงานมกี ารพฒั นาจัดทำระบบนิเทศ ติดตามผลการดำเนนิ งานในสถานศึกษา
ทั้งในระบบออนไลน์และนิเทศ เชิงคุณภาพ พัฒนาการกรอกข้อมูลระบบการนิเทศ ติดตาม แลกเปลี่ยน
นำเสนอผลงานและมอบรางวัลเกียรติยศ ประชาสัมพันธ์และจัดพิมพ์ เว็บไซต์ ผลงานเพื่อเผยแพร่และ
เปน็ ต้นแบบ สรุปผลรายงาน
แนวทางการขบั เคลื่อนนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ
กรอบนโยบายการจัดการศึกษาของสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง
1. พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
มหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
2. แนวทางการขับเคลอ่ื นนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ
2.1 ใช้กรอบแนวทางตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน และพรอ้ มปรบั เปลี่ยนเพม่ิ เตมิ ตามนโยบายเรง่ ดว่ น
2.2 ยุทธศาสตรจ์ งั หวัดระนอง
2.3 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง
การบริหารจัดการขบั เคล่อื นภารกิจภายใตก้ รอบนโยบาย 5 ด้าน รูปแบบ SQ-POM : Model
ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ร ะ น อ ง