The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการปฏิบัติงาน-ศยช.ตำบลอาซ่อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yala, 2022-05-23 21:25:36

รายงานผลการปฏิบัติงาน-ศยช.ตำบลอาซ่อง

รายงานผลการปฏิบัติงาน-ศยช.ตำบลอาซ่อง

รายงานการเรยี น (Coaching Techniques)
วนั ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ ถงึ วนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕

นางสาวปาตีฮะ๊ โซะตาเฮ

ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนตาบลอาซ่อง อาเภอรามนั จงั หวัดยะลา



คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียน (Coaching Techniques) จัดทาขึ้นเพ่ือรวบรวมและสรุป
เนื้อหาจากการเรียน ซ่ึงในรายงานฉบับน้ีประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับกระทรวงยุติธรรม สานักงานยุติธรรม
จังหวัดยะลา ศูนย์ยุติธรรมชุมชน พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติไกล่เกล่ีย
ข้อพิพาท พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยใน
คดอี าญา พ.ศ. 2544 และภารกจิ 5 ดา้ น ของสานกั งานยุติธรรมจังหวดั เป็นตน้

ผจู้ ัดทาต้องขอขอบคุณ ดร.อภิรัชศกั ดิ์ รชั นวี งศ์ ผู้อานวยการสานกั งานยุติธรรมจังหวัด และเจ้าหน้าที่
สานักงานยุติธรรมจังหวัดทุกท่านท่ีได้ให้ความรู้ ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาในการเรียนในครั้งนี้ ข้าพเจ้า
หวงั วา่ รายงายฉบบั นี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผูท้ ่ีสนใจตอ่ ไป หากรายงายฉบับนม้ี ีข้อผดิ พลาด หรือมีข้อบกพรอ่ ง
ประการใดกข็ ออภยั ไว้ ณ โอกาสนี้ดว้ ยค่ะ

ปาตีฮ๊ะ โซะตาเฮ
ผจู้ ัดทา



สารบญั

หนา้

คานา .............................................................................................................................................................. ก
สารบัญ ........................................................................................................................................................... ข
กระทรวงยตุ ธิ รรม (Ministry of Justice )......................................................................................................๑
สำนกั งำนยุติธรรมจงั หวดั ยะลำ .......................................................................................................................๒
งำนประชำสมั พันธ์..........................................................................................................................................๗
งานบรกิ ารประชาชน ......................................................................................................................................๗
พระรำชบญั ญัติกองทุนยตุ ิธรรม พ.ศ. 2558..................................................................................................๘
พระรำชบญั ญัติค่ำตอบแทนผู้เสยี หำย และค่ำทดแทนและค่ำใชจ้ ่ำยแก่จำเลยในคดอี ำญำ พ.ศ. 2544..........๙
พระรำชบัญญัติไกล่เกลย่ี ข้อพิพำท พ.ศ. 2562........................................................................................... ๑๒
ศูนยย์ ุติธรรมชมุ ชน ...................................................................................................................................... ๑๖
ยุติธรรมใส่ใจ (Justice Care ) ..................................................................................................................... ๒๗
คลินกิ ยตุ ธิ รรม.............................................................................................................................................. ๒๘
งำนรอ้ งเรยี นร้องทุกข์................................................................................................................................... ๒๗
กำรเย่ยี มญำติทำงจอภำพ ............................................................................................................................ ๒๘
งำนสำรบรรณ.............................................................................................................................................. ๓๐
อำ้ งองิ .......................................................................................................................................................... ๓๔
ประวัติผจู้ ดั ทำ.............................................................................................................................................. ๓๖

กระทรวงยุตธิ รรม (Ministry of Justice)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางประเภทกระทรวงของไทย
ซ่ึงมีภารกิจเป็นหน่วยงานหลักของกระบวนการยุติธรรม ในการดาเนินการเพื่อพัฒนากฎหมายและระบบ
บริหารจัดการของกระบวนการยุติธรรมอย่างเป็นเอกภาพ โปร่งใส คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ช่วยเหลือและให้ความรู้แก่ประชาชนทางกฎหมาย ป้องกัน ปราบปราม แก้ไข ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
รวมทั้งป้องกัน แก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคมและอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การฟื้นฟูกิจการของลูกหน้ี
การบงั คบั คดีแพง่ บงั คับคดลี ม้ ละลาย บงั คบั คดที างอาญาและบาบัดแก้ไขฟน้ื ฟูผ้กู ระทาผดิ

กระทรวงยุตธิ รรมก่อตง้ั เมือ่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชอ่ื วา่ กระทรวงยุติธรรม และมีการเปลีย่ น
ช่ือเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2495 มีพระดุลยพากย์สุวมัณฑ์ (ปิ่ณฑ์ ปัทมสถาน) เป็น
ปลัดกระทรวงยุติธรรมคนสุดท้าย ดารงตาแหน่งวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2492 ถึง 11 มีนาคม พ.ศ. 2495
และเป็นปลัดกระทรวงยุติธรรมคนแรกดารงตาแหน่งระหว่างวันท่ี 12 มีนาคม พ.ศ. 2495 ถึง วันท่ี 22
มีนาคม พ.ศ. 2496 และในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2496 ได้มีการโปรดเกล้าสัญญาธรรมศักด์ิเป็น
ปลัดกระทรวงคนที่สอง ต่อมาในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559
มีผลใช้บังคับ ส่งผลให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานคณะกรรมการคุมประพฤติ
ปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็นรองประธานกรรมการคุมประพฤติ

1. หน่วยงานในสังกัดของกระทรวงยตุ ิธรรม
สว่ นราชการ
1. สานกั งานรฐั มนตรี
2. สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
3. กรมบังคับคดี
4. กรมคุมประพฤติ
5. กรมราชทณั ฑ์
6. กรมสอบสวนคดพี ิเศษ
7. กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
8. กรมพินิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน
9. สานักงานกจิ การยุตธิ รรม
10. สถาบนั นิตวิ ิทยาศาสตร์

หนว่ ยงานในบงั คบั บัญชารฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม
สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (สานักงาน ป.ป.ส.)



องค์การมหาชน
1. สถาบันเพือ่ การยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนตาม
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542
2. สถาบนั อนุญาโตตุลาการ เป็นองค์การมหาชนตามพระราชบญั ญัตเิ ฉพาะ

สานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ยะลา

สานักงานยุติธรรมจังหวดั เป็นหน่วยงานท่ีอยู่ภายในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ในฐานะผู้แทน
กระทรวงยุติธรรมและสานักงานปลดั กระทวงยุติธรรมและทาหนา้ ท่ีในการบริหารจัดการกระบวนการยุตธิ รรม
ที่เก่ียวข้องในระดับจังหวัด รวมทั้งดาเนินการระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ซึ่งได้ดาเนินการ
จัดตง้ั มาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2548 ในทกุ จงั หวดั (78 จงั หวดั ) ต่อมาไดม้ ีการจัดต้งั สยจ.สาขาขน้ึ ต้งั แต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2559 จานวน 5 สาขา ได้แก่ สยจ.เชียงใหม่ สาขาฝาง สยจ.สุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย สยจ.ยะลา
สาขาเบตง สยจ.ตาก สาขาแม่สอด และสยจ.สรุ ินทร์ สาขารัตนบุรี และไดจ้ ัดตั้ง สยจ.บงึ กาฬ ขึน้ มาในภายหลัง

ต่อมาปี พ.ศ. 2563 ได้มีหนังสือเรื่องการบริหารสานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลาและสานักงาน
ยุติธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สานักงานยุติธรรมสุราษฎร์ธานี สานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา มีอานาจใน
การบริหารงานและการบังคับบัญชาพนักงานราชการและลูกจ้างชั่วคราว รวมถึงการบริหารงบประมาณ
การคลงั และพสั ดุของสานักงานยตุ ิธรรมจังหวดั สาขาในพน้ื ท่ี

1. สานกั งานยตุ ิธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง ส่งมอบงานให้สานักงานยตุ ิธรรมจังหวัดเชียงใหม่
2. สานักงานยุติธรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย ส่งมอบงานให้สานักงานยุติธรรมจังหวัด
สุราษฎรธ์ านี
3. สานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ยะลา สาขาเบตง ส่งมอบงานให้สานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ยะลา
สานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา จัดต้ังข้ึนตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานปลัด
กระทรวงยุติธรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับลงวันท่ี ๒๖ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยไดก้ าหนดให้มีสานกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวัด ๑-๑๘ เป็นราชการบริหารส่วนภมู ิภาคและตอ่ มาได้มี
ประกาศสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เรื่อง การกาหนดท่ีตั้งของสานักงานยุติธรรมจังหวัด ๑-๑๘
พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับลงวันท่ี ๓๑
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๑๘ กาหนดที่ตั้งสานักงานยุติธรรมจังหวัด ๑๘ ให้ตั้งอยู่ ณ จังหวัดยะลา มีหน้าท่ี
และอานาจในจังหวดั ยะลา



1. อานาจหนา้ ทขี่ องสานักงานยุตธิ รรมจังหวดั ยะลา
1. จัดทาแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงยุติธรรมในระดับจังหวัดให้สอดคล้องกับ

แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีของกลมุ่ จงั หวัด รวมทงั้ คาของบประมาณจงั หวดั และงบประมาณกล่มุ จังหวัด

2. พัฒนาและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในภารกิจของกระทรวงยุติธรรม
ศูนย์ยุติธรรมชมุ ชนและเครอื ขา่ ยกระทรวงยตุ ธิ รรม

3. ดาเนินงานกองทุนยุติธรรมและงานช่วยเหลือประชาชนท่ีตกเป็นเหย่ืออาชญากรรม
รวมทั้งจาเลยท่ีถูกดาเนินคดีอาญาโดยมิได้เป็นผู้กระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยค่าตอบแทนผู้เสียหาย
และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญาในระดับจังหวัด เพื่อให้เกิดการอานวยความยุติธรรม
และลดความเหลือ่ มล้าในการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน

4. ดาเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรม
ระดบั จังหวดั และคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการดังกล่าวแต่งตั้ง

5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือ
ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

2. หนว่ ยงานในสังกดั ของสานกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั ยะลา
สานกั งานยตุ ิธรรมจงั หวดั ยะลามีหน่วยงานในสงั กดั ทัง้ หมด 9 แห่ง ไดแ้ ก่
1. สานกั งานคุมประพฤติจังหวัดยะลา
2. สานกั งานบังคับคดีจังหวดั ยะลา
3. เรือนจากลางยะลา
4. สถานพินิตและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจังหวัดยะลา
5. ศนู ยฝ์ กึ และอบรมเด็กและเยาวชนเขต 9
6. เรอื นจาอาเภอเบตง
7. สานกั งานบังคบั คดีจงั หวัดยะลา สาขาเบตง
8. สานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวัดสาขาเบตง
9. สานกั งานยุติธรรมจังหวดั ยะลา


3. โครงสร้างสานักงานยตุ ิธรรมจังหวัดยะลา

สานกั งานยุติธรรมจงั หวดั ยะลา

ฝา่ ยอานวยการ กลมุ่ อานวยความยุติธรรม กลมุ่ พฒั นาและสง่ เสริม
และนติ ิการ ระบบงานยุติธรรม
- นกั จัดการงานทั่วไปปฏบิ ัตกิ าร
- นกั วิชาการเงนิ และบัญชี - นกั วิชาการยุติธรรมชานาญการ - นักวิชาการยุติธรรมชานาญการ
- นกั วชิ าการยตุ ธิ รรม พิเศษ - นักวชิ าการยุติธรรมชานาญการ
- พนกั งานขับรถยนต์ - นักวชิ าการยุตธิ รรมชานาญการ - นักวิชาการยตุ ิธรรม
- พนกั งานทาความสะอาด - นติ กิ ร
- พนักงานรกั ษาความปลอดภัย - พนกั งานคุ้มครองสิทธิและ
เสรีภาพ
- นกั วิชาการยตุ ธิ รรม
- นกั บริหารจดั การงานยุติธรรม

3.1 ฝ่ายอานวยการ
ฝ่ายอานวยการ มีอานาจหนา้ ท่ี
- รบั ผดิ ชอบเกีย่ วกับงานเลขานกุ ารของยตุ ิธรรมจงั หวดั
- งานธรุ การทวั่ ไป
- งานบริหารงานบคุ คล
- งานการเงิน งานงบประมาณ งานพสั ดุ อาคารสถานที่และยานพาหนะ
- งานประสัมพนั ธ์
- งานศูนยบ์ ริการขอ้ มลู กระทรวงยตุ ิธรรม
- งานประสานและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม

ทีไ่ ม่มหี นว่ ยงานในจังหวัด
- งานกรรมการจงั หวดั ในฐานะผู้แทนกระทรวงยตุ ิธรรม
- งานสนับสนุนการตรวจราชการของกระทรวงยุติธรรมและส่วนราชการสังกัด

กระทรวงยุตธิ รรมและอื่นๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย



งานทฝี่ า่ ยอานวยการต้องรบั ผดิ ชอบ มีดังน้ี
1. งานสารบรรณ

1.1 งานรับ-สง่ และลงทะเบียนหนงั สอื ราชการ
1.2 งานคัดแยกหนังสือและการเสนอหนังสือ
1.3 งานรา่ งโต้ตอบหนังสอื ราชการ
1.4 งานเกบ็ รักษา ยืม และทาลายหนังสือราชการ
1.5 งานแจ้งเวียนหนังสือราชการ คาสั่ง ประกาศ ให้หน่วยงานและผู้เก่ียวข้องรับทราบ
เพื่อถือปฏบิ ตั ิ
1.6 งานค้นหาเอกสารต่างๆ ใหก้ ับงานตา่ งๆ ในฝา่ ย/กลมุ่
1.7 งานลงเวลาและตรวจสอบการปฏิบัติราชการ
1.8 งานเดนิ หนังสือ
1.9 การจดั ทาคาสั่งเวรรักษาการณ์
2. งานเอกสารการพิมพ์
2.1 การพิมพ์หนังสอื ราชการ
2.2 การพิมพแ์ บบฟอร์มต่างๆ
2.3 การทาสาเนาหนังสือ เช่น ถา่ ยเอกสาร อัดสาเนา
2.4 การเรียบเรยี งและจัดทารปู เล่ม
2.5 การจดั พิมพค์ าส่งั
3. งานประชมุ
3.1 การจัดทาหนังสือเชญิ ประชมุ และเชญิ ประชมุ
3.2 การประสานด้านสถานที่และอาหารในการประชมุ
3.3 การจัดเตรยี มเอกสารในการประชุม
3.4 การบนั ทึกการประชุม
3.5 การจดั ส่งรายงานกรประชุม
4. งานประชาสัมพันธ์
4.1 การนาเสนอขอ้ มลู ข่าวสารผ่านเฟสบ๊คุ line
4.2 การประสานงานกบั หนว่ ยงานภายในและภายนอกในการประชาสัมพนั ธ์
5. งานพสั ดุ
5.1 งานประสานการจดั ซือ้ จัดจา้ ง
5.2 งานทะเบยี นคุมพัสดุและรายงานการเบกิ จา่ ยพสั ดุ
5.3 งานเบกิ จา่ ยพสั ดุ



6. งานการเงิน
6.1 การเบิกจ่ายงบประมาณต่างๆ ของสานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา เชน่ ค่าพัสดุ ค่าจ้าง

และค่าตอบแทน
6.2 การเบิกจ่ายค่าตอบแทนอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

7. งานงบประมาณ
7.1 การจดั ทาคาขอตั้งงบประมาณ
7.2 การจัดทาแผนการใช้จา่ ย
7.3 การควบคมุ ดูแลและกากบั การเบิกจ่ายงบประมาณ

8. งานบุคคล
8.1 การบรหิ ารและพัฒนาระบบบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลของสานกั งานยุตธิ รรมจงั หวัดยะลา
8.2 การเลอื่ นขน้ั เงินเดือน
8.3 การสรรหา บรรจุ แตง่ ตง้ั โอน ยา้ ยสบั เปลีย่ นและการให้ออกจากราชการ
8.4 จัดทาทะเบยี นประวัติและข้อมลู บคุ คล
8.5 การประเมินประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลการปฏบิ ตั งิ าน
8.6 การพจิ ารณาบาเหนจ็ ความชอบ เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์
8.7 การเกษยี ณอายุ บาเหนจ็ บานาญ สทิ ธทิ ดแทน
8.8 การดาเนนิ การทางวนิ ยั และพิทกั ษ์ระบบคณุ ธรรม

3.2 กล่มุ อานวยความยตุ ธิ รรมและนติ ิการ
กลมุ่ อานวยความยตุ ิธรรมและนิตกิ าร มีอานาจหน้าที่
- มีหน้าที่ความรับผิดชอบเก่ียวกับการประสานให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านกฎหมาย

และกระบวนการยุตธิ รรม
- งานค้มุ ครองสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน
- งานเสริมสร้างความเป็นธรรมและอานวยความยุติธรรมท่ีได้รับมอบหมายจากส่วนราชการ

สังกดั กระทรวงยตุ ธิ รรมทีไ่ มม่ หี นว่ ยงานในจังหวัด
- ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานนิติการท่ีอยู่ในอานาจหน้าท่ีของสานักงานยุติธรรมจังหวัดและอ่ืนๆ

ที่ไดร้ ับมอบหมาย

3.3 กลมุ่ พฒั นาและส่งเสริมระบบงานยตุ ธิ รรม
กลมุ่ พัฒนาและส่งเสริมระบบงานยตุ ิธรรม มอี านาจหน้าท่ี
- รบั ผิดชอบเกีย่ วกับการพัฒนาและส่งเสริมระบบงานยตุ ิธรรมในจังหวดั
- งานพัฒนาและสง่ เสรมิ งานยตุ ธิ รรมทางเลือก
- งานจดั ทาและบริหารแผนปฏบิ ตั ิราชการของกระทรวงยตุ ธิ รรมระดบั จงั หวัด



- งานติดตามและประเมิลผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม
ระดับจังหวัด

- งานจัดทาและพัฒนาระบบฐานข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริ หารและ
การวางแผนของหน่วยงาน

- งานจัดการความรใู้ นหน่วยงาน
- งานจัดทาแผนและโครงการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม
ในจงั หวัด
- งานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการประสานและขับเคล่ือนกระบวนการยตุ ิธรรมระดับจงั หวดั
- งานคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการในฐานะผู้แทนกระทรวงยุติธรรม
และงานอืน่ ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย

งานประชาสมั พนั ธ์
การประชาสัมพนั ธ์ของสานักงานยตุ ธิ รรมชุมชนในพ้ืนท่จี ังหวัดยะลามีท้ังหมด 2 แบบ ได้แก่
1. การประชาสัมพนั ธ์แบบออนไลน์ เปน็ การประชาสมั พนั ธท์ ่ีนาข้อมูลจากเพจของสานกั งาน

ยุติธรรมจังหวัด หรือนาข้อมูลจากแอพพลิเคช่ัน Justice Care โดยจะนาข้อมูลเหล่าน้ันไปโพส หรือแชร์ลงใน
กลมุ่ ต่างๆ เพ่อื ให้ประชาชนหรอื ผูท้ ส่ี นใจรบั ทราบข้อมูลดงั กลา่ ว

2. การประชาสัมพันธ์เชิงลงพื้นท่ี เป็นการประชาสัมพันธ์ที่ต้องลงพื้นท่ีแต่ละหมู่บ้าน
หรือการนาโพสเตอรไ์ ปประชาสมั พันธท์ รี่ ้านตา่ งๆ เชน่ ร้านนา้ ชา ร้านขายของชา และรา้ นอาหาร เป็นต้น

ชอ่ งทางการประชาสัมพนั ธข์ องสานักงานยุตธิ รรมจงั หวดั ยะลา มดี งั น้ี
- การประชาสัมพนั ธ์ทางเพจของสานักงานยุตธิ รรมจังหวดั ยะลา
- การประชาสมั พนั ธ์ทาง Line
- การประชาสัมพันธท์ าง สวท. ยะลา
- การประชาสมั พันธ์ทาง Face book

งานบรกิ ารประชาชน
สานักงานยุตธิ รรมจงั หวัดยะลามกี ารให้บรกิ ารประชาชนในเรื่องตอ่ ไป
1. กองทนุ ยุติธรรม
2. พระราชบัญญตั คิ ่าตอบแทนผ้เู สียหายและค่าตอบแทนและค่าใชแ้ ก่จาเลยในคดีอาญา
3. ใหค้ าปรึกษาด้านกฎหมาย
4. คมุ้ ครองพยาน
5. การรอ้ งทุกข์
6. เย่ยี มผู้ตอ้ งขังผ่านจอ



พระราชบญั ญัติกองทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558
พระราชบญั ญัติกองทนุ ยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2558 มสี าระสาคัญ ดังนี้
1. คาจากัดความ
“กองทุน” หมายความว่า กองทุนยตุ ิธรรม
“คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการกองทุนยุติธรรม
“กองทุนยุติธรรม” เป็นกองทุนที่จัดต้ังข้ึนเพ่ือเป็นแหล่งเงินทุนสาหรับใช้จ่ายเก่ียวกับ

การช่วยเหลือประชาชนในการดาเนินคดี การขอปล่อยช่ัวคราวผู้ต้องหาหรือจาเลย การถูกละเมิด
สิทธิมนุษยชนและการใหค้ วามร้ทู างกฎหมายแก่ประชาชน

2. การใหค้ วามชว่ ยเหลือของกองทนุ ยตุ ิธรรม
“กองทุนยุติธรรม” ให้ความชว่ ยเหลอื 4 กรณี ดังน้ี
1. การให้ความช่วยเหลือประชาชนในภาคการดาเนินคดี เช่น ค่าจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียม

ศาล หรอื ค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
2. การปลอ่ ยชวั่ คราวผตู้ อ้ งหาหรือจาเลย เช่น ค่าใช้จา่ ยในการประกันตัว เป็นตน้
3. การช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟืน้ ฟูร่างกายจิตใจ ค่าขาดรายได้ ค่าเสยี หายจากการถูกละเมิด เป็นต้น
4. การสนับสนุนโครงการใหค้ วามรทู้ างกฎหมายแกป่ ระชาชน เช่น คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดทาโครงการ

ใหค้ วามรกู้ ฎหมายแก่ประชาชน เปน็ ตน้

3. กองทนุ ประกอบด้วยเงนิ และทรัพย์สนิ ดังตอ่ ไปน้ี
1. เงนิ หรือทรัพย์สนิ ทไ่ี ด้รบั โอนมาตามมาตรา ๔๐
2. เงินอุดหนนุ ทไ่ี ด้รบั จากรัฐบาลหรือเงินท่ีไดร้ ับจากงบประมาณรายจา่ ยประจาปี
3. เงินทีไ่ ดร้ ับตามมาตรา ๘
4. เงนิ หรือทรพั ยส์ ินที่มีผู้บริจาคให้แก่กองทนุ
5. ดอกผลของเงินหรอื ทรัพย์สนิ ของกองทุน
6. เงินหรือทรพั ยส์ นิ อน่ื ใดที่กองทนุ ได้รับไม่ว่ากรณีใด
เงนิ และทรัพยส์ ินของกองทนุ ไมต่ ้องสง่ คลงั เป็นรายได้แผ่นดนิ

4. คดที กี่ องทนุ ยตุ ธิ รรมใหค้ วามชว่ ยเหลือ
คดีท่ีกองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลือ ได้แก่ คดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครอง คดีเยาวชน

และครอบครวั คดีศาลชานัญพิเศษและคดอี น่ื รวมถึงการบงั คบั คดี
การขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม กรณีผู้ขอรับความชว่ ยเหลืออยู่ในกรุงเทพมหานคร

ให้ไปขอรับความช่วยเหลือท่ี “สานักงานกองทุนยุติธรรม” ในกรณีจังหวัดอื่นๆ ให้ไปขอรับความช่วยเหลือท่ี
“สานักงานยตุ ิธรรมจังหวัด” ซึ่งมอี ยูท่ กุ จังหวัด



พระราชบัญญตั ิคา่ ตอบแทนผเู้ สียหาย และค่าทดแทนและค่าใชจ้ ่ายแก่จาเลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544
สาระสาคัญพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา

พ.ศ. 2544 มีดงั นี้
1. คาจากดั ความ
“ผู้เสียหาย” หมายความว่า บุคคลซ่ึงได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิตหรือร่างกายหรือจิตใจ

เนือ่ งจากการกระทาความผิดอาญาของผู้อื่น โดยตนมิไดม้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ งกับการกระทาความผดิ นน้ั
“จาเลย” หมายความว่า บคุ คลซง่ึ ถกู ฟ้องต่อศาลวา่ ได้กระทาความผดิ อาญา
“ค่าตอบแทน” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเพ่อื ตอบ

แทนความเสียหายท่เี กิดข้นึ หรือเนื่องจากมีการกระทาความผิดอาญาของผู้อน่ื
“ค่าทดแทน” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดที่จาเลยมีสิทธิได้รับเนื่องจาก

เป็นจาเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดีและมีคาพิพากษาถึงท่ีสุดในคดีนั้นฟังเป็นยุติว่า
จาเลยมิไดเ้ ป็นผูก้ ระทาความผดิ หรือการกระทาความผดิ ของจาเลยไมเ่ ปน็ ความผดิ

การให้ความช่วยเหลือของพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย
แกจ่ าเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 โดยจะให้ความชว่ ยเหลือทางการเงนิ แก่บุคคล 2 ประเภท ได้แก่

1. ผเู้ สยี หายในคดอี าญา
2. จาเลยในคดีอาญา

2. ผูเ้ สยี หายท่ีมีสิทธไิ ด้รับคา่ ตอบแทนตามพระราชบัญญัตนิ ี้ต้องมลี ักษณะดังต่อไปน้ี
1. เป็นบุคคลซึ่งได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกายหรือจิตใจ เน่ืองจากการกระทาความผิด

อาญาของผู้อ่นื
2. ต้องเปน็ ความเสยี หายที่เกิดจากการกระทาความผดิ ทางอาญาของบคุ คลอ่นื
3. ผูท้ ไ่ี ด้รบั ความเสียหายต้องไม่มีส่วนรว่ มในการกระทาความผดิ น้ัน
4. ความผิดน้นั ตอ้ งเปน็ ความผิดตามรายการท่ีระบุไว้ท้ายพระราชบญั ญัตินเ้ี ท่าน้ัน ซ่ึงไดแ้ ก่
- ความผิดเก่ียวกับเพศ (มาตรา 276 – 287)
- ความผดิ ตอ่ ชีวติ (มาตรา 288 – 294)
- ความผดิ ต่อร่างกาย (มาตรา 295 – 300)
- ความผดิ ฐานทาใหแ้ ท้งลูก (มาตรา 301- 305)
- ความผิดฐานทอดทิง้ เด็ก คนป่วย หรือคนชรา (มาตรา 306- 308)

3. วธิ กี ารยน่ื และระยะเวลาในการยื่นคาขอรับสิทธก์ิ รณีผู้เสยี หาย
1. ผู้เสียหาย ทายาทของผู้เสียหายหรือผู้รับมอบอานาจสามารถยื่นเร่ืองขอรับสิทธิ์ได้ท่ีสานักงาน

ยุติธรรมจงั หวดั ทวั่ ประเทศ หรือสานกั งานช่วยเหลือทางการเงินแกผ่ ู้เสยี หายและจาเลยในคดอี าญา
2. กรณีผู้เสียหายขอรับค่าตอบแทน ผู้เสียหายต้องขอรับสิทธิ์ภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ผู้เสียหายได้

รู้ถึงการกระทาความผิด

๑๐

4. เอกสารทผี่ เู้ สียหายต้องยื่น
1. สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน/บัตรประจาตวั เจ้าหน้าที่ของรัฐ (ผเู้ สยี หายและผู้มสี ทิ ธิย์ ืน่ )
2. สาเนาทะเบียนบา้ นของผู้เสียหายและผ้มู สี ทิ ธิย์ น่ื
3. สาเนาทะเบยี นสมรส
4. สาเนาสตู บิ ัตร
5. สาเนาใบเปลยี่ นชอื่ /สกุล
6. หนงั สอื มอบอานาจ
7. ใบเสรจ็ คา่ รักษาพยาบาลและอนื่ ๆ (ถ้ามี)
8. สาเนาใบรบั รองแพทย์
9. สาเนาบนั ทึกรายงานการสอบสวนของสถานตี ารวจและสาเนารายงานประจาวนั เก่ียวกบั คดี
10. สาเนาใบมรณะบตั ร
11. สาเนาใบชนั สตู รแพทย์
12. สาเนาหลกั ฐานการได้รบั คา่ ชดเชยค่าเสยี จากหน่วยงานอนื่
13. ใบแตง่ ทนาย (ถ้ามี)
14. สัญญาจ้างวา่ ความพรอ้ มสาเนาบัตรของทนายความ
15. หนังสือรบั รองรายได้
16. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้รับรองรายได้ (ผู้ใหญบ่ ้าน กานนั หรือบคุ คลท่ีน่าเชือ่ ถือ)

5. การจา่ ยคา่ ตอบแทนของผเู้ สียหายในคดอี าญา
กรณีบาดเจ็บ
1. ค่าใช้จา่ ยที่จาเปน็ ในการรักษาพยาบาล ให้จา่ ยเทา่ ทจี่ ่ายจรงิ แต่ไม่เกิน 40,000 บาท
2. คา่ ฟ้ืนฟสู มรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ ให้จ่ายเทา่ ทจี่ ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ 20,000 บาท
3. ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ในระหว่างท่ีไม่สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ ให้จ่ายตาม

อัตราจ้างข้ันต่าตามจังหวัดที่เกิดเหตุ เป็นระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันท่ีไม่สามารถประกอบการงาน
ไดต้ ามปกติ

4. ค่าตอบแทนความเสยี หายอนื่ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร ใหจ้ ่ายไม่เกนิ 50,000 บาท
กรณีเสียชีวิต
1. ค่าตอบแทน ใหจ้ า่ ยเป็นเงินต้งั แต่ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
2. ค่าจัดการศพ ใหจ้ า่ ยจานวน 20,000.03 บาท
3. ค่าขาดอุปการะเลีย้ งดู ให้จ่ายจานวนไมเ่ กิน 40,000 บาท
4. ค่าเสียหายอ่นื ให้จ่ายตามท่คี ณะกรรมการเห็นสมควรแตไ่ ม่เกนิ 40,000 บาท
ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราท่ีกาหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการจะกาหนดให้
ผู้เสียหายได้รับค่าตอบแทนเพียงใดหรือไม่ก็ได้ โดยคานึงถึงพฤติการณ์และความร้ายแรงของการกระทา

๑๑

ความผิดและสภาพความเสยี หายท่ีผเู้ สียหายได้รับ รวมทัง้ โอกาสที่ผูเ้ สียหายจะได้รับการบรรเทาความเสียหาย
โดยทางอ่ืนด้วย

6. การไดร้ ับค่าทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ าเลยในคดอี าญา
จาเลยท่มี ีสิทธิไดร้ ับค่าทดแทนและคา่ ใช้จา่ ยตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี ต้องมลี ักษณะดังตอ่ ไปน้ี
1. เป็นบคุ คลซ่งึ ถูกฟอ้ งได้ว่ากระทาความผิดอาญา
2. จาเลยท่ีถูกดาเนนิ คดีโดยพนกั งานอัยการ
3. ถกู คุมขังในระหว่างพิจารณาคดแี ละปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทาความผิด

และมกี ารถอนฟอ้ งในระหวา่ งดาเนินคดี หรือปรากฏตามคาพพิ ากษาอันถึงที่สดุ ในคดนี ั้น
4. ข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทาความผิดหรือการกระทาของจาเลยไม่เป็น

ความผดิ
ในคดีที่มีจาเลยหลายคน จาเลยคนใดถงึ แก่ความตายก่อนมีคาพพิ ากษาถึงทีส่ ุดและคณะกรรมการ

เห็นสมควรจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายให้แก่จาเลยอื่นท่ียังมีชีวิตอยู่ถ้าเป็นเหตุอยู่ในลักษณะคดี จาเลยท่ีถึง
แก่ความตายนั้นมีสทิ ธไิ ดร้ ับค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยตามพระราชบญั ญตั ินี้ไดด้ ้วย

7. วธิ ีการยื่นและระยะเวลาในการยนื่ คาขอรบั สทิ ธิ์ กรณีจาเลย
1. จาเลย หรือผู้รับมอบอานาจสามารถย่ืนเร่ืองขอรับสิทธิ์ได้ที่สานักงานยุติธรรมจังหวัด

ทัว่ ประเทศหรอื สานกั งานชว่ ยเหลอื ทางการเงินแกผ่ ู้เสยี หายและจาเลยในคดีอาญา
2. กรณีจาเลยขอรับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย จาเลยต้องขอรับสิทธ์ิภายใน 1 ปีนับแต่วันท่ี

มคี าพพิ ากษาถึงทีส่ ุด หรือวันทศ่ี าลมีคาส่งั อนญุ าตพนักงานอยั การถอนฟอ้ ง

8. เอกสารท่ีจาเลยต้องยนื่
1. สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชนของจาเลยและผู้มีสิทธยิ์ ่ืน
2. สาเนาทะเบียนบ้านของจาเลยและผมู้ สี ทิ ธ์ยิ ื่น
3. สาเนาทะเบยี นสมรส
4. สาเนาสูติบัตร
5. สาเนาใบเปลีย่ นช่ือ/สกุล
6. หนงั สือมอบอานาจ
7. ใบเสรจ็ คา่ รักษาพยาบาลและอ่ืนๆ (ถ้ามี)
8. สาเนาใบรบั รองแพทย์
9. คาพิพากษาอันถึงท่ีสุดว่าข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทาความผิดหรือ

การกระทาของจาเลยไม่เป็นความผิดหรือปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทาความผิดและ
มีการถอนฟอ้ งในกรณีในระหวา่ งดาเนินคดี

10. หมายขังระหว่างไต่สวนมลู ฟ้องหรือพิจารณาและหมายปอง

๑๒

11. สาเนาใบมรณะบตั ร
12. สาเนาใบชนั สตู รแพทย์
13. ใบสาคัญแสดงว่าคาพิพากษาหรือคาสง่ั ในคดนี ั้นได้ถงึ ท่ีสดุ
14. ใบแตง่ ทนายความ (ถ้ามี)
15. สญั ญาจ้างวา่ ความพร้อมสาเนาขอสาเนาบตั รของทนายความ

9. การกาหนดค่าทดแทนและค่าใชจ้ ่ายแกจ่ าเลย
กรณที ัว่ ไป
1. ค่าใช้จ่ายที่จาเป็นในการรักษาพยาบาลซึ่งความเจ็บป่วยต้องเป็นผลโดยตรงจากการถูก

ดาเนินคดี ใหจ้ ่ายเท่าทีจ่ า่ ยจริง แตไ่ มเ่ กนิ 40,000 บาท
2. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจเนื่องจากจาเลยได้รับความเจ็บป่วยเป็นผลโดยตรง

จากการถกู ดาเนินคดี ให้จ่ายเทา่ ที่จา่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ 50,000 บาท
3. คา่ ทดแทนการถกู คุมขงั วันละ 500 บาท
4. ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ในระหว่างถูกดาเนินคดี ให้จ่ายตามอัตราค่าจ้างขั้นต่าของ

จังหวดั จาเลย
5. ค่าใช้จา่ ยที่จาเปน็ ในการดาเนนิ คดี
5.1 คา่ ทนายความเทา่ ทจี่ ่ายจริง แต่ไมเ่ กนิ อตั รากฎกระทรวงกาหนด
5.2 คา่ ใช้จ่ายอน่ื ในการดาเนนิ คดี

การย่ืนคาขอและการอุทธรณ์ให้ผู้เสียหาย จาเลยหรือทายาทซึ่งได้รับความเสียหายท่ีมีสิทธิขอรับ
คา่ ตอบแทน คา่ ทดแทน หรอื ค่าใชจ้ ่ายตามพระราชบัญญัติน้ี ย่ืนคาขอตอ่ คณะกรรมการ ณ สานักงานยตุ ิธรรม
จงั หวดั

พระราชบัญญัติไกล่เกล่ยี ขอ้ พิพาท พ.ศ. 2562

พระราชบัญญตั ิไกลเ่ กลี่ยขอ้ พิพาท พ.ศ.2562 มสี าระสาคญั ดังนี้
1. คาจากดั ความ

“การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท” หมายความว่า การดาเนินการเพ่ือให้คู่กรณีมโี อกาสเจรจาตกลงกันระงับ
ข้อพิพาททางแพ่งและทางอาญาโดยสันติวิธีและปราศจากการวินิจฉัยช้ีขาดข้อพิพาท ทั้งนี้ไม่รวมถึง
การไกลเ่ กลย่ี ข้อพิพาททด่ี าเนนิ การในช้ันศาลและในชั้นการบงั คับคดี

“ผู้ไกล่เกลี่ย” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับการแต่งต้ังให้ทาหน้าท่ีใน
การไกลเ่ กล่ียข้อพิพาท

“ข้อตกลงระงับข้อพิพาท” หมายความว่า ข้อตกลงที่คู่กรณีตกลงให้มีผลผูกพันโดยชอบ
ดว้ ยกฎหมายเพือ่ ระงับข้อพพิ าทหรือข้อเรียกร้องใดๆ ท่แี ต่ละฝ่ายมอี ยู่และให้คกู่ รณีแต่ละฝา่ ยต่างมสี ิทธิหน้าท่ี
หรอื ความรับผดิ เพียงเท่าท่ีกาหนดไวใ้ นข้อตกลงน้ัน

๑๓

“หน่วยงานซ่ึงดาเนินการไกล่เกล่ียข้อพพิ าท” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐซึ่งดาเนินการระงับ
ขอ้ พพิ าทโดยวิธกี ารไกลเ่ กลยี่ ข้อพิพาท

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค สานักงาน
ศาลยุติธรรม สานักงานอัยการสูงสุด หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมกาหนด
ในกฎกระทรวง

“นายทะเบยี น” หมายความวา่ หวั หน้าหน่วยงานของรฐั ซ่งึ ดาเนินการไกล่เกล่ียขอ้ พิพาท

2. การไกลเ่ กลยี่ ขอ้ พพิ าททางแพง่
การไกลเ่ กลย่ี ข้อพิพาททางแพ่งให้กระทาไดใ้ นกรณี ดังต่อไปนี้
1. ขอ้ พิพาทเกีย่ วกบั ทีด่ นิ ท่ีมใิ ชข่ ้อพิพาทเก่ยี วดว้ ยกรรมสทิ ธ์ิ
1.1 กรรมสิทธ์ิ หมายถึง ความเป็นเจ้าของท่ีจะต้องให้รัฐจะหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธ์ิ

ได้แก่ โฉนดที่ดิน เป็นต้น การแยกการครอบครองที่ดินโดยสงบ เปิดเผยและเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกัน
เป็นเวลา 10 ปี (การครอบครองปรปักษ์) จึงจะสามารถเสร็จ กรณีเชน่ น้ไี ม่สามารถเคลยี ร์ได้ตอ้ งใชอ้ านาจของ
ศาลได้ตัดสนิ ชขี้ าด

1.2 สิทธิครอบครอง หมายถึง สิทธิครอบครองในฐานะเป็นเจ้าของโดยการทาประโยชน์หรือ
การถือครอง เชน่ การออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ เชน่ น.ส.3, น.ส. 3 ก, น.ส. 3 ข, เอกสารตราจอง
เอกสารการครอบครองท่ีดนิ โดยสงบ เปดิ เผยและเจตนาเปน็ เจ้าของตดิ ต่อกนั เป็นเวลา 1 ปี จงึ จะได้กรรมสิทธิ์
กรณเี ชน่ นี้ ไม่สามารถไกลเ่ กล่ยี ได้ ต้องใช้อานาจของศาลเปน็ ผตู้ ัดสินชข้ี าด

2. ข้อพิพาทระหว่างทายาทเก่ยี วกับทรัพยม์ รดก
3. ขอ้ พพิ าทอนื่ ตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา
4. ข้อพิพาทอื่นนอกจาก (1) (2) และ (3) ที่มีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าล้านบาท หรือไม่เกินจานวน
ตามทก่ี าหนดในพระราชกฤษฎกี า

3. การไกลเ่ กลี่ยข้อพพิ าททางแพ่งท่ีไม่สามารถกระทาได้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. คดีเก่ียวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล หมายถึง สิทธิต่างๆ เกี่ยวกับสภาพบุคคล ความสามารถ

ของบุคคล การใชช้ อ่ื นาม การเปน็ คนไร้ความสามารถ การทาการแทนบุคคล การถือสญั ชาติ เป็นตน้
2. คดีเกี่ยวกับสิทธิในครอบครัว หมายถึง สิทธิท่ีเกิดจากความสัมพันธ์สามี ภรรยา หรือ บิดา

มารดา เช่น การหย่า ภริยาเรียกคา่ อุปการะเลี้ยงดูจากสามี การฟ้องเรยี กคา่ เสียหายจากหญงิ หรือชายอน่ื กรณี
แอบคบชู้ เป็นต้น

3. ข้อพิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรพั ย์ เรื่องท่ีดนิ ทรพั ย์ที่ติดกับที่ดิน การเป็นเจ้าของ
การอ้างให้เปิดทางจาเปน็ การรกุ ลา้ ท่ดี นิ เปน็ ตน้

๑๔

4. การไกล่เกลี่ยข้อพพิ าททางอาญา
การไกล่เกลย่ี ข้อพิพาททางอาญาใหก้ ระทาได้ในกรณี ดังตอ่ ไปนี้
1. ความผิดอันยอมความได้ คือ คดีที่ผู้เสียหายได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายโดยตรง

(ความผิดส่วนตัว) สังคมไม่ได้รับผลกระทบหรือเดือดร้อนจากการกระทาความผิดนั้น เช่น ยักยอก ฉ้อโกง
หมนิ่ ประมาท บุกรกุ ลักทรัพย์ (ระหว่างบิดากับบุตร) ทาใหเ้ สยี หาย

2. ความผิดลหโุ ทษ หมายความวา่ ความผดิ อาญาแผ่นท่ีเกิดจากการกระทาความผิดเล็กน้อย
อัตราโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา แต่พระราชบัญญัตินี้
กาหนดใหศ้ ูนย์ไกล่เกลย่ี ข้อพพิ าทภาคประชาชนสามารถนาความผิดลหุโทษสามารถไกล่เกลยี่ ได้

5. ประโยชน์ของการไกล่เกล่ีย
การไกล่เกล่ียข้อพิพาทก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งกับคู่กรณีและยังเป็นการเสริมสร้างประสิทธิภาพใน

การอานวยความยตุ ิธรรมให้แก่ประชาชน ซง่ึ อาจจะสรปุ ไดด้ งั นี้
1. ประหยัดเวลาและค่าใชจ้ ่าย (Saving of Time and Money) การไกลเ่ กลย่ี ขอ้ พิพาทหรือ

อนุญาโตตลุ าการแลว้ อาจใช้เวลาเพียงสปั ดาห์ วันหรือช่ัวโมง อันเป็นการประหยดั ค่าใช้จ่ายของท้งั คคู่ วามและ
ทางราชการ โดยที่หน่วยงานหรือองค์กรผู้จัดการไกล่เกล่ียจัดบริการให้ฟรี คู่กรณีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ไม่เสีย
ค่าป่วยการผู้ไกล่เกล่ียและการไกล่เกล่ียไม่จาเป็นต้องมีทนายความ ดังน้ัน การจัดการความขัดแย้งด้วยวิธี
การไกล่เกลย่ี จงึ ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายไดม้ าก

2. เป็นที่ยุติ (Finality) คดีท่ีคู่พิพาทสามารถตกลงกันได้โดยวิธีการไกล่เกล่ียน้ัน ทาให้
ขอ้ พพิ าทได้ขอ้ ยตุ ิ ลดปัญหาของการอทุ ธรณ์ตอ่ ไป

3. การยอมรับของคู่พิพาท (Compliance) การที่คู่ความสามารถหาข้อยุติได้ด้วยตนเอง
มีการยอมรับปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงนน้ั มากกวา่ การทศ่ี าลมีคาพพิ ากษาซ่ึงจะต้องมีการบังคับคดีต่อไป

4. ข้อยุติที่ได้นั้นมีความเหมาะสมกบั คู่พพิ าท (Custom Made Solution) เนื่องจากคู่พพิ าท
สามารถเลอื กทจ่ี ะทาให้ข้อตกลง อย่างไรกไ็ ดต้ ราบเทา่ ท่ไี มข่ ดั ต่อกฎหมาย

5. เป็นความลับ (Confidentiality) การไกล่เกลี่ยเป็นเร่ืองเฉพาะระหว่างคู่กรณีการประชุม
ไกล่เกล่ีย จะมีเฉพาะคู่กรณีกับผู้ไกล่เกลี่ยและบุคคลภายนอกท่ีคู่กรณีเห็นพ้องต้องกันให้เข้าร่วมประชุมได้
เท่านั้น ท้ังข้อเท็จจริงท่ีคู่กรณีพูดคุยกันในการไกล่เกลี่ยถือเป็นความลับ ห้ามคู่กรณีและผู้ไกล่เกลี่ยเปิดเผยต่อ
บุคคลภายนอก นอกจากน้ี คู่กรณียังอาจมีข้อตกลงกันอีกด้วยว่า ข้อเท็จจริงท่ีได้จากการไกล่เกล่ีย ห้ามไม่ให้
คู่กรณีนาไปใชอ้ า้ งองิ ในการพิจารณาคดขี องศาล

6. การควบคุมกระบวนการระงับข้อพิพาท (Process Control) คู่พิพาทสามารถควบคุม
กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้มากกว่าการดาเนินคดีในศาล โดยสามารถคัดเลือกบุคคลท่ีเป็นกลางให้มา
ทาหน้าที่กาหนดประเด็นหรือความต้องการที่แท้จริงในการไกล่เกล่ียข้อพิพาทและแสวงหาทางออกเพื่อยุติ
ข้อพิพาท โดยคู่พิพาทมีโอกาสที่จะได้พูดและตัดสินว่าผลที่ได้รับจะผูกพันกันหรือไม่ ซึ่งจะเป็นการหลีกเลี่ยง
ความไม่แนน่ อนทอ่ี าจเกดิ ข้นึ โดยการพิพากษาคดี

๑๕

7. ข้อตกลงระหวา่ งคพู่ ิพาทสามารถบังคับได้ (Enforceable Agreement) ผลของการระงับ
ข้อพิ พา ทจา กวิ ธีกา รไกล่ เกลี่ ยข้อพิ พา ทเป็ น ข้อต กลงร่ ว มกัน อัน มี ลั กษณะสั ญ ญ าที่คู่พิพา ทลงน ามแล ะ
มผี ลผูกพนั เปน็ สญั ญาประนีประนอมยอมความ แมว้ ่าอาจมกี ารตรวจสอบจากศาลในบางกรณี

8. รักษาความสัมพันธ์ระหว่างกันได้หรือก่อให้เกิดความสัมพันธ์ในระยะยาว (Preservation
or Enhancement of Long-term Relationships) การระงับข้อพิพาทเปิดโอกาสให้คู่พิพาทสามารถหา
ขอ้ ยตุ ใิ นปัญหาทแ่ี ทจ้ ริงได้และคูพ่ ิพาทย่อมสามารถแก้ไขปัญหาระหวา่ งกนั ได้

9. ความยืดหยุ่น (Flexibility) คู่พิพาทสามารถเลือกใช้การไกล่เกล่ียข้อพิพาททั้งหมด หรือ
ในประเด็นใดประเดน็ หนงึ่ ในคดีก็ได้ ส่วนที่เหลอื อาจให้มกี ารดาเนนิ คดีในศาลต่อไป

10. คุณภาพ (Quality) บุคคลท่ีมาทาหน้าท่ีในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทมักเป็นบุคคลที่
มีความสามารถ หรอื เชีย่ วชาญในเรือ่ งน้ันๆ โดยมกี ารควบคมุ การทางานโดยประมวลจริยธรรม

11. ยังคงสิทธิในการดาเนินคดีในศาล (Right to Trial) การไกล่เกล่ียข้อพิพาทเป็นเพียง
ส่วนเสริมสาหรับการดาเนินคดีในศาลไม่ใช่เป็นการแทนท่ี คู่กรณียังคงมีสิทธิในการดาเนินคดีในศาล
หากคกู่ รณมี ีความต้องการเชน่ น้นั

12. ไม่เป็นทางการ การไกล่เกลี่ยมีวิธีพิจารณาท่ีแตกต่างจากการพิจารณาคดีของ
อนุญาโตตุลาการ หรือศาล โดยการไกล่เกล่ียต้องการบรรยากาศการพูดคุยเจรจาที่ไม่เป็นทางการ แต่เป็น
กันเอง และยืดหยุ่น ผ่อนคลาย ไม่เคร่งครัด เพื่อให้คู่กรณีได้พูดคุยเจรจากันด้วยความสบายใจไม่ตึงเครียด
เกดิ ความไวว้ างใจและกล้าเปิดเผยความตอ้ งการที่แทจ้ รงิ ของตน

6. คุณลักษณะและการขึ้นทะเบียนของผไู้ กลเ่ กลย่ี
ผ้ไู กลเ่ กล่ียต้องเปน็ ผู้มีคุณสมบัติและไมม่ ลี ักษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้
๖.๑ คณุ สมบตั ิ
- ผ่านการอบรมการไกล่เกล่ียข้อพิพาทตามหลักสูตรท่ีคณะกรรมการพัฒนาการ

บรหิ ารงานยตุ ธิ รรมตามกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาการบริหารงานยตุ ธิ รรมแหง่ ชาติรับรอง
- เป็นผูม้ ปี ระสบการณใ์ นดา้ นตา่ งๆ อนั จะเปน็ ประโยชนแ์ กก่ ารไกล่เกล่ยี ขอ้ พิพาท

๖.2 ลกั ษณะตอ้ งหา้ ม
- เคยรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้

กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ
- เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน

ไมส่ มประกอบ
- เคยถูกเพิกถอนการเป็นผู้ไกลเ่ กล่ียตามพระราชบัญญัตินี้และยังไม่พ้นหา้ ปีนับถึงวันยื่น

คาขอรับหนังสือรับรองการขึ้นทะเบยี นเปน็ ผ้ไู กล่เกลย่ี
บุคคลใดมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 1 และมีความประสงค์จะข้ึนทะเบียน

เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ให้ย่ืนคาขอต่อกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ซึ่งมีหน้าที่และอานาจกากับดูแลการไกล่เกล่ีย

๑๖

ข้อพิพาทของศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน ทั้งน้ีการยื่นคาขอขึ้นทะเบียนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธกี ารและเง่ือนไขทนี่ ายทะเบยี นประกาศกาหนด

ศูนย์ยุตธิ รรมชุมชน

ศูนย์ยุติธรรมชุมชน (ศยช.) หมายถึง สถานที่ท่ีอยู่ในชุมชนและสมาชิกเครือข่ายยุติธรรมชุมชน
ตลอดจนประชาชนเห็นชอบให้จัดต้ังเป็นศูนย์ยุติธรรมชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานท่ีดาเนินงานของคณะกรรมการ
ประจาศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนหรอื ดาเนินงานในกิจกรรมตา่ งๆ ของชุมชน

เครือข่ายยุติธรรมชุมชน หมายถึง ประชาชน กลุ่ม หรือองค์กรท่ีมีความสนใจและสมัครใจท่ีจะ
แลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสานความร่วมมือในการป้องกัน เฝ้าระวังปัญหาอาชญากรรม ตลอดจน
เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทในกิจกรรมต่างๆ ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อตอบสนองความต้องการและ
เสริมสร้างความยุติธรรมและความสงบสุขในชุมชน เครือข่ายยุติธรรมชุมชนเป็นส่วนหน่ึงของการดาเนินงาน
ของกระทรวงยุติธรรมภายใต้ยุทธศาสตร์ "ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม" (Justice for All, All for
Justice) อันจะเป็นกุญแจสาคัญที่จะนาไปสูจ่ ุดมุ่งหมายในการสร้างความเปน็ หุ้นส่วนระหวา่ งภาครัฐกับชุมชน
ในการอานวยความยุติธรรม สร้างความเป็นธรรมและความสงบสุขในสังคมร่วมกัน โดยภาครัฐจะส่งเสริม
การรวมตัวกันของประชาชนในลักษณะของ "เครือข่าย" เพ่ือทางานเคียงบ่าเคียงไหล่กับภาครัฐในการดาเนิน
ภารกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของชุมชน และจะส่งเสริมให้เครือข่ายมีความเข้มแข็ง สามารถจัดต้ัง
"ศูนย์ยุติธรรมชุมชน" ของตนเองขึ้นเพ่ือเป็นกลไกในการร่วมกันสรรหาแนวทางท่ีจะทาให้ภาครัฐและ
ภาคประชาสังคมรว่ มกนั สร้าง "สงั คมท่ยี ุติธรรม"

คณะกรรมการประจาศูนย์ยุติธรรมชุมชน (คกก.ศยช.) หมายถึง สมาชิกเครือข่ายยุติธรรมชุมชนหรือ
ประชาชนในชุมชนได้รับการคัดเลือกให้ทาหน้าท่ีพิจารณา วินิจฉัย แก้ไขปัญหาให้กับประชาชนในชุมชนใน
กรณีท่ีสมาชิกเครือข่าย ยุติธรรมชุมชน หรือผู้ประสานงานยุติธรรมชุมชนไม่สามารถแก้ไขได้และพิจารณา
ส่งเร่ืองท่ีไม่สามารถแก้ไขได้ ให้สานักงานยุติธรรมจังหวัดต่อไปโดยมีผู้ประสานงานยุติธรรมชุมชนเป็น
เลขานุการคณะกรรมการประจาศูนย์ ยุติธรรมชุมชนและเปน็ ฝายธรุ การ

สมาชิกเครือข่ายยุติธรรมชุมชน หมายถึง ประชาชนผู้สนใจในงานเครือข่ายยุติธรรมชุมชนของ
กระทรวงยุติธรรมและได้ผ่านการอบรม "หลักสูตรเครือข่ายยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม" เพื่อเข้าร่วมกับ
กระทรวงยุติธรรมในฐานะหุ้นส่วนท่ีจะดาเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความยุติธรรม
ความเปน็ ธรรม และความสงบสุขในชมุ ชน

๑๗
1. ศูนยย์ ุติธรรมชุมชนในจงั หวดั ยะลา

ศูนยย์ ตุ ธิ รรมชมุ ชน

อาเภอ ศูนย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนทีจ่ ดั ต้ังข้ึน ศูนย์ยุตธิ รรมชมุ ชนท่จี ดั ต้ังข้ึน

ณ ทที่ าการปกครองส่วนท้องถ่นิ ด้วยภาคประชาชน

เมอื ง 1. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนเทศบาลนครยะลา 1. ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนอาเภอเมือง

2. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตาบลยะลา 2. ศูนยย์ ุตธิ รรมชุมชนตาบลตาเซะ

3. ศูนย์ยุตธิ รรมชุมชนเทศบาลเมืองสะเตงนอก 3. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลยะลา

4. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตาบลยุโป 4. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชุมชนหลังวดั เมือง

5. ศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชนตาบลทา่ สาป 5. ศนู ย์ยุติธรรมชมุ ชนมสุ ลมิ สมั พันธ์

6. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนเทศบาลลาใหม่

7. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลบดุ ี

8. ศูนย์ยุติธรรมชมุ ชนตาบลลิดล

9. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตาบลตาเซะ

10. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนตาบลเปาะเส้ง

11. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลบันนงั สาเร็ง

12. ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนตาบลลาใหม่

13. ศูนยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลลาพะยา

14. ศูนย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตาบลหนา้ ถ้า

15. ศูนย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตาบลพร่อน

ยะหา 1. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนเทศบาลตาบลยะหา 1. ศนู ยย์ ุติธรรมชุมชนอาเภอยะหา
2. ศูนย์ยุตธิ รรมชมุ ชนเทศบาลตาบลปะแต 2. ศูนยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลบาโร๊ะ
3. ศนู ยย์ ุติธรรมชมุ ชนตาบลยะหา 3. ศูนย์ยตุ ิธรรมชมุ ชนตาบลปะแต
4. ศูนยย์ ุติธรรมชมุ ชนตาบลบาโร๊ะ 4. ศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชนตาบลตาชี
5. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลกาตอง
6. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนตาบลตาชี
7. ศูนยย์ ุตธิ รรมชมุ ชนตาบลบาโงยซิแน
8. ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนตาบลละแอ

กาบงั 1. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชุมชนตาบลกาบัง 1. ศูนย์ยุตธิ รรมชุมชนอาเภอกาบงั
2. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตาบลบาละ

๑๘

ศนู ยย์ ุติธรรมชมุ ชน

อาเภอ ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนทีจ่ ัดต้ังขึ้น ศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชนทจ่ี ัดต้ังข้ึน

ณ ที่ทาการปกครองสว่ นท้องถน่ิ ดว้ ยภาคประชาชน

รามนั 1. ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนเทศบาลเมอื งรามนั ห์ 1. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชุมชนอาเภอรามัน

2. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ เทศบาลตาบลโกตาบารู 2. ศูนยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลอาซอ่ ง

3. ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนเทศบาลตาบลบาลอ

4. ศูนย์ยุตธิ รรมชุมชนตาบลกายูบอเกาะ

5. ศูนย์ยุติธรรมชมุ ชนตาบลกาลอ

6. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนตาบลกาลูปัง

7. ศนู ยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลกอตอตือร๊ะ

8. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนตาบลเกะรอ

9. ศูนยย์ ุตธิ รรมชุมชนตาบลจะกว๊ะ

10. ศูนยย์ ุติธรรมชมุ ชนตาบลบาโงย

11. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลบือมงั

12. ศนู ย์ยตุ ิธรรมชมุ ชนตาบลยะตะ๊

13. ศูนยย์ ตุ ิธรรมชุมชนตาบลวังพญา

14. ศนู ย์ยุตธิ รรมชมุ ชนตาบลอาซอ่ ง

15. ศูนยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลตะโล๊ะหะลอ

16. ศูนยย์ ุตธิ รรมชุมชนตาบลท่าธง

17. ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนตาบลเนนิ งาม

บันนังสตา 1. ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนตาบลเข่ือนบางลาง 1. ศูนยย์ ุติธรรมชุมชนอาเภอบนั นังสตา
2. ศนู ยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลตล่นิ ชัน่ 2. ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตาบลถ้าทะลุ
3. ศนู ย์ยุติธรรมชมุ ชนเทศบาลตาบลบนั นงั สตา
4. ศูนยย์ ุตธิ รรมชมุ ชนตาบลถ้าทะลุ
5. ศนู ย์ยุตธิ รรมชุมชนตาบลบันนังสตา
6. ศูนยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลตาเนาะปูเต๊ะ
7. ศูนยย์ ตุ ิธรรมชุมชนตาบลกอบาเจาะ

ธารโต 1. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนเทศบาลคอกช้าง 1. ศูนยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนอาเภอธารโต
2. ศนู ย์ยุตธิ รรมชุมชนตาบลบา้ นแหร 2. ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนตาบลธารโต
3. ศนู ยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลคีรีเขต
4. ศนู ย์ยุติธรรมชุมชนตาบลแม่หวาด
5. ศนู ย์ยุตธิ รรมชมุ ชนตาบลธารโต

๑๙

ศูนยย์ ุตธิ รรมชุมชน

อาเภอ ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนท่จี ัดตง้ั ขึ้น ศูนยย์ ตุ ธิ รรมชมุ ชนท่ีจดั ตงั้ ขึ้น
กรงปินัง
เบตง ณ ทีท่ าการปกครองสว่ นท้องถิน่ ดว้ ยภาคประชาชน

รวม 1. ศนู ยย์ ุติธรรมชุมชนตาบลกรงปินงั 1. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนอาเภอกรงปินงั

2. ศนู ย์ยตุ ิธรรมชมุ ชนตาบลหว้ ยกระทงิ

3. ศนู ยย์ ุตธิ รรมชมุ ชนตาบลสะเอะ

4. ศนู ย์ยุตธิ รรมชุมชนตาบลปโุ รง

1. ศูนย์ยุตธิ รรมชมุ ชนเทศบาลเมอื งเบตง 1. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนอาเภอเบตง
2. ศูนย์ยุตธิ รรมชุมชนเทศบาลตาบลธารนา้ ทพิ ย์ 2. ศนู ย์ยตุ ิธรรมชมุ ชนตาบลยะรม
3. ศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชนตาบลยะรม
4. ศูนย์ยุตธิ รรมชมุ ชนตาบลอัยเยอรเ์ วง
5. ศูนยย์ ุติธรรมชมุ ชนตาบลตาเนาะแมเราะ

63 20

ภารกิจของศนู ย์ยตุ ิธรรมชมุ ชน
1. ป้องกันและควบคุมอาชญากรรมในชุมชน (Crime Control & Prevention) ด้วยการยับย้ังหรือ
ชะลอสถานการณม์ ิให้เกิดความขัดแยง้ ข้อพพิ าท หรือการกระทาผดิ ทางอาญาโดยการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน การให้
ความรคู้ วามเขา้ ใจแก่ประชาชน เชน่ ระเบยี บ กฎหมายท่ปี ระชาชนควรรู้ เป็นตน้
2. การรับเร่ืองราวร้องทุกข์ แจ้งเบาะแสการทุจริตคอรัปช่ัน รวมทั้งปัญหาความเดือดร้อนของผู้ด้อย
โอกาส (เด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ) แล้วส่งต่อไปยังหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการต่อไปและติดตามผล
การดาเนินงานและแจ้งให้ผูร้ บั บรกิ ารรบั ทราบเป็นระยะ
3. การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท (Conflict Management) ตามหลักยุติธรรมเชิงสมานฉันท์หรือ
หลกั สนั ติวฒั นธรรม
4. การเยียวยาเสริมพลัง แก่เหยื่ออาชญากรรมและความรู้สึกของชุมชน ( Community &
Empowerment) ด้วยการให้ความเข้าใจกาลังใจช่วยเหลือสนับสนุนให้เหย่ืออาชญากรรมและชุมชนน้ัน
มคี วามรู้สึกท่ดี แี ละใช้ชวี ติ เปน็ ปกติ
5. การรับผู้พ้นโทษหรือผู้ถูกคุมประพฤติกลับสู่ชุมชน (Reintegration) เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถ
ดารงชีวติ อยใู่ นชุมชนสังคมไดเ้ ป็นปกติและไม่หวนกลบั ไปกระทาผิดซา้ อีกต่อไป

๒๐

๒๑

๒๒

๒๓

๒๔

๒๕

๒๖

๒๗

ยตุ ธิ รรมใสใ่ จ (Justice Care)

ยุติธรรมใส่ใจ (Justice Care) คือ แนวทางการดาเนินงานเชิงรุกท่ีกระทรวงยุติธรรมได้จัดทา
แนวทางการชว่ ยเหลือเหยื่อ ผู้เสียหาย และผู้ไม่ได้รับความเป็นธรรมแบบบูรณาการ ภายใตแ้ นวคิด “ยุติธรรม
ใส่ใจ 24 ช่ัวโมง” (Justice Care) ซึ่งเป็นแนวทางการดาเนินงานเชิงรุกตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการ
อานวยความยตุ ิธรรม ลดความเหล่ือมล้าในสังคมเพ่ือให้ประชาชนเข้าถึงความยตุ ิธรรม ด้วยการนาบริการด้าน
งานยุติธรรมไปสู่ประชาชนในระดับพื้นท่ีโดยที่ประชาชนไม่ต้องร้องขอภายใน 24 ชั่วโมง ผ่านบูรณาการ
การทางานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม และหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องทั้งระบบ โดยมีสานักงาน
ยุตธิ รรมจังหวัดท่กี ระจายอยู่ 81 แห่ง ทัว่ ประเทศเป็นหนว่ ยงานหลกั ในระดบั พ้ืนที่ท่ีจะนาความเป็นธรรมแบบ
ครบวงจรท้งั ทางด้านกฎหมาย ดา้ นร่างกาย และดา้ นจิตใจสง่ ถงึ มือให้ประชาชนฟรีโดยไม่มคี า่ ใช้จ่าย

การชว่ ยเหลือประชาชนของ Justice Care นั้นประกอบไปด้วย
1. การช่วยเหลือประชาชนผ่านกองทุนยุติธรรม ในด้านการช่วยเหลือประชาชนในการดาเนินคดี
(ค่าจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายอื่นๆเกี่ยวกับการดาเนินคดี) การปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาหรือ
จาเลย (ชั้นสอบสวน ช้นั พนักงาน อัยการชนั้ ศาล การควบคมุ ตัวกรณอี ื่น) การช่วยเหลือผู้ละเมิดสิทธิมนุษยชน
หรือได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนษุ ยชน (เงินชดเชย ค่ารักษาพยาบาล คา่ ฟ้นื ฟูรา่ งกายจิตใจ ค่าขาด
ประโยชนท์ ามาหาได้ และเงนิ ช่วยเหลืออื่นๆ) การให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแก่ประชาชนเพอ่ื ทาให้ประชาชน
ที่เป็นคนยากจนและด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้ ซึ่งปัจจุบันกระทรวงยุติธรรมได้มีการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการดาเนินงานในการพิจารณาให้ความช่วย เหลือประชาชนในรัฐระยะเวลามาตรฐาน ใน
การดาเนินการจากเดิม 70 วัน ลดลงเหลอื 45 วัน อยู่ระหว่างการลดระยะเวลาให้เหลือเพียง 21 วนั เพอ่ื ให้
ประชาชนไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื อย่างรวดเร็วยง่ิ ขึ้น
2. การช่วยเหลือโดยสานักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจาเลยในคดีอาญา (สชง.)
ด้วยการเยียวยาเหยื่อในคดีอาญา-แพะ ซึ่งหากคุณตกเป็นเหยื่อโดยยิง โดยแทง โดยลูกหลง ความผิดเก่ียวกับ
เพศ ต่อชีวิต ต่อร่างกายทาให้แท้งลูก ทอดทิ้งเด็ก คนเจ็บป่วยหรือคนชรารับเงินค่าตอบแทนผู้เสียหายและ
ค่าทดแทนและคา่ ใชจ้ ่ายแกจ่ าเลยในคดีอาญา
การดาเนินงานให้ความช่วยเหลือประชาชนเพื่อให้ได้รับความเป็นธรรมตามแนวทาง “ยุติธรรมใส่ใจ
Justice Care” นัน้ เรม่ิ ดาเนินการตั้งแต่วันท่ี 5 พฤศจิกายน 2561 ซึ่งเพียงระยะเวลาไม่กี่เดือน แต่สามารถ
ให้ความชว่ ยเหลือประชาชนใน 77 จังหวัดทวั่ ประเทศไดจ้ านวนกว่า 1,297 เรอื่ ง (ขอ้ มลู ณ วันที่ 9 มถิ นุ ายน
2562) ซึ่งครอบคลมุ เรื่องตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. การขอรับความชว่ ยเหลือทางการเงนิ แก่ผูเ้ สียหายและจาเลย ในคดีอาญา จานวน 532 เรื่อง
2. การให้คาปรกึ ษากฎหมายแกป่ ระชาชน จานวน 373 เรอ่ื ง
3. การขอรับความชว่ ยเหลอื จากกองทุนยุตธิ รรม จานวน 77 เร่ือง
4. การขอรับความช่วยเหลอื ในการคุ้มครองพยาน จานวน 15 เรื่อง
5. การใหค้ าแนะนาด้านอน่ื ๆ จานวน 300 เร่อื ง

๒๘

หากประชาชนได้รับความเดือดร้อนหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม ติดต่อได้ท่ีสายด่วนยุติธรรม
โทร 1111 กด 77 ฟรีตลอด 24 ช่ัวโมง หรือสานักงานยุติธรรมจังหวัดทุกแห่ง หรือศูนย์ยุติธรรมชุมชน
ใกล้บ้านท่านทว่ั ประเทศ

คลนิ ิกยตุ ธิ รรม

คลินิกยุติธรรม ให้บริการ 84 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งจะบริการเก่ียวกับการร้องเรียน ร้องทุกข์
การดาเนินการตามพระราชบัญญัติต่างๆ อาทิเช่น การร้องขอคุ้มครองพยาน การใช้ค่าตอบแทนให้แก่
ผู้เสียหายและจาเลยในคดีอาญา กองทุนยุติธรรม คลินิกยุติธรรมเป็นสถานท่ีรองรับพ่ีน้องประชาชนที่
ประสบปัญหาเดือดรอ้ นไม่ได้รบั ความเปน็ ธรรมหรือต้องการที่จะมาขอความช่วยเหลอื ทางกฎหมาย การบรกิ าร
คลินิกยุติธรรม คือ บริการให้คาปรึกษาทางด้านกฎหมายฟรีและกรณีที่ถูกจับกุมในช้ันพนักงานสอบสวน
ในเรื่องของความเป็นธรรมความยตุ ิธรรมก็ให้นกึ ถึงคลินิกยุติธรรมและคิดถึงกระทรวงจะสามารถนาทา่ นเข้าถึง
ความยุติธรรมได้ แต่หน่วยงานของยุติธรรมว่าภาครัฐเพียงอย่างเดียวก็คงไม่สามารถกระทาได้อย่างท่ัวถึง
ดังนั้นจึงมีเครือข่ายพี่น้องประชาชนที่เป็นหุ้นส่วนกับกระทรวงยุติธรรมและกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ทเี่ รยี กว่า ยุตธิ รรมชุมชน

งานรอ้ งเรียนร้องทกุ ข์

การร้องเรียน/ร้องทุกข์ หมายถึง การท่ีประชาชนบอกเล่าเร่ืองราวต่อหน่วยงานของรัฐเพ่ือขอให้
ช่วยเหลือ แก้ไข บรรเทาความเดือดร้อน หรือตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเน่ืองมาจากการได้รับความเดือดร้อน
ความไม่เป็นธรรม หรือพบเห็นการกระทาผิดกฎหมาย งานร้องเรียนร้องทุกข์เป็นงานท่ีประชาชนมาย่ืนเร่ือง
จากหน่วยงานรัฐซ่ึงมีหลายช่องทาง โดยทว่ั ไปประชาชนจะมายน่ื เร่อื ง 2 ช่องทาง คอื

1. กระทรวงมหาดไทย (ศนู ย์ดารงธรรม)
2. กระทรวงยุติธรรม (สานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั )
สานกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั จะใชร้ ะเบยี บสานกั นายกว่าดว้ ยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2552
โดยการรับเรื่อง มี 2 ชอ่ งทาง คือ
1. ประชาชนทาหนงั สอื ร้องเรียนส่งสานักงานจังหวัด
2. ประชาชนมาติดต่อด้วยตัวเอง โดยเจา้ หนา้ ทรี่ ับเร่ืองพร้อมดาเนินการตามกระบวนการต่างๆ

การเยีย่ มญาติทางจอภาพ

การเยี่ยมญาติทางจอภาพ เปน็ การเยี่ยมผูต้ ้องขังในเรือนจาโดยผา่ นระบบ Video conference โดยมี
ขน้ั ตอนในการขอเยย่ี ม ดังน้ี

๑. ผู้ขอเข้าเย่ียมผู้ต้องขังจะต้องเป็นญาติทางสายเลือด หรือบุคคลท่ีผู้ต้องขังได้กาหนดรายช่ือไว้
แต่ต้องไม่เกินจานวน 10 คน ในการเย่ียมแต่ละครั้งจะเข้าเย่ียมได้ไม่เกินครั้งละ ๕ คน ใช้เวลาครั้งละไม่เกิน
15 นาที ไดร้ บั การเย่ียมสัปดาห์ละหนงึ่ ๑ ครง้ั

๒๙

๒. ผู้ขอรับการเข้าเยี่ยมผู้ต้องขังซ่ึงมาติดต่อครั้งแรกจะต้องทาบัตรเย่ียมผู้ต้องขังผ่านระบบจอภาพ
โดยต้องนาบัตรประจาตัวประชาชนหรือหลักฐานอย่างหน่ึงอย่างใดท่ีทางราชการออกให้ (ต้องมีเลขประจาตัว
ประชาชน) มาเพอ่ื ประกอบการทาบตั ร

๓. ทุกคร้ังที่ผู้ขอเข้าเย่ียมมาเยี่ยมผู้ต้องขังต้องนาบัตรเยี่ยมผู้ต้องขังผ่านระบบจอภาพมาแสดงต่อ
เจา้ หน้าทแี่ ละแจ้งชอ่ื ผตู้ อ้ งขังที่จะขอเข้าเย่ยี ม เพื่อบนั ทึกประวัติการเย่ียม

๔. ผู้ต้องขังที่ได้รับการเยี่ยมจะต้องไม่อยู่ในเง่ือนไขห้ามเย่ียมของกรมราชทัณฑ์และผู้ต้องขังท่ีได้รับ
การเยีย่ มจะไดร้ บั การเยย่ี มสปั ดาหล์ ะ ๑ ครั้ง

๕. เจ้าหน้าที่จะติดต่อไปยังเจ้าหน้าท่ีของเรือนจาเพื่อแจ้งรายช่ือผู้ต้องขังที่มีผู้ประสงค์จะขอรับ
การเข้าเยยี่ ม

๖. รอเจ้าหน้าที่เรียกชือ่ เพื่อเข้าเยย่ี มในห้องขังผ่านระบบจอภาพตามลาดบั
๗. เมื่อครบกาหนด 15 นาที เจ้าหน้าท่ีแจ้งหมดเวลาการเย่ียมและเชิญผู้ขอรับบริการเข้าเย่ียม
ผตู้ อ้ งขังรายลาดบั ถัดไปเขา้ เย่ยี ม

ข้อปฏิบตั ใิ นการขอเยี่ยมผู้ตอ้ งขงั ผ่านระบบจอภาพ Video conference
๑. ต้องแต่งกายให้สุภาพ เรยี บรอ้ ย
๒. ห้ามนาสงิ่ ของใดๆ เข้าไปหอ้ งเยี่ยมญาตผิ า่ นระบบจอภาพ
๓. ยนิ ยอมให้เจ้าหน้าที่ตรวจคน้ ร่างกายกอ่ นเขา้ เย่ียม
๔. ห้ามถา่ ยภาพ วีดีโอ และห้ามใช้เครือ่ งบันทกึ เสียงขณะเข้าเยี่ยมผูต้ ้องขงั
๕. ยินยอมให้เจ้าหน้าที่ฟังการสนทนา บันทึกเสียงและถ่ายภาพในการพูดคุยและตัดการส่ือสาร
หากเห็นวา่ ข้อความท่สี นทนาเปน็ ไปโดยไม่เหมาะสม
๖. ผ้เู ขา้ เย่ียมทุกคนจะต้องปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ทโี่ ดยเคร่งครดั

เรือนจาทีส่ ามารถเย่ยี มได้ มที ั้งหมด 9 เรือนจา ได้แก่

1. เรือนจาอาเภอนาทวี 2. เรือนจาอาเภอเบตง

3. เรือนจากลางยะลา 4. เรอื นจากลางสงขลา

5. เรอื นจากลางปตั ตานี 6. เรอื นจาจังหวดั นราธิวาส

7. เรอื นจาจงั หวดั สงขลา 8. ทัณฑสถานหญิงสงขลา

9. ทณั ฑสถานบาบดั พเิ ศษสงขลา

การเยยี่ มญาตผิ ่านจอของจังหวัดยะลามี 2 สถานที่
1. สานกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ตง้ั อย่ทู ่ีศาลากลางจังหวดั ยะลา
2. ศูนยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชน ตัง้ อยู่ที่องค์การบริหารส่วนตาบลยะลา

๓๐

การเย่ยี มญาตผิ ่านจอของจงั หวดั ปตั ตานี มี 2 สถานที่
1. สานกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวัด ต้งั อยทู่ ่ีอาคารบูรณาการกระทรวงยตุ ธิ รรม
2. ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชุมชน ตง้ั อยู่ทอ่ี าเภอสายบรุ ี จังหวดั ปัตตานี

การเยย่ี มญาตผิ า่ นจอของจังหวัดนราธิวาส มี 2 สถานท่ี
1. สานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวัด ตง้ั อยู่ สานักงานคุมประพฤติ
2. ศนู ยย์ ุติธรรมชมุ ชน ตั้งอยู่ ตาบลมูโนะ

งานสารบรรณ

“งานสารบรรณ” หมายถึง งานท่ีเก่ียวกับการบริหารงานเอกสาร เร่ิมต้ังแต่ การจัดทา การรบั การส่ง
การเก็บรักษา การยมื จนถึงการทาลาย

“หนังสอื ” หมายถึง หนังสอื ราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายถึง การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ
วธิ ีอ่ืนใดในลักษณะคล้ายกันและให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรือ
อุปกรณท์ ี่เกย่ี วขอ้ งกบั การประยุกต์ใช้วิธตี ่างๆ
“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายถึง การรับส่งข้อมูลข่าวสาร หรือหนังสือผ่านระบบส่ือสาร
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนกิ ส์
“ส่วนราชการ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน หรือหน่วยงานอ่ืนใดของรัฐ ท้ังใน
ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศและ
ใหห้ มายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ ปฏิบัติงานในเรื่อง
ใดๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นท่ีปฏิบัติงานในลักษณะ
เดียวกนั
หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีถึงผู้รับเป็นจานวนมาก มีใจความอย่างเดียวกัน ให้เพ่ิมรหัสตัวพยัญชนะ
ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง ซ่ึงกาหนดเป็นเลขท่ีหนังสือเวียนโดยเฉพาะ เร่ิมต้ังแต่เลข 1 เรียงเป็นลาดับไป
จนถึงส้ินปีปฏิทิน หรือใช้เลขที่ของหนังสือท่ัวไปตามแบบหนังสือภายนอกอย่างหนึ่งอย่างใด เม่ือผู้รับได้รับ
หนังสือเวียนแล้วเห็นว่าเรื่องนั้นจะต้องให้หน่วยงานหรือบุคคล ในบังคับบัญชาในระดับต่างๆ ได้รับทราบด้วย
ก็ใหม้ หี น้าที่จัดทาสาเนา หรอื จดั ส่งให้หนว่ ยงาน หรอื บุคคลเหล่าน้นั โดยเร็ว

๓๑

ชนดิ ของหนังสือราชการ

หนังสอื ราชการ มี 6 ชนดิ คือ
1. หนังสือภายนอก

หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการท่ีเป็นแบบพิธีโดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือ
ติดตอ่ ระหวา่ งส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถงึ หน่วยงานอนื่ ใดซึ่งมิใชส่ ว่ นราชการ หรือท่มี ีถึงบคุ คลภายนอก

2. หนังสอื ภายใน
หนงั สอื ภายใน คือ หนงั สอื ตดิ ต่อราชการท่ีเปน็ แบบพิธีนอ้ ยกว่าหนังสือภายนอก เปน็ หนังสอื ติดต่อ

ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจงั หวัดเดียวกัน ใช้กระดาษบนั ทกึ ข้อความ
3. หนงั สือประทบั ตรา
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือท่ีใช้ประทับตราแทนการลงช่ือของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม

ขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมข้ึนไป
เปน็ ผูร้ ับผิดชอบลงช่อื ยอ่ กากับตรา

4. หนังสอื สง่ั การ
หนงั สอื ส่ังการมี 3 ชนิด ได้แก่ คาสั่ง
4.1 คาสั่ง คือ บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย

ใช้กระดาษตราครฑุ
4.2 ระเบียบ คอื บรรดาขอ้ ความท่ผี มู้ อี านาจหนา้ ที่ได้วางไวโ้ ดยจะอาศัยอานาจของกฎหมาย

หรอื ไม่กไ็ ด้เพ่ือถือเป็นหลกั ปฏิบตั งิ านเป็นการประจา ใช้กระดาษตราครฑุ
4.3 ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความท่ีผู้มีอานาจหน้าที่กาหนดให้ใช้โดยอาศัยอานาจของ

กฎหมายทบี่ ญั ญัตใิ ห้กระทาได้ ใช้กระดาษตราครฑุ
5. หนงั สือประชาสัมพันธ์
หนังสือประชาสมั พนั ธ์มี 3 ชนิด ไดแ้ ก่
5.1. ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือช้ีแจงให้ทราบ หรือแนะ

แนวทางปฏิบตั ใิ ช้กระดาษตราครฑุ
5.2. แถลงการณค์ ือ บรรดาขอ้ ความทีท่ างราชการแถลงเพอื่ ทาความเข้าใจในกจิ การของทาง

ราชการ หรอื เหตุการณ์หรือกรณใี ดๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทัว่ กนั ใชก้ ระดาษตราครฑุ
5.3. ขา่ ว คือ บรรดาข้อความทท่ี างราชการเห็นสมควรเผยแพรใ่ ห้ทราบ

6. หนงั สอื ทเี่ จ้าหนา้ ทที่ าข้นึ หรือรบั ไว้เป็นหลักฐานในราชการ
หนังสือท่ีเจ้าหน้าที่ทาข้ึนหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ คือ หนังสือท่ีทางราชการทาข้ึน

นอกจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น หรือหนังสือท่ีหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึง
ส่วนราชการและส่วนราชการรับไว้เป็นหลักฐานของทางราชการมี ๔ ชนิด คือ หนังสือรับรอง รายงาน
การประชมุ บันทกึ และหนังสืออืน่

๓๒
6.1 หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคล หรือ
หน่วยงาน เพ่ือวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดให้ปรากฏแก่บุคคลโดยทั่วไป ไม่จาเพาะเจาะจง ใช้กระดาษ
ตราครฑุ
6.2 รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วม ประชุม
และมติของท่ปี ระชมุ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน
6.3 บันทึก คือ ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชา
ส่ังการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความที่เจ้าหน้าท่ีหรือหน่วยงานระดับต่ากว่าส่วนราชการระดับกรม
ติดตอ่ กันในการปฏิบตั ิราชการ โดยปกติใหใ้ ช้กระดาษบนั ทกึ ข้อความ
6.4 หนังสืออ่ืน คือ หนังสือหรอื เอกสารอื่นใดที่เกิดข้ึนเน่ืองจากการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าท่ี
เพื่อเป็นหลักฐานในราชการ ซ่ึงรวมถึงภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพและสื่อกลางบันทึก
ข้อมูลด้วย หรอื หนงั สือของบุคคลภายนอกที่ยืน่ ตอ่ เจ้าหน้าท่ีและเจ้าหน้าท่ีได้รับเขา้ ทะเบียนรับหนังสือของทาง
ราชการแล้วมีรูปแบบตามที่กระทรวง ทบวง กรม จะกาหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตาม
กฎหมายเฉพาะเรื่องใหท้ าตามแบบ เช่น โฉนด แผนท่ี แบบ แผนผงั สญั ญา หลกั ฐาน การสืบสวนและสอบสวน
และคาร้อง เปน็ ตน้

\

๓๓

อ้ำงอิง
กระทรวงยตุ ิธรรม.//สบื คน้ เม่ือ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๕./https://www.moj.go.th/index.php
งานสารบรรณ.//สบื ค้นเมื่อ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕./

https://www.spe.go.th/files/com_news_rule/2020-06_138faf3f46e2220.pdf
พระราชบญั ญตั ิค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแกจ่ าเลยในคดอี าญา พ.ศ. ๒๕๔๔

(และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙).
พระราชบัญญัติไกลเ่ กล่ียข้อพิพาท. ๒๕๖๒.//สืบคน้ เมื่อ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕./

https://www.ocpb.go.th/download/article/article_20190524081102.pdf
พระราชบัญญัติกองทนุ ยตุ ิธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘.//สืบคน้ เม่อื ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๕./

https://jfo.moj.go.th/download/JusticeFundAct2015.pdf
สานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา.//สบื ค้นเมือ่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕./

https://web.facebook.com/YalaJusticeProvincialOffice/?_rdc=1&_rdr
สานกั งานยตุ ิธรรมจังหวัดยะลา. รายงานการดาเนินงานของรัฐตอ่ สาธารณะรายปี สานักงานยุตธิ รรม

จงั หวัดยะลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔.

๓๔

ภำคผนวก

๓๕

๓๖

ประวัติผ้จู ดั ทา

ช่อื : นางสาวปาตีฮะ โซะตาเฮ
ตาแหนง่ : เจา้ หน้าทีศ่ ูนย์ยุตธิ รรมชุมชนตาบลอาซ่อง
เกดิ เมื่อวันท่ี : 17 มกราคม 2541
สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนาอสิ ลาม
ภูมลิ าเนา : บา้ นเลขท่ี 8 หม่ทู ี่ 5 ตาบลอาซอ่ ง อาเภอรามัน จงั หวดั ยะลา 95140
ประวตั ิการศึกษา :
ปี 2553 - 2556 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

โรงเรียนแสงจรยิ ธรรมวิทยา อาเภอรามนั จังหวดั ยะลา
ปี 2556 - 2559 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (วิทย์-คณิต)

โรงเรียนแสงจรยิ ธรรมวิทยา อาเภอรามัน จังหวัดยะลา
ปี 2559 - 2563 ระดับปริญญาตรี วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (ชวี วทิ ยา)

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา


Click to View FlipBook Version