คำนำ
สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลกทวคี วามรุนแรง
เพิม่ มากขน้ึ รวมถึงประเทศไทยที่กําลังเผชญิ กับการระบาดระลอก 3 ตง้ั แตเดือนเมษายน 2564 เปนตนมา
ซึง่ เกิดการระบาดอยางรวดเร็วทุกจังหวัดทั่วประเทศ โรงเรยี นบ้านปางหินฝนมีความหวงใยความปลอดภัยทาง
สุขภาพ และระวังปองกันนักเรียน ครูและบุคลากรทุกคน จึงไดกําหนด “มาตรการปองกันและรองรับการ
จดั การเรียนการสอน ในสถานการณแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)” เพอ่ื เตรียม
ความพรอมในการรับมือกับการระบาดของโรคอยางมีประสิทธิภาพ ลดความเส่ียงและปองกันไม่ใหสงผลกระ
ทบตอสขุ ภาพนกั เรียน ครูและบคุ ลากรทุกคน
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มนี้ โรงเรียนบ้านปางหินฝนจัดทําขึ้น ใช้เป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงานสําหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่
นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนท่ัวไปว่าโรงเรียนบ้านปางหินฝนมีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับ
นักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่ง
สอดคล้องกบั มาตรการท่ีกระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธิการกําหนด
โรงเรยี นบำ้ นปำงหินฝน
สำรบญั
เร่ือง หน้ำ
คำนำ
สำรบัญ
ก. ผลกำรประเมินควำมพรอมของโรงเรยี นผำนระบบ Thai Stop Covid+ (TSC+)…………….………………1
สว่ นท่ี 1 แนวปฏิบตั กิ ำรเตรียมกำรก่อนเปดิ ภำคเรียน
การประเมนิ ความพรอ้ มก่อนเปิดเรยี น.............................................................................................................. 3
การเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียน...................................................................................................................... 7
ส่วนท่ี 2 แนวปฏิบตั ิระหวำ่ งเปดิ ภำคเรียน
กรณีเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ (Onsite)................................................................................................................11
กรณโี รงเรยี นไมส่ ามารถเปดิ เรียนไดต้ ามปกต.ิ ................................................................................................15
สว่ นที่ 3 แผนกำรเผชิญเหตุ..........................................................................................................................17
สว่ นท่ี 4 แนวปฏบิ ตั ิสำหรบั บุคลำกรและหนว่ ยงำนที่เกย่ี วข้อง
แนวทางสําหรบั บุคลากรในสถานศกึ ษา...........................................................................................................21
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา..........................................................................................................................21
ครูและบุคลากรทางการศึกษา........................................................................................................... 21
นกั เรยี น............................................................................................................................. ................22
ผ้ปู กครองนักเรยี น……………………………………………………………………………………………………………….22
แม่ครวั ............................................................................................................................. ..................22
แนวทางสาํ หรบั บุคลากรในสถานศกึ ษา...........................................................................................................23
ภำคผนวก.......................................................................................................................................................24
ห น้ า | 1
ผลกำรประเมนิ ควำมพร้อมของโรงเรียนผ่ำนระบบ Thai Stop Covid+ (TSC+)
โรงเรยี นบ้านปางหนิ ฝน ไดป้ ระเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนตามแบบประเมินตนเองในรปู แบบ
ของ Digital Platform ผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เมื่อ
วันที่ 23 ตลุ าคม 2564 รายงานผลการประเมนิ คะแนนเตม็ : 20 คะแนน คะแนนท่ีได้ 20 คะแนน
ระดบั สเี ขียว
ห น้ า | 2
สว่ นท่ี 1
แนวปฏิบตั กิ ารเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น
ห น้ า | 3
แนวปฏบิ ัติกำรเตรยี มกำรกอ่ นเปดิ ภำคเรียน
การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสําคัญอย่างมากเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตน
ของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เก่ียวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อโรคโควิด ๑๙
(Covid-19) ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติการเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ปฏบิ ัติ ดังนี้
1. กำรประเมนิ ควำมพร้อมก่อนเปิดเรยี น
กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามยั ไดส้ รา้ งเครอื่ งมือสําหรับสถานศกึ ษาประเมินตนเองในระบบ Thai
Stop Covid Plus ตวั ยอ่ TSC+ เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษาเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ เรียน ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา
๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมิน ตนเองดังกล่าว
ประกอบด้วย ๖ มิติ 20 ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินท้ัง 20 ข้อ ตามข้ันตอนการ ประเมินตนเอง
ดงั ภาพ
ห น้ า | 4
⚫ กรอบกำรประเมนิ Thai Stop Covid Plus (เอกสารประกอบภาคผนวก)
มิติท่ี 1 ควำมปลอดภยั จำกกำรลดกำรแพรเ่ ช้ือโรค
1. มีกำรจัดเวน้ ระยะหำ่ ง อย่ำงน้อย 1-2 เมตร เช่น ท่ีนั่งในห้องเรียน ที่น่งั ในโรงอำหำร ที่นง่ั พกั
จดุ ยนื รบั -ส่งส่ิงของ/อำหำร พร้อมติดสัญลกั ษณ์แสดงระยะห่ำงอย่ำงชัดเจน หรือไม่
โรงเรียนบ้านปางหินฝนมีการจัดทําสัญลักษณ์แสดงจุดตําแหน่งที่ชัดเจน ทั้งตําแหน่งการยืนเพ่ือ
ตรวจวัดอุณหภูมิ ตําแหน่งการยืนเข้าแถวหน้าเสาธง ตําแหน่งการนั่งรับประทานอาหาร ฯลฯ ในแต่ละจุดใหม้ ี
ระยะห่างไม่นอ้ ยกวา่ 1 เมตร
2. มีมำตรกำรให้นกั เรียน ครู บุคลำกร และผูเ้ ข้ำมำตดิ ต่อในสถำนศกึ ษำ ต้องสวมหน้ำกำก
อนำมัย 100% ตลอดเวลำทอ่ี ยู่ในสถำนศึกษำ หรอื ไม่*
โรงเรยี นบ้านปางหนิ ฝนมีการกําหนดนโยบายใหน้ ักเรยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผทู้ ีเ่ ข้ามาใน
โรงเรยี นบา้ นปางหินฝนทุกคนจะตอ้ งสวมใสห่ นา้ กากอนามัยหรือหนา้ กากผ้าทกุ คนตลอดเวลาท่อี ยใู่ นโรงเรียน
บา้ นปางหินฝนโดยโรงเรียนได้จดั เตรียมหน้ากากผา้ ให้แกน่ ักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา คนละ 2 ช้ิน
เพอ่ื เปน็ การดูแลดา้ นความปลอดภยั ในเบ้ืองตน้
3. มีจุดล้ำงมือด้วยสบู่และน้ำ หรือจดั วำงเจลแอลกอฮอล์สำหรบั ใช้ทำควำมสะอำดมือ อย่ำง
เพียงพอและใช้งำนไดส้ ะดวก หรือไม*่
โรงเรยี นบ้านปางหินฝนมกี ารดําเนนิ การจดั บคุ ลากรเป็นเวรประตูทางเข้าโรงเรยี นเพอื่ ตรวจวัดไข้
นกั เรยี น ครู และผู้เข้ามาตดิ ตอ่ ทกุ คน ตรวจสอบการสวมใสห่ นา้ กากอนามัย/หน้ากากผา้ ทุกวนั
4. มีมำตรกำรคดั กรองวัดอุณหภูมิให้กับนักเรียน ครู บคุ ลำกร และผเู้ ข้ำมำติดต่อ ทกุ คน ก่อนเขำ้
สถำนศกึ ษำ หรอื ไม*่
โรงเรยี นบา้ นปางหนิ ฝนมีการสํารวจข้อมูลนักเรยี นโดยใช้แบบสอบถาม เพื่อจดั เก็บข้อมูลของนกั เรียน
ครู และผู้ ท่ีเขา้ มาติดต่อทุกคนก่อนเข้าโรงเรยี น จากการแนะนาํ ของสาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวัดเชยี งใหม่
5. มมี ำตรกำรใหล้ ดกำรทำกิจกรรมรวมกลุ่มคนจำนวนมำก และหลีกเลย่ี งกำรเข้ำไปในพืน้ ท่ที ่ีมี
คนจำนวนมำกหรือพน้ื ที่เสยี่ งท่มี ีกำรแพร่ระบำดของโรค หรอื ไม*่
โรงเรียนมีมาตรการให้ลดการทํากิจกรรมรวมกลุ่มคนจํานวนมาก และหลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นที่ทม่ี ี
คนจาํ นวนมากหรือพื้นท่ีเสีย่ งท่ีมีการแพรร่ ะบาดของโรค โดยหากมีการทํากจิ กรรมกล่มุ นักเรียนจะตอ้ งสวมใส่
อปุ กรณ์ป้องกัน และงดเว้นสมั ผสั รา่ งกายกันโดยตรง
6. มีกำรทำควำมสะอำดห้องเรยี น ห้องเรยี นร่วม หอ้ งปฏิบตั กิ ำร เชน่ หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ ง
ดนตรี อปุ กรณก์ ฬี ำ และอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในกำรเรียนกำรสอน และพ้ืนผิวสัมผสั ร่วม เชน่ รำวบันได ลูกบดิ มือ
จบั ประตู โตะ๊ เกำ้ อี้ ทุกวนั หรือไม*่
โรงเรียนมีมาตรการในการทําความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม ห้องปฏิบัติการ เช่น ห้อง
คอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี อุปกรณ์กีฬา และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอนและทําความสะอาดจุดสัมผัสร่วม
ต่าง ๆ ทุกวนั เชน่ โต๊ะ เกา้ อี้ ราวบันได ลกู บิดประตู ฯลฯ ดว้ ยนา้ํ ยาฆ่าเชอื้ ทุกวนั
7. มีมำตรกำรส่งเสริมใหก้ นิ อำหำรปรงุ สุกใหมร่ ้อน กนิ อำหำรดว้ ยกำรใชช้ ้อนสว่ นตัวทุกคร้ัง งด
กำรกนิ อำหำรรว่ มกัน และจัดใหบ้ รกิ ำรอำหำรตำมหลกั สุขำภบิ ำลและหลักโภชนำกำร หรอื ไม*่
โรงเรยี นบา้ นปางหินฝนไดป้ รับเปลยี่ นเวลาการพักรบั ประทานอาหารอาหารกลางวันของนกั เรยี น
ออกเป็น 2 ชว่ ง เพอื่ ลดปรมิ าณนกั เรยี นที่มาใช้บริการและจัดให้ครูประจําวนั คอยควบคุมดแู ลอย่างใกลช้ ิด
8. มีกำรจัดระบบใหน้ ักเรยี น ครู บุคลำกร และผเู้ ข้ำมำติดต่อในสถำนศกึ ษำ ทุกคน ลงทะเบียน
ตำมที่รัฐกำหนดด้วย app หรือลงทะเบยี นบันทกึ กำรเขำ้ -ออกอย่ำงชัดเจน หรอื ไม*่
ห น้ า | 5
โรงเรียนบ้านปางหนิ ฝนมีการจัดระบบให้นกั เรียน ครู บุคลากรและผู้เข้ามาติดต่อในสถานศกึ ษาทกุ คน
ลงทะเบียนตามท่รี ฐั กําหนดด้วย app Thai Save Thai (TST) เพ่ือลงทะเบียนบนั ทึกการเข้า-ออกอยา่ งชดั เจน
9. มีกำรจัดกำรดำ้ นอนำมัยสง่ิ แวดล้อมตำมมำตรกำรป้องกันโรคโควิด 19 ในสถำนศกึ ษำ ไดแ้ ก่
กำรระบำยอำกำศภำยในอำคำร คณุ ภำพนำ้ บริโภคอปุ โภค กำรทำควำมสะอำด และกำรจดั กำรขยะ
เป็นไปตำมมำตรฐำนและหลักกำรท่ถี กู ตอ้ ง หรือไม่*
โรงเรยี นบา้ นปางหนิ ฝนไดด้ าํ เนินการสํารวจข้อมลู ความพร้อมของห้องเรียนทุกห้องเรยี นทกุ หอ้ ง
ดาํ เนินการซ่อมแซมประตู หนา้ ตา่ ง พัดลม หลอดไฟแสงสว่าง ใหส้ ามารถใช้งานได้ดี สามารถเปิด ประตู
หน้าตา่ ง พัดลมไดเ้ พ่ือให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
10. มีมำตรกำรสง่ เสริมใหใ้ ห้นกั เรยี น ครู และบุคลำกร รูจ้ ัก หมนั่ สังเกตอำกำรเสี่ยงจำกโรควิด
19 เชน่ ไข้ ไอ นำ้ มูก เจ็บคอ คอแหง้ อ่อนเพลยี หำยใจลำบำก หำยใจเรว็ เจบ็ แนน่ หนำ้ อก เสยี กำรดม
กลน่ิ ลน้ิ ไมร่ ับรส ตำแดง มีผ่ืน ท้องเสีย และประเมินควำมเส่ียงของตนเองเปน็ ประจำ ผ่ำน Thai save
Thai (TST) หรอื แบบประเมนิ คดั กรองควำมเสีย่ งอน่ื ตำมทีก่ ำหนด หรือไม่*
โรงเรยี นบา้ นปางหนิ ฝนมมี าตรการสง่ เสรมิ ใหใ้ หน้ ักเรยี น ครู และบุคลากร รูจ้ กั หมนั่ สังเกตอาการ
เสีย่ งจากโรควิด 19 เช่น ไข้ ไอ น้ํามูก เจบ็ คอ คอแหง้ อ่อนเพลยี หายใจลาํ บาก หายใจเร็ว เจ็บแน่นหนา้ อก
เสียการดมกลนิ่ ล้ินไม่รบั รส ตาแดง มผี ่นื ท้องเสีย และประเมินความเส่ียงของตนเองเป็นประจาํ
11. มีมำตรกำรส่งเสริมใหน้ ักเรยี น อำยุ 5-11 ปี อำยุ 12-17 ปี นกั ศกึ ษำ ครู บคุ ลำกร และ
ผู้ปกครอง เข้ำถึงกำรฉดี วคั ซีนปอ้ งกนั โควิด-19 ตำมแนวทำงที่รัฐกำหนด หรือไม*่
โรงเรียนบ้านปางหินฝนมีมาตรการสง่ เสรมิ ให้นักเรยี น อายุ 5-11 ปี อายุ 12-17 ปี นักศกึ ษา ครู
บคุ ลากร และผู้ปกครอง เข้าถึงการฉีดวัคซีนป้องกนั โควดิ -19 ตามแนวทางทีร่ ฐั กําหนด โดยมคี ณะครูได้รบั
การฉีดวัคซนี จํานวน 16 คน นกั เรียนอายุ 5-11 ปี ได้รับการฉดี วคั ซนี จาํ นวน 75 คน และนกั เรยี นอายุ
12-18 ปี ไดร้ ับการฉีดวัคซนี จาํ นวน 52 คน และผู้ปกครองไดร้ บั การฉีดวคั ซีนท้งั หมด 141 คน
12. มีห้องพยำบำลหรือมพี ้ืนทเ่ี ปน็ สดั สว่ นสำหรับสังเกตอำกำรผมู้ ีอำกำรเสี่ยง หรือจัดให้มี
สถำนท่ีแยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) ตำมบรบิ ทอย่ำงเหมำะสม หรือไม*่
โรงเรียนบ้านปางหนิ ฝนมีการดาํ เนนิ การจัดพนื้ ทภี่ ายในห้องพยาบาลเพ่ือแยกผทู้ ม่ี ีอาการเส่ยี งทาง
ระบบทางเดินหายใจทัง้ ห้องผู้ปว่ ยชายและผู้ปว่ ยหญงิ ทาํ ฉากก้นั พน้ื ท่เี ป็นสัดสว่ นอยา่ งชดั เจน
มติ ทิ ี่ 2 กำรเรียนรู้
13. มกี ำรจดั กำรเรียนกำรสอนเกีย่ วกับโรคและกำรป้องกันกำรแพรร่ ะบำดของโรคโควดิ 19
สอดคล้องตำมช่วงวัยของผู้เรียน หรอื ไม่*
โรงเรยี นได้เตรยี มความพร้อมในการจดั การเรียนการสอนโดยคาํ นึงถงึ การเรยี นรตู้ ามวยั และ
สอดคลอ้ งกับการพัฒนาด้านสังคม อารณ์ และสติปัญญา โดยเนน้ ย้ําให้ครูผ้สู อนทุกทา่ นคัดกรองนักเรียนทุก
คนเพ่ือจะได้ทราบถงึ สภาพปัญหาของนักเรยี นแต่ละคน และหากระบวนการวิธีการจดั การ เรียนการสอน
รวมถงึ การวดั และประเมนิ ผลทที มีความยืดหยนุ่ เหมาะสมกับสภาพจรงิ
14. มกี ำรสื่อสำร ประชำสมั พนั ธ์ ถ่ำยทอดให้ควำมร้กู ำรปฏบิ ัติตนเพื่อสุขอนำมัยปลอดภัยจำก
โรคโควดิ 19 ตำมมำตรกำรปอ้ งกันกำรติดเชื้อโรค โควดิ ขนั้ สูงสุด (Universal Prevention) ตลอดจน
แนะนำนกั เรียน ครู และบคุ ลำกรสำมำรถสืบค้นข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับโรคโควิด 19 จำกแหล่งข้อมูลทีเ่ ช่ือถอื ได้
หรอื ไม่*
ห น้ า | 6
โรงเรียนบ้านปางหินฝนได้จัดทําสื่อต่าง ๆ พร้อมเผยแพร่ให้นักเรียนรับรู้ในทุกช่องทางของ Social
media เช่น facebook ของโรงเรียน, กลุ่ม facebookช้ันเรียนของนักเรียน, Messenger เป็นต้นและ
จัดเตรียมแนวปฏิบัติการสื่อสารเพ่ือลดการรังเกียจและการตีตราทางสังคม (Social Stigma) ด้วยการ
ประยุกต์ใช้วิธีการที่สภานักเรียนได้ดําเนินการในปีการศึกษาท่ีผ่านมา ก็คือจิตอาสาสร้างสังคมความสุข ลด
การบลู ลีในโรงเรียน เพื่อเป็นการดูแลนกั เรียนในโรงเรยี นทุกคน
มิติที่ 3 กำรครอบคลุมถงึ เด็กด้อยโอกำส
15. มีกำรสนบั สนุนอุปกรณ์ของใช้สขุ อนำมยั ส่วนบุคคลในกำรปอ้ งกนั กำรแพรร่ ะบำดของโรคโค
วิด 19 สำหรบั นกั เรยี นดอ้ ยโอกำสหรอื กลุ่มเปรำะบำง หรือไม่*
โรงเรียนบ้านปางหนิ ฝนไดด้ าํ เนินการจดั ทาํ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณและดําเนนิ การจัดซื้อหนา้ กาก
ผ้าแจกใหน้ ักเรยี น ครู และบุคลากรทุกคนในสถานศกึ ษา จัดซื้อเจลแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ น้าํ ยาทําความ
สะอาดฆา่ เชือ้ โรค สบู่ เคร่ืองกดเจลแอลกอฮอล์ เพอ่ื ให้บรกิ ารแก่นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา รวมถงึ ผู้
ท่ีมาตดิ ต่อราชการเรียบร้อยแล้ว รวมท้ังจดั หางบประมาณเพิม่ เตมิ ในการดําเนินการดังกลา่ ว
มติ ทิ ่ี 4 สวสั ดภิ ำพและกำรคุ้มครอง
16. มีแผนเผชิญเหตุ แนวปฏบิ ัตริ องรบั กรณมี ีผูต้ ิดเชือ้ ในสถำนศึกษำหรือในชมุ ชน และมกี ำร
ซักซ้อม หรือไม่*
โรงเรยี นบ้านปางหินฝนไดจ้ ัดทาํ แผนเผชิญเหตุ แนวปฏบิ ัติรองรบั กรณีมีผู้ตดิ เชื้อในสถานศึกษาหรือใน
ชมุ ชน และมกี ารซักซ้อมหากเกดิ กรณีฉุกเฉิน หรือพบวา่ เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง สถานศกึ ษาต้องมีความพร้อมท้ังวัสดุ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นท่ี รวมทั้งการ
สร้างการรับรขู้ า่ วสารภายใน
17. มีกำรสื่อสำรประชำสมั พนั ธข์ ้อมูลขำ่ วสำรกำรติดเชื้อและกำรปฏิบัตติ นอย่ำงเหมำะสม เพื่อ
ลดกำรรังเกยี จและกำรตตี รำทำงสงั คม (Social stigma) ต่อผตู้ ิดเช้ือโควิด-19 หรอื ผู้สมั ผัสเส่ียงสูง
หรอื ไม่*
กลุ่มงานอนามัยโรงเรียนบ้านปางหินฝน ได้ร่วมกันดําเนินการจัดทําป้ายประชาสัมพันธ์ ณ จุดต่าง ๆ
เพ่ือแนะนําวิธีการปฏิบัติเพื่อสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ วิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การสวมหน้ากาก อนามัยหรือ
หน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล การปฏิบัติตนตามหลักวิถีชีวิต New Normal หรืออ่ืน ๆ ที่
เกี่ยวกับโรคโควดิ 19
มติ ิที่ 5 นโยบำย
18. มีนโยบำยเป็นลำยลักษณ์เนน้ กำรปฏิบตั ติ ำมมำตรกำรสขุ อนำมัยสว่ นบคุ คล 6 มำตรกำรหลัก
(DMHT-RC) 6 มำตรกำรเสริม (SSET-CQ) และ 7 มำตรกำรเขม้ และมกี ำรส่ือสำรประชำสมั พนั ธ์ใน
สถำนศกึ ษำ ใหน้ ักเรียน ครู บุคลำกร ผปู้ กครอง และชุมชนรับทรำบ และถือปฏบิ ตั ิ อยำ่ งท่ัวถงึ หรอื ไม่*
โรงเรียนบา้ นปางหนิ ฝนมนี โยบายเป็นลายลกั ษณเ์ น้นการปฏบิ ัติตามมาตรการสุขอนามัยสว่ นบุคคล 6
มาตรการหลัก (DMHT-RC) 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) และ 7 มาตรการเข้ม และมีการส่ือสาร
ประชาสัมพันธ์ในสถานศึกษา ให้นักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนรับทราบ และถือปฏิบัติอย่าง
ทั่วถึง
ห น้ า | 7
19. มนี โยบำยกำรควบคมุ ดูแลกำรเดนิ ทำงจำกบ้ำนไป-กลับสถำนศึกษำ (Seal Route) อยำ่ งปลอดภัย
เชน่ รถรบั -สง่ นกั เรียน รถสว่ นบคุ คคล รถโดยสำรประจำทำง รถยนตส์ ำธำรณะ หรือไม*่
โรงเรียนบ้านปางหินฝนไดว้ างแผนจดั การความสะอาดบนรถรบั -สง่ นักเรยี น โดยเว้นระยะระหว่าง
บุคคล สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งขณะท่อี ยู่บนรถรบั -ส่งนักเรียน และการวางมาตรการทีถ่ กู ต้องตามทข่ี นสง่
จังหวัดกาํ หนด
มิติท่ี 6 กำรบริหำรกำรเงนิ
20. มกี ำรจดั สรรงบประมำณหรอื แสวงหำงบประมำณจำกภำยนอกสำหรับกำรดำเนินกำรป้องกนั
กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด -19 ในสถำนศึกษำ หรือไม่*
โรงเรียนบ้านปางหินฝนได้ดําเนินการจัดทําแผนการใช้จ่ายงบประมาณฯ ตามความจําเป็นและ
เหมาะสมเป็นทีเ่ รยี บร้อยแลว้
๒. กำรเตรียมกำรกอ่ นเปดิ ภำคเรยี น
1.1 อำคำรสถำนท่ี หองเรยี น หองประกอบ หองสมดุ หองพยำบำล สนำมเดก็ เลน โรงอำหำรฯลฯ
1) หองเรียน หองประกอบ เชน หองคอมพวิ เตอร หองดนตรี หองปฏบิ ตั ิกำรวทิ ยำศำสตร ฯลฯ
1.1) จดั โตะ เกาอี้ หรือที่นง่ั ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1.5 เมตร โดยคาํ นงึ ถึง
สภาพบรบิ ทและขนาดพ้ืนที่ และจัดทาํ สัญลักษณแสดงจดุ ตําแหนงชัดเจน การแบงจํานวนนกั เรียน หรอื การใช
พื้นท่ีใชสอยบริเวณสถานศึกษา ตามความเหมาะสมทั้งน้ีอาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอ่ืนตามบริบทความเหมาะสม
โดยยึดหลกั Social distancing
1.2) ใหมกี ารระบายอากาศทีด่ ี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หากมคี วามจําเปนตองใช
กําหนดเวลาเปด–ปดประตู หนาตาง ระบายอากาศทุก 1 ชว่ั โมง และทาํ ความสะอาดอยางสมํา่ เสมอ
1.3) จัดใหมีเจลแอลกอฮอลใชทําความสะอาดมือสาํ หรับนักเรยี นและครู ใชประจาํ ทกุ หองเรยี นอยาง
เพียงพอ
1.4) มีการทําความสะอาดโตะ เกาอ้ี อุปกรณ และจุดสัมผสั เสยี่ ง เชน ลูกบดิ ประตู เครื่องเลนของใช
รวมกนั ราวบันได ฯลฯ กอนเปดภาคเรยี น และระหวางเปดเรยี นทําทกุ วันอยางนอยวนั ละ 2 ครง้ั เชากอนเรียน
และพักเทย่ี ง หรือกรณีมีการยายหองเรยี น ตองทาํ ความสะอาดโตะ เกาอี้ กอนและหลังใชงานทกุ ครั้ง
2) หองสมดุ
2.1) จัดโตะ เกาอี้ หรือที่น่ัง ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 -2เมตร และจัดทํา
สัญลักษณแสดงจดุ ตาํ แหนงชดั เจน
2.2) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง ระบายอากาศทุก 1
ชั่วโมง และทาํ ความสะอาดอยางสมํ่าเสมอ
2.3) จัดใหมเี จลแอลกอฮอลใชทาํ ความสะอาดมือสําหรบั ครู บรรณารักษ นักเรยี น และผูใชบริการ
บรเิ วณทางเขาดานหนาและภายในหองสมดุ อยางเพียงพอ
2.4) ใหมีการทําความสะอาดโตะ เกาอ้ี อุปกรณและจุดสัมผัสเสี่ยง เชน ลูกบิดประตู ชั้นวางหนังสือ
ทกุ วันวนั ละ 2 ครั้ง (เชากอนใหบริการ พกั เท่ยี ง)
ห น้ า | 8
2.5) ตดิ ประกาศแจงการจํากัดจํานวนคนจํากดั เวลาในการเขาใชบริการหองสมุด ใหนกั เรียน และ
ผูใชบริการทกุ คนตองสวมหนากากผาหรอื หนากากอนามัย ขณะใชบรกิ ารหองสมดุ ตลอดเวลา
3) สนำมเดก็ เลน ที่มอี ุปกรณเครอื่ งเลนตำง ๆ
3.1) ใหมกี ารทําความสะอาดเครอ่ื งเลนและอุปกรณการเลนกอนเปดภาคเรยี น และทําทุกวันระหวาง
เปดภาคเรยี นอยางนอยวนั ละ 2 ครั้ง ทาํ ความสะอาดดวยนาํ้ ยาทําความสะอาดตามคําแนะนําของผลติ ภัณฑ
3.2) กาํ หนดระเบยี บการเลนเคร่อื งเลนและอุปกรณการเลน จัดครเู วรดแู ลการเลนของนักเรียน
ใหมกี ารเวนระยะหางระหวางบคุ คล อยางนอย 1 - 2 เมตร
กํากบั ดแู ลใหเดก็ สวมหนากากผาหรอื หนากากอนามัยตลอดเวลาการเลน
จาํ กัดจํานวนคน จํากัดเวลาการเลนในสนามเด็กเลน โดยอยูในความควบคุมดูแลของครเู วรในชวง
เวลาพักเที่ยง และหลงั เลกิ เรียน
ใหนกั เรียนลางมอื ดวยสบูและน้าํ หรือเจลแอลกอฮอลกอนและหลงั การเลนทุกครงั้
4) หองนำ้
4.1) จัดเตรยี มอปุ กรณทําความสะอาดอยางเพียงพอ ไดแก น้าํ ยาทําความสะอาดหรือน้ํายาฟอกขาว
อุปกรณการตวง ถุงขยะ ถังนํ้า ไมถพู น้ื คีบดามยาวสําหรบั เก็บขยะ ผาเช็ดทาํ ความสะอาด และอปุ กรณปองกัน
อนั ตรายสวนบคุ คลทเี่ หมาะสมกับการปฏิบัติงาน เชน ถุงมือ หนากากผา ฯลฯ
4.2) การทําความสะอาดหองนํ้า หองสวม อยางนอยวันละ 2 ครั้ง ดวยน้ํายาทําความสะอาดทั่วไป
พ้นื หองสวมใหฆาเชื้อโดยใชผลิตภณั ฑฆาเชอื้ ทมี่ สี วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท ลกู บิดหรอื กลอนประตู
อางลางมือ ท่ีวางสบู ขันนํ้า กอกน้ํา ผนัง ซอกประตูดวยผาชุบน้ํายาฟอกขาว หรือไฮโดรเจนเปอรออกไซด
0.5%
4.3) หลังทําความสะอาด ควรซักผาเช็ดทําความสะอาดและไมถูพื้น ดวยน้ําผสมผงซักฟอกหรือ
น้ํายาฆาเชอื้ แลวซกั ดวยนา้ํ สะอาดอกี ครง้ั และนาํ ไปผง่ึ แดดใหแหง
5) หองพกั ครู
5.1) จดั โตะ เกาอ้ี หรือทนี่ งั่ ใหมกี ารเวนระยะหางระหวางบคุ คล อยางนอย 1 - 2 เมตร โดยคาํ นงึ ถงึ
สภาพบริบทและขนาดพื้นที่ และจดั ทาํ สญั ลกั ษณแสดงจดุ ตาํ แหนงชัดเจน โดยถือปฏบิ ตั ติ ามหลัก Social
distancing อยางเครงครัด
5.2) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง ระบายอากาศ ทุก 1
ช่วั โมง และทาํ ความสะอาดอยางสมาํ่ เสมอ
5.3) ใหมีการทําความสะอาดโตะ เกาอ้ี อุปกรณ และจุดสัมผัสเสี่ยง เชน ลูกบิดประตู อุปกรณ
คอมพิวเตอร โทรศัพท เปนตน เปนประจาํ ทุกวนั อยางนอยวนั ละ 2 ครง้ั
5.4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอลใชทาํ ความสะอาดมือสาํ หรบั ครูและผูมาติดตอ บริเวณทางเขาดาน
หนาประตแู ละภายในหองอยางเพยี งพอและทัว่ ถึง
6) โรงอำหำร
6.1) จัดใหมอี างลางมอื พรอมสบู หรือ เจลแอลกอฮอลสําหรบั ใหบรกิ ารแกผูเขามาใชบริการ บริเวณ
กอนทางเขาโรงอาหาร
ห น้ า | 9
6.2) จัดทําสัญลักษณใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร ในพนื้ ที่ตาง ๆ เชน
ท่นี งั่ กนิ อาหาร จดุ รบั อาหาร
6.3) ทําความสะอาดสถานท่ีปรุง ประกอบอาหาร และพ้ืนท่ีบริเวณท่ีนั่งกินอาหารใหสะอาด ดวย
น้าํ ยาทาํ ความสะอาดหรอื ผงซกั ฟอก และจดั ใหมีการฆาเชือ้ ดวยโซเดยี มไฮโปคลอไรท
6.4) ทําความสะอาดโตะและที่นั่งใหสะอาด สําหรับน่ังกินอาหาร ดวยนํ้ายาทําความสะอาดหรือ
จัดใหมีการฆาเชือ้ ดวยแอลกอฮอล 70%
6.5) ทาํ ความสะอาดภาชนะ อุปกรณ และเคร่อื งใชใหสะอาด ดวยนํา้ ยาลางจาน
6.6) จัดทําปายนิเทศประชาสัมพันธใหความรูภายในโรงอาหาร เชน การสวมหนากากท่ีถูกวิธี
ขัน้ ตอนการลางมือที่ถกู ตอง การเวนระยะหางระหวางบุคคล เปนตน
ห น้ า | 10
สว่ นที่ 2
แนวปฏบิ ตั ิระหว่างเปดิ ภาคเรียน
ห น้ า | 11
แนวปฏิบตั ิระหวำ่ งเปดิ ภำคเรียน
ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ม า ต ร ก า ร ร ะ ห ว่ า ง เ ปิ ด เ รี ย น ต า ม ท่ี ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข แ ล ะ
กระทรวงศกึ ษาธิการกําหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพ่ือปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยคาํ นึงถงึ ความปลอดภยั ของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศกึ ษาสงู สุด
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จงึ ไดด้ าํ เนินการจัดทาํ และรวบรวมแนวปฏบิ ัตริ ะหวา่ งเปิดเรียน
เป็น ๒ กรณี ดังนี้
1. กรณีเปิดเรยี นไดต้ ำมปกติ (Onsite) สถำนศกึ ษำตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั นี้
มำตรกำร แนวทำงกำรปฏิบัติ
๗ มำตรกำรเขม้ งวด ๑) สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการ
ตดิ ตาม การประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid
2) ทํากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble
หลีกเล่ียงการทํากิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียนใน
หอ้ งเรยี นขนาดปกติ (๖ x ๘) ไมเ่ กนิ ๒๕ คน
หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อย
กว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดย
คณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวัด
3) จัดระบบการให้บริการอาหารสําหรับนักเรียน ครู
และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เช่น การ
จัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบ
อาหารหรือ การสั่งซ้ืออาหารตามระบบนําส่งอาหาร
(Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบ
ทางโภชนาการก่อนนํามาบริโภค ตามหลักสุขาภิบาล
อาหารและหลกั โภชนาการ
๔) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติ
ด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ใน
สถานศึกษาได้แก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การ
ทําความสะอาดคณุ ภาพน้ําดื่ มและการจัดการขยะ
๕) ให้นักเรียนท่ีมีความเส่ียงแยกกักตัวในสถานศึกษา
(School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ
รองรับการดูแลรักษาเบ้ืองต้น กรณีนักเรียน ครู หรือ
บุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเช้ือโรคโควิด
๑๙ หรือผล ATK เป็นบวกโดยมีการซักซ้อมอย่าง
เครง่ ครัด
อนำมัยสิ่งแวดลอ้ ม ห น้ า | 12
๖) ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจาก
สถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเล่ียง
การเข้าไปสัมผัสในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการ
เดินทาง
๗) ให้จัดให้มี School Pass สําหรับนักเรียน ครู และ
บุคลากรในสถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูล ผลการ
ประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน และประวัติ
การรบั วคั ซนี ตามมาตรการ
๑) กำรระบำยอำกำศภำยในอำคำร
- เปิดประตูหน้าตา่ งระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้
งาน อย่างน้อย ๑๕ นาที หนา้ ต่างหรอื ชอ่ งลม อย่าง
นอ้ ย ๒ ด้านของหอ้ ง ให้อากาศ ภายนอกถ่ายเทเขา้ สู่
ภายในอาคาร
- กรณีใชเ้ คร่อื งปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคาร
กอ่ นและหลงั การอย่างน้อย ๒ ช่วั โมง หรือเปิดประตู
หนา้ ต่างระบายอากาศชว่ งพัก เทีย่ งหรอื ช่วงที่ไม่มีการ
เรยี นการสอน กําหนดเวลาเปิด-ปิด เคร่ืองปรบั อากาศ
และทําความสะอาดสมํ่าเสมอ
๒) กำรทำควำมสะอำด
- ทาํ ความสะอาดวัสดสุ ง่ิ ของด้วยผงชักฟอกหรอื นาํ้ ยาทํา
ความ สะอาด และลา้ งมอื ดว้ ยสบู่และนํา้
- ทาํ ความสะอาดและฆ่าเช้อื โรคบนพืน้ ผิวท่วั ไป อุปกรณ์
สมั ผสั รว่ ม เช่น หอ้ งนาํ้ ห้องสว้ ม ลกู บดิ ประตู รีโมท
คอนโทรล ราวบนั ได สวติ ชไ์ ฟ (กดลิฟท์ จดุ นา้ํ ดม่ื เป็น
ต้น ดว้ ยแอลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆ่าเชอ้ื
โรคบนพน้ื ผวิ วัสดุแขง็ เช่น กระเบือ้ ง เซรา มกิ สแตน
เลส ดว้ ยนํา้ ยาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๐.๑%
นาน ๕-๑๐นาที อย่างนอ้ ยวันละ ๒ ครัง้ และอาจเพิ่ม
ความถตี่ าม ความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาท่มี ผี ใู้ ช้งาน
จํานวนมาก
๓) คณุ ภำพน้ำเพอ่ื กำรอุปโภคบริโภค
- ตรวจดคู ณุ ลักษณะทางกายภาพ สี กล่ิน และไม่มี
สิ่งเจอื ปน
- ดูแลความสะอาดจุดบริการน้าํ ด่ื มและภาชนะบรรจนุ ้าํ
ดมื่ ทุกวนั (ไม่ใช้แกว้ น้าํ ด่ืมรว่ มกนั เดด็ ขาด)
- ตรวจคณุ ภาพนาํ้ เพ่ือหาเชอื้ แบคทีเรยี ดว้ ยชุดตรวจ
ภาคสนาม ทุก ๖ เดือน
๔) กำรจัดกำรขยะ
กำรใช้อำคำร ห น้ า | 13
สถำนที่ของสถำนศกึ ษำ
- มกี ารคัดแยกลดปรมิ าณขยะ ตามหลกั 3R (Reduce
Reuse Recycle)
- กรณีขยะเกดิ จากผสู้ มั ผสั เสยี่ งสงู / กกั กนั ตวั หรอื
หนา้ กากอนามยั ที่ใช้แลว้ นําใส่ในถังขยะปิดให้มิดชดิ
การฝึกอบรม หรือการทาํ กิจกรรมใด ๆ ท่มี ผี เู้ ขา้ ร่วม
จํานวนมาก สถานศึกษา หรือผูข้ ออนุญาต ต้องจัดทาํ
มาตรการเพ่อื เสนอต่อ คณะกรรมการโรคตดิ ต่อ
กรงุ เทพมหานครหรือ คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั
จะพจิ ารณารว่ มกับ ผแู้ ทนกระทรวงศึกษาธกิ าร เมอ่ื
ไดร้ บั อนญุ าตแล้วจงึ จะดาํ เนนิ การได้ โดยมี แนวปฏิบัติ
ดังน้ี
๑. แนวปฏิบัตดิ ำ้ นสำธำรณสขุ
๑) กําหนดจดุ คัดกรองช่องทางเขา้ ออก หากพบว่ามไี ข้
ไอ จาม มีนํ้ามูกหรือ เหน่อื ยหอบ หรอื มีอุณหภูมิร่างกาย
เทา่ กับหรือมากกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขนึ้ ไป แจง้ งด
ใหเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม และแนะนาํ ไปพบแพทย์ และอาจมี
หอ้ งแยก ผู้ท่ีมอี าการออกจากพืน้ ท่ี
๒) ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม และผมู้ าติดต่อ ต้องสวมหน้ากาก
ผา้ หรือหนา้ กาก อนามัย ตลอดเวลาทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรม
3) จดั ใหม้ เี จลแอลกฮอล์ หรือ จุดลา้ งมือ สําหรับทํา
ความสะอาดมือไว้ บรกิ าร บริเวณต่าง ๆ อยา่ งเพียงพอ
เช่น บริเวณหน้าหอ้ งประชุม ทางเข้าออก หนา้ ลฟิ ต์ จุด
ประชาสมั พันธ์ และพน้ื ที่ท่ีมีกิจกรรมอน่ื ๆ เป็นตน้
4) จัดบรกิ ารอาหารในลักษณะท่ี ลดการสัมผัสอุปกรณ์ที่
ใชร้ ว่ มกนั เช่น จัดอาหารวา่ งแบบกลอ่ ง (Box Set)
อาหารกลางวันในรูปแบบอาหารชุดเดย่ี ว (Course
Menu)
5) กรณีท่มี ีการจัดให้มีรถรบั ส่งผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม ใหเ้ วน้
ระยะหา่ ง ๑ ท่ีนง่ั ทํา ความสะอาดรถรับส่งทุกรอบหลัง
ให้บรกิ าร
6) กํากับใหน้ ักเรยี นน่งั โดยมีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งที่
นั่ง และทางเดิน อยา่ งน้อย ๑.๕ เมตร
7) จดั ใหม้ ีถังขยะทีม่ ฝี าปดิ เก็บรวบรวมขยะ เพื่อส่งไป
กําจัดอยา่ งถูกตอ้ ง และการจัดการขยะท่ีดี
8) จัดใหม้ ีการระบายอากาศภายในอาคารทีด่ ี มกี าร
หมนุ เวียนของอากาศ อย่างเพียงพอ ทัง้ ในอาคารและ
ห น้ า | 14
ห้องสว้ ม และทําความสะอาด เครอื่ งปรับอากาศ
สมาํ่ เสมอ
9) ให้ทําความสะอาดและฆ่าเชื้อทั่วทั้ งบริเวณ และเนน้
บริเวณที่มักมกี าร สมั ผัส หรือใชง้ านร่วมกนั บอ่ ย ๆ ดว้ ย
นา้ํ ยาฟอกขาวที่เตรยี มไว้ หรอื แอลกฮอล์ 70% หรอื
ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% เชด็ ทาํ ความสะอาดและ
ฆา่ เช้อื อย่างนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง ทําความสะอาดห้องสว้ ม
ทุก 2 ช่ัวโมงและอาจเพิ่ม ความถต่ี ามความเหมาะสม
โดยเฉพาะเวลาที่มีผู้ใช้งานจาํ นวนมาก
10) มมี าตรการติดตามขอ้ มูลของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม เช่น
การใช้แอปพลเิ คชนั หรือใชม้ าตรการควบคุมการเขา้
ออกดว้ ยการบันทึกข้อมูล
11) มกี ารจัดการคุณภาพเพ่ือการนา้ํ อปุ โภคบริโภคท่ี
เหมาะสม
- จดั ให้มจี ดุ บรกิ ารนํา้ ดม่ื 1 จุด หรือหัวก๊อกต่อผบู้ ริโภค
75 คน
- ตรวจสอบคุณภาพน้าํ ดื่มน้ําใช้
- ดูแลความสะอาดจดุ บรกิ ารนํ้าดม่ื ภาชนะบรรจนุ ้ําดื่ม
และใช้แกว้ นํา้ ส่วนตวั
๒. แนวทำงปฏบิ ัตสิ ำหรับผจู้ ัดกิจกรรม
1) ควบคุมจาํ นวนผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ไม่ให้แออัด โดยคดิ
หลักเกณฑ์จํานวน คนต่อพน้ื ท่ีจดั งาน ไมน่ ้อยกวา่ ๔
ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพมิ่ พื้นที่ ทางเดนิ ใหม้ ี
สัดสว่ นมากขนึ้
๒) จํากดั จาํ นวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม และกระจายจดุ
ลงทะเบียนให้เพยี งพอ สาํ หรับผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม เพ่ือลด
ความแออดั โดยอาจใช้ระบบการประชุมผา่ น สื่อ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ใช้การสแกน QR Code ในการ
ลงทะเบยี นหรือตอบ แบบสอบถาม
๓) ประชาสมั พันธม์ าตรการ คาํ แนะนําในการป้องกนั
การแพรร่ ะบาดให้แก่ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมทราบ
๓. แนวทำงปฏบิ ตั สิ ำหรับผเู้ ข้ำร่วมกิจกรรม
๑) สงั เกตอาการตนเองสมํ่าเสมอ หากมไี ข้ ไอ จาม มี
นํ้ามกู หรอื เหน่ือยหอบ ให้งดการเขา้ รว่ ม กจิ กรรมและ
พบแพทย์ทนั ที
ห น้ า | 15
๒) สวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั เวน้ ระยะห่าง
ระหวา่ งบคุ คลอยา่ ง น้อย ๑ - ๒ เมตร งดการรวมกลุ่ม
และลดการพดู คยุ เสยี งดัง
๓) ล้างมอื ดว้ ยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ ก่อนและ
หลงั ใชบ้ ริการ หรือ หลงั จากสัมผสั จดุ สัมผัสรว่ มหรือ
ส่ิงของ เครื่องใช้ เม่ือกลับถึงบ้านควรเปล่ยี น เส้ือผ้าและ
อาบนาํ้ ทนั ที
๔) ปฏิบตั ติ ามระเบียบของสถานท่ี อยา่ งเคร่งครัด และ
ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ สุขอนามัยสว่ นบุคคลอยา่ งเขม้ ข้น
ได้แก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการ
เสรมิ (SSET-CQ)
2. กรณโี รงเรยี นไม่สำมำรถเปิดเรยี นได้ตำมปกติ
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) ซ่ึงสถานศกึ ษาไม่สามารถเปิดเรยี นได้ตามปกติ เพ่ือให้ผู้เรยี นไดร้ ับการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง สถานศึกษาจึง
ควรเลือกรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) โดยพิจารณารูปแบบให้มี ความเหมาะสม
และความพรอ้ มของสถานศกึ ษา ดังน้ี
1) กำรเรียนผ่ำนโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ท่ีใช้สื่อวีดิทัศน์การเรียนการสอนข อง มูลนิธิ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ตงั้ แต่ช้ันอนุบาลปที ี่ ๑ ถึงชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ และใช้
ส่อื วีดทิ ศั นก์ ารเรียนการสอนของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ ถึงชนั้
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖
๒) กำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ
แอปพลิเคชั่น การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สําหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น
คอมพิวเตอร์ แทบ็ เลต็ โทรศพั ท์ และมกี ารเช่ือมตอ่ สัญญาณอินเทอรเ์ น็ต
๓) กำรเรียนผ่ำนหนังสือ เอกสำรและใบงำน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณีที่
นักเรียนมีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศึกษาจัดทําแบบฝึกหัด
หรือให้การบ้านไปทําทบ่ี า้ น อาจใชร้ ่วมกบั รูปแบบอ่ืน ๆ ตามบริบทของทอ้ งถน่ิ
4) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ (ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV
(www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน
หรือ แท็บเล็ต
ห น้ า | 16
ห น้ า | 17
สว่ นท่ี 3
แผนกำรเชญิ เหตุ
ห น้ า | 18
แผนการเผชิญเหตุ
แผนการเผชิญเหตุ โรงเรียนบ้านปางหินฝนจัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการ
ซักซ้อมอย่างเคร่งครัด สม่าเสมอ หากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่าเป็นกลุ่มเส่ียงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อม
ในเร่ืองสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางกา ร
แพทย์ในพ้ืนที่ รวมทั้งการสร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน การคัดกรองเพ่ือแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรใน
สถานศึกษา ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการได้จัดท่าแผนการเผชิญเหตุในคู่มือการปฏิบัติ
ตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School รายละเอียด ดังนี้
ระดับกำรแพร่ระบำด มำตรกำรปอ้ งกัน
ในชุมชน ในสถำนศึกษำ ครู/นักเรียน สถำนศึกษำ
ไม่มีผตู้ ดิ เชื้อ ไมพ่ บผ้ตู ิดเช้อื ยนื ยนั ๑. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ ๑. เปิดเรียน Onsite
DMHTT ๒. ปฏิบตั ติ าม TST
๒. ประเมิน TST เป็น ๓. เฝ้าระวงั คดั กรอง
ประจาํ กรณีเด็ก พักนอน,เด็ก
พิเศษ
มีผตู้ ดิ เชอื้ ประปราย ไม่พบผตู้ ดิ เชือ้ ยืนยัน ๑. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ ๑. เปิดเรียน Onsite
DMHTT ๒. ปฏิบัติเขม้ ตาม
๒. ประเมิน TST ทุกวัน มาตรการ TST Plus
๓. เฝา้ ระวังคัดกรอง
กรณีเด็ก พักนอน,เด็ก
พเิ ศษ
พบผตู้ ิดเช้อื ยืนยนั ใน ๑. ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตาม ๑. ปดิ ห้องเรียนทพ่ี บผู้
หอ้ งเรยี น ๑
รายขึ้นไป มาตรการ DMHTT * ตดิ เชือ้ ๓ วัน เพื่อทาํ
เน้นใสห่ นา้ กาก *เวน้ ความสะอาด
ระยะห่างระหว่าง บุคคล ๒. เปดิ ห้องเรยี นอ่นื ๆ
๑ - ๒ ม. Onsite ได้ตามปกติ
๒. ประเมนิ TST ทกุ วนั ๓. ส่มุ ตรวจเฝา้ ระวงั
๓. ระบายอากาศทุก ๒ Sentinel
ช่วั โมง กรณีใช้ Surveillance
เครือ่ งปรบั อากาศ ทุก ๒ ครั้ง/สัปดาห์
๔. กรณี High Risk ๔. ปฏิบตั ิเข้มตาม
Contact : มาตรการ TST Plus
งดเรียน Onsite และ ๕. ปิดหอ้ งเรียนท่พี บผู้
กกั ตวั ท่บี ้าน ตดิ เชือ้ ๓ วัน เพ่ือทํา
ห น้ า | 19
๑๔ วัน ความสะอาดหรอื
๕. กรณี Low Risk มากกวา่ ตามข้อสัง่ การ
Contact : ของ
ใหส้ ังเกตอาการของ กระทรวงศึกษาธิการ
ตนเอง และปฏบิ ตั ิ ๖. ปฏบิ ตั ิเขม้ ตาม
ตามมาตรการของ มาตรการ TST Plus
กระทรวงสาธารณสขุ
มผี ตู้ ดิ เช้ือ เปน็ กล่มุ ๑. ปฏิบตั ิเข้มตาม ๑. พิจารณาการเปิด มผี ู้ตดิ เชื้อ เป็นกลมุ่
ก้อน
มาตรการ DMHTT * เรียน Onsite โดยเข้ม กอ้ น
มีการแพร่ ระบาดใน
ชุมชน เนน้ ใส่หนา้ กาก *เวน้ มาตรการทุกมติ ิ
ระยะหา่ งระหว่าง บคุ คล ๒. สาํ หรับพ้นื ท่ีระบาด
๑-๒ ม. แบบ กลุ่มก้อน พิจารณา
๒. ประเมิน TST ทกุ วัน ปิดโดย คณะกรรมการ
๓. ระบายอากาศทุก ๒ ควบคุม การแพร่ ระบาด
ชัว่ โมง กรณี ระดับพ้ืนที่ หากมี
ใชเ้ ครอื่ งปรบั อากาศ หลักฐานและความ
๔. กรณี High Risk จาํ เป็น
Contact : ๓. สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวัง
งดเรยี น Onsite และกัก Sentinel
ตัวทบี่ า้ น ๑๔ วนั Surveillance
๕. กรณี Low Risk ทุก ๒ สปั ดาห์
Contact :
ใหส้ งั เกตอาการของ
ตนเอง
๑. ปฏบิ ตั ิเข้มตาม ๑. พิจารณาการเปดิ มีการแพร่ ระบาดใน
มาตรการ DMHTT เรยี น Onsite โดย เข้ม ชมุ ชน
๒. เฝา้ ระวงั อาการเสย่ี ง ตามมาตรการทุกมิติ
ทกุ วัน Self ๒. สําหรบั พ้นื ทร่ี ะบาด
Quarantine แบบ กลมุ่ ก้อน พจิ ารณา
๓. ประเมิน TST ทุกวัน ปิดโดย คณะกรรมการ
ควบคมุ การแพร่ ระบาด
ระดบั พ้ืนท่ี หากมี
หลกั ฐานและความ
จาํ เป็น
๓. สุ่มตรวจเฝ้าระวงั
Sentinel
Surveillance ทุก ๒
สปั ดาห์
ห น้ า | 20
ส่วนที่ 4
แนวปฏิบัติสำหรับบุคลำกรและหน่วยงำนที่เก่ียวข้อง
ส่วนท่ี 5
แนวปฏบิ ัติสำหรบั บคุ ลำกรและหนว่ ยงำนทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ห น้ า | 21
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยังคงมกี ารแพร่ระบาด
อยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือให้สถานศกึ ษามแี นวทางการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) โรงเรยี นบ้านปางหนิ ฝนจึงกําหนดแนวทางปฏิบัติของบุคลากรและหน่วยงานที่ เก่ยี วข้อง ดังน้ี
1. แนวปฏิบตั สิ ำหรบั บคุ ลำกรในโรงเรยี น
1.1 ผ้อู ำนวยกำรโรงเรยี น
1.1.1 ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิพร้อมทั้งจัดตัง้ คณะทํางานดําเนนิ การป้องกันการแพรร่ ะบาด
ของโรคโควดิ -19
1.1.2 ทบทวน ปรบั ปรงุ ซอ้ มปฏิบตั ิตามแผนฉุกเฉนิ ของสถานศกึ ษา
1.1.3 ให้มกี ารสื่อสารประชาสัมพนั ธก์ ารปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 เกี่ยวกบั นโยบาย มาตรการ การปฏิบัติ
ตน การจดั การเรียนการสอนให้กบั ผู้เก่ียวข้อง และลดการตีตราทางสังคม (Social stigma)
1.1.4 มีมาตรการคดั กรองสขุ ภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry)
1.1.5 ควรพจิ ารณาการจัดให้นกั เรยี นสามารถเขา้ ถึงการเรยี นการสอนที่มคี ุณภาพเหมาะสมตาม
บริบท ได้อยา่ งต่อเน่ือง รวมถงึ การติดตามกรณีนกั เรยี นขาดเรียน ลาป่วย
1.1.6 กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรอื ผ้ปู กครองอยูใ่ นกลมุ่ เสี่ยงหรอื ผูป้ ่วยยืนยันเข้ามาใน
สถานศึกษา ให้รีบแจง้ เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขในพ้ืนท่ี
3.1.7 มมี าตรการใหน้ ักเรียนไดร้ ับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นมตามสิทธิทีค่ วรได้รับ กรณพี บ
อยู่ในกลุม่ เสี่ยงหรอื กกั ตวั
1.1.8 ควบคุม กํากบั ติดตาม และตรวจสอบการดาํ เนนิ งานตามมาตรการอย่างเครง่ ครดั และต่อเน่ือง
1.2 ครูผู้ดูแลนักเรียน
1.2.1 ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ทเี่ ช่ือถือได้
1.2.2 สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ให้หยุดปฏิบตั ิงาน
และรบี ไปพบแพทย์ทันที
1.2.3 ปฏบิ ัติตามมาตรการการป้องกันโรคอยา่ งเครง่ ครัด ได้แก่ ล้างมือบ่อย ๆ สวมหน้ากากผ้าหรอื
หนา้ กากอนามยั และเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล หลีกเลย่ี งการไปในสถานทที่ ี่แออัดหรือแหล่งชุมชน
1.2.4 แจ้งผูป้ กครองและนักเรยี น ให้นาํ ของใชส้ ว่ นตัวและอปุ กรณป์ ้องกันมาใชเ้ ปน็ ของตนเอง
1.2.5 ส่ือสารความรคู้ าํ แนะนาํ หรือจดั หาสอ่ื ประชาสมั พันธใ์ นการป้องกันและลดความเสีย่ งจากการ
แพรก่ ระจายโรคโควิด-19
1.2.6 ทาํ ความสะอาดส่ือการเรยี นการสอนหรอื อุปกรณ์ของใช้ร่วมท่ีเป็นจดุ สัมผัสเสยี่ งทุกครงั้ หลงั
ใช้งาน
1.2.7 ควบคุมดแู ลการจดั ทีน่ ่ังภายในสถานทใ่ี นโรงเรียน ตามหลักการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล
อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร
1.2.8 ตรวจสอบ กํากบั ตดิ ตามการมาเรียนของนกั เรยี น
1.2.9 ตรวจคัดกรองสขุ ภาพทุกคนที่เข้ามาในสถานศึกษาตามข้ันตอน
3.2.10 สังเกตกลมุ่ นักเรียนท่ีมีปญั หาพฤติกรรม หรือนักเรยี นที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการท่ีครู
กาํ หนดเพือ่ ใหไ้ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื
1.2.11 สอื่ สารความรเู้ กีย่ วกบั ความเครยี ด กระบวนการการจัดการความเครียดใหแ้ กน่ ักเรยี นและ
บคุ ลากรในสถานศกึ ษา
ห น้ า | 22
1.3 นักเรียน
1.3.1 ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ที่เช่ือถือได้
1.3.2 สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอย่างหนง่ึ รบี แจง้ ครหู รือ
ผู้ปกครอง
1.3.3 มแี ละใชข้ องใชส้ ่วนตวั ไมใ่ ช้ร่วมกับผอู้ นื่
1.3.4 ปฏบิ ัติตามมาตรการการป้องกนั โรคอย่างเคร่งครัด ไดแ้ ก่ ล้างมือบอ่ ย ๆ สวมหนา้ กากผา้ หรอื
หนา้ กากอนามยั และเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล หลกี เลย่ี งการไปในสถานท่ที ่แี ออัดหรือแหล่งชมุ ชน
1.3.5 ดแู ลสขุ ภาพให้แข็งแรง ดว้ ยการกินอาหารปรุงสกุ รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผกั
ผลไม้ ออกกาํ ลังกาย และนอนหลบั ให้เพยี งพอ
1.3.6 กรณนี กั เรียนขาดเรยี นหรือถูกกักตวั ควรตดิ ตามความคืบหนา้ การเรยี นอยา่ งสมา่ํ เสมอ
1.3.7 หลีกเล่ียงการล้อเลียนความผิดปกติหรอื อาการไม่สบายของเพื่อน
1.4 ผปู้ กครอง
1.4.1ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ชอื่ ถือได้
1.4.2 สงั เกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ใหร้ บี พาไปพบ
แพทย์
1.4.3 จัดหาของใช้ส่วนตัวใหบ้ ุตรหลาน
1.4.4 จดั หาอุปกรณป์ ้องกันโรคและการล้างมอื กาํ กับให้บุตรหลานปฏบิ ัติตามมาตรการการป้องกัน
โรคอยา่ งเครง่ ครัด ได้แก่ ลา้ งมือบ่อย ๆ สวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย และเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล
หลีกเล่ียงการไปในสถานทที่ ่ีแออัดหรือแหล่งชุมชน
1.4.5. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จดั เตรียมอาหารปรงุ สกุ ใหม่
1.4.6 กรณีมีการจดั การเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครใู นการ
ดูแลจัดการเรยี นการสอนแกน่ กั เรยี น
1.5 แมค่ รัว ผจู้ ำหน่ำยอำหำร ผูป้ ฏิบัติงำนทำควำมสะอำด
1.5.1 ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค จากแหลง่ ข้อมูลทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้
1.5.2 สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ใหห้ ยดุ ปฏบิ ตั งิ าน
และรีบไปพบแพทยท์ ันที
1.5.3 ล้างมือบ่อย ๆ ก่อน – หลงั ปรุงและประกอบอาหาร ขณะจาํ หน่ายอาหาร หลังสมั ผัสสง่ิ สกปรก
1.5.4 ขณะปฏบิ ตั ิงานของผสู้ ัมผัสอาหาร ตอ้ งสวมหมวกคลมุ ผม ผา้ กันเป้อื น ถุงมือ สวมหน้ากากผา้
หรือหนา้ กากอนามยั และปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามัยสว่ นบคุ คลที่ถูกตอ้ ง
1.5.5 ปกปดิ อาหาร ใสถ่ ุงมอื และใชท้ ีค่ บี หยบิ จบั อาหาร
1.5.6 จัดเตรยี มอาหารปรงุ สุกใหม่ ให้นกั เรยี นกนิ ภายในเวลา 2 ช่ัวโมง
1.5.7 ผปู้ ฏิบัตงิ านทําความสะอาด ผปู้ ฏบิ ตั ิงานเกบ็ ขนขยะ ต้องใส่อุปกรณป์ ้องกนั ตนเองและปฏบิ ัติ
ตามข้นั ตอนการทาํ ความสะอาดให้ถูกต้อง
ห น้ า | 23
2. แนวทำงปฏบิ ัติของผูท้ ีเ่ ข้ำมำตดิ ต่อรำชกำร
2.1 ตรวจคดั กรองวัดไขแ้ ละอาการเสยี่ ง ป้องกนั การติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ จุด
ตรวจคัดกรองของโรงเรียน จัดท่ีนั่งรอกรณีวัดไข้ได้เกินกว่า 37.5 องศาเซลเซียส โดยให้พัก 5 – 10 นาที
กอ่ นวดั ไขซ้ ํ้า หากยังเกินให้น่ังรอจนกว่าครูอนามัยที่ไดร้ ับมอบหมาย มาดําเนนิ การวดั ไข้ด้วยปรอทอีกคร้ังหนึ่ง
หากยงั พบว่ามไี ข้ให้ครูอนามยั ประสานงานกับ เจ้าหนา้ ทสี่ ถานบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั ทันที
2.2 สแกน QR CODE ไทยชนะ เมื่อเขา้ -ออกโรงเรียน กรณีท่ีไม่มี Smart Phone ใหก้ รอกข้อมลู
การเข้า-ออกในแบบฟอรม์ ทีโ่ รงเรียนจัดทาํ ไว้
2.3 สวมใส่หน้ากากอนามยั หรอื หนา้ กากผา้ ตลอดเวลา
2.4 ลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์สบู่ตามจุดบรกิ ารในสถานศึกษาหากพบว่าเจลแอลกอฮอล์หรือสบู่ ณ
จดุ ใดหมด ให้แจ้งแม่บ้านหรอื ครูอนามัยท่หี อ้ งพยาบาลทนั ที
2.5 เวน้ ระยะหา่ งในการทํากิจกรรมทุกประเภท
2.6 ไมอ่ นญุ าตใหผ้ ูป้ กครองหรือผู้เขา้ มาตดิ ตอ่ ราชการทก่ี ลบั มาจากประเทศหรือจังหวดั ท่ยี งั มี การ
แพร่ระบาดในปจั จุบนั เขา้ มาในโรงเรียน โดยให้ตดิ ตอ่ ทางโทรศัพทข์ องโรงเรียนเท่าน้นั ยกเว้นไดผ้ า่ นการกักตัว
เกนิ กว่า 14 วัน และแสดงหนงั สอื รับรองผ่านการกกั ตัวเรียบรอ้ ยแล้ว
2.7 ปฏิบตั ิตามมาตรการและแนวทางป้องกันโรคติดตอ่ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของ
โรงเรยี นอยา่ งเครง่ ครัด
ห น้ า | 24
ห น้ า | 25
ห น้ า | 26
ห น้ า | 27
ห น้ า | 28
แบบประเมินตนเองตำมแอปพลเิ คชนั่ Thai Save Thai (TST)
ห น้ า | 29
ห น้ า | 30
กระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๖๔). คมู่ ือการปฏิบัติมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิด
เรยี นมนั่ ใจ ปลอดภยั ไร้โควดิ ๑๙ ในสถานศกึ ษา.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓), คู่มือการปฏบิ ตั ิสา่ หรบั สถานศึกษา ในการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด ๑๙. กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข.
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๖๔).ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรยี นหรอื
สถาบนั การศกึ ษาตามข้อกาหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบรหิ าร
ราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบบั ท่ี ๓๒) ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ กนั ยายน พ.ศ.
๒๕๖๔.เอกสารส่ิงพิมพ์.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓), คาแนะนาการปอ้ งกันควบคุมโรคไวรสั โคโรนา
สายพนั ธใ์ุ หม่ ๒๐๑๙ สาหรับสถานศกึ ษา สถานการณ์การระบาดในวงกวา้ ง ระยะเรม่ิ ต้น,
จาก https://ddc.moph.go.th/viraloneumonia/file/introduction/ introduction07_1.
กรมอนามัย.(๒๕๖๔). แนวทางการปฏิบตั ิด้านสาธารณสขุ เพอ่ื ห้องกันการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ฉบับท่ี ๑.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓), คาแนะนาการป้องกันตนเองและการปฏิบัติด้าน
สุขอนามยั ในสถานศกึ ษา ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ห น้ า | 31