The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พชรกมล อินทรสูต, 2021-07-02 07:06:00

หน่วยที่ 5 ป.ตรี

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม

หน่วยที่ 5

การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม

การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ หน่วยงานและองคก์ รทางส่ิงแวดลอ้ ม
และส่ิงแวดลอ้ ม
กฎหมายเกี่ยวกบั การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มของไทย

การประสานความร่วมมือทางดา้ น
ส่ิงแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ

การพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มที่ยง่ั ยนื และสิ่งแวดลอ้ ม

การใชป้ ระโยชน์จากสิ่งแวดลอ้ มในการ
สร้างสรรคว์ ฒั นธรรม



• การควบคุมจานวนประชากรและการส่งเสริมคุณภาพประชากร
• การสารวจแหล่งทรัพยากรเพิ่มและสิ่งทดแทนการใชท้ รัพยากร
• การปรับปรุงคุณภาพทรัพยากรและการป้องกนั รักษาทรัพยากร

ปัจจุบนั มีการส่งเสริมการปลูกปาลม์ น้ามนั ในหลายพ้ืนท่ี
เพอื่ นามาใชเ้ ป็นพลงั งานทดแทน

• การใชท้ รัพยากรใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ใชใ้ หถ้ ูกประเภท และใชอ้ ยา่ งประหยดั
• การใชท้ รัพยากรทดแทน และการนาทรัพยากรกลบั มาใชใ้ หม่
• การพิจารณาและตระหนกั ถึงผลกระทบท่ีเกิดจากการดาเนินกิจกรรมต่างๆ
• การใชก้ ฎหมายเพื่อรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม

การจดั การทรัพยากรดนิ
• การศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั ดิน
• การวางแผนการใชด้ ิน
• การป้องกนั การพงั ทลาย

ของดิน
• การปลกู พชื หลายชนิด
• การปรับปรุงบารุงดิน

การปลูกหญา้ แฝกช่วยป้องกนั การพงั ทลายของดิน

การจดั การทรัพยากรน้า
• การพฒั นาแหล่งน้า
• การรักษาและฟ้ื นฟูป่ าตน้ น้า
• การใชน้ ้าอยา่ งประหยดั
• การป้องกนั และบาบดั น้าเสีย
• การสารองน้าดื่ม

การสร้างฝายชะลอน้า ช่วยฟ้ื นฟปู ่ าตน้ น้า
และป้องกนั การขาดแคลนน้า

การจัดการทรัพยากรป่ าไม้
• การกาหนดพ้นื ที่ป่ าอนุรักษ์
• การป้องกนั ไฟป่ า
• การป้องกนั การตดั ไม้

และการบกุ รุกพ้ืนที่ป่ า
• การปลูกและฟ้ื นฟปู ่ า
• การใชว้ สั ดุทดแทนไม้

และการนากลบั มาใชใ้ หม่

การนากระดาษกลบั มาใชใ้ หม่
ช่วยลดการตดั ตน้ ไมเ้ พอ่ื นามาผลิตกระดาษ

ศูนยอ์ นุรักษแ์ พนดา้ เมืองเฉิงตู ประเทศจีน

การจัดการทรัพยากรสัตว์ป่ า
• การรักษาแหลง่ ท่ีอยอู่ าศยั ของสตั วป์ ่ า
• การเพาะพนั ธุ์สัตวป์ ่ า
• การป้องกนั ไฟป่ า
• การป้องกนั การลกั ลอบล่าสตั วป์ ่ า
• การเลิกบริโภคและการใช้

เครื่องประดบั จากสตั วป์ ่ า

การจัดการพลงั งาน
• การแสวงหาแหล่งพลงั งานใหม่
• การพฒั นาพลงั งานทดแทน

และพลงั งานหมุนเวยี น
• การพฒั นาเทคโนโลยที ี่ลดการ

ใชพ้ ลงั งาน
• การใชส้ ่ิงของอยา่ งประหยดั
• การสารองพลงั งาน

รถใชพ้ ลงั งานแสงอาทิตยใ์ นประเทศออสเตรเลีย



• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
• กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• กระทรวงมหาดไทย

กระทรงทรัพยากรธรรมชาติฯ ร่วมกบั มูลนิธิคุม้ ครองสตั วป์ ่ าโลก
เปิ ดโครงการตรวจวดั คาร์บอนป่ า เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556

• มูลนิธิโลกสีเขียว
• สมาคมธิงคเ์ อิร์ธ คิดห่วงใยในผนื โลก
• มูลนิธิสืบนาคะเสถียร

• กรีนพีซ (Greenpeace)
• มูลนิธิคุม้ ครองสตั วป์ ่ าโลก (World Wildlife Fund - WWF)

เรือเอสเพอรันซาของกรีนพซี เดินทางมาประเทศไทยเพ่อื ร่วมรณรงคป์ กป้องทางทะเล
ในภูมิภาคเอเชียตะวนั เฉียงใต้ เม่ือเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556



• พระราชบัญญัติป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ไดก้ าหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีควบคุมดูแลรักษา

พ้นื ที่ป่ าสงวนแห่งชาติไว้ โดยมีเน้ือหาสาคญั คือ หา้ มมิใหบ้ ุคคลเขา้ ยดึ ครองหรือแสวงหา
ประโยชนแ์ ละกระทาการใดๆ ในพ้นื ที่อนั เป็นเขตป่ าสงวน หากผใู้ ดละเมิดจะไดร้ ับโทษ
ตามท่ีกฎหมายกาหนด

• พระราชบัญญตั สิ งวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ. 2535 ไดก้ าหนดใหส้ ตั วป์ ่ า 15 ชนิดเป็น

สตั วป์ ่ าสงวน เช่น ควายป่ า แรด เน้ือสมนั นกกระเรียน พะยนู เป็นตน้ และกาหนดใหส้ ตั วป์ ่ า
กวา่ 1,200 ชนิด เป็นสตั วป์ ่ าคุม้ ครอง เช่น ชา้ ง นกยงู ผเี ส้ือกลางคืน จระเขน้ ้าเคม็ ปลาเสือตอ
คางคกเลก็ ปะการัง เป็นตน้

• พระราชบัญญัติอทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ในปัจจุบนั ไดม้ ีการกาหนดพ้ืนท่ีใหเ้ ป็น อุทยาน
แห่งชาติกวา่ 140 แห่งทวั่ ประเทศ โดยหา้ มใหบ้ ุคคลเขา้ ทาการครอบครองที่ดินหรือใช้
ประโยชน์จากที่ดินในพ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาติ รวมท้งั การดดั แปลงพ้นื ท่ี และการเกบ็ ของป่ า
หรือการล่าสตั ว์ ยกเวน้ ไดร้ ับอนุญาตจากเจา้ หนา้ ที่

• พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีมาตรการ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม ซ่ึงประชาชนจะไดร้ ับประโยชน์จากกฎหมายในหลาย
ดา้ น เช่น ไดร้ ับทราบข่าวสารและขอ้ มูลเก่ียวกบั การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม
ไดร้ ับค่าเสียหายหรือคา่ ทดแทนจากรัฐ กรณีท่ีไดร้ ับความเสียหายจากมลพิษอนั เกิดจาก

กิจการหรือโครงการของรัฐ เป็นตน้



อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ สตั วป์ ่ าและพืชป่ าที่ใกลส้ ูญพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ หรือ อนุสัญญา
ไซเตส มีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ควบคุมการคา้ สตั วป์ ่ าและพชื ป่ าที่ใกลจ้ ะสูญพนั ธุ์ระหวา่ งประเทศ
ตลอดจนผลิตภณั ฑจ์ ากสตั วป์ ่ าและพืชป่ า โดยสร้างกลไกท่ีมีโครงข่ายทวั่ โลก

อนุสัญญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการเปลี่ยนแปลงช้นั บรรยากาศ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ปกป้อง
ช้นั บรรยากาศของโลก โดยรัฐบาลของประเทศสมาชิกจะตอ้ งดูแลควบคุมใหเ้ กิดแก๊สเรือนกระจก
ในประเทศของตนใหอ้ ยใู่ นระดบั ที่ไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อช้นั บรรยากาศของโลก

อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการอนุรักษพ์ ้ืนท่ีชุ่มน้า หรือ อนุสญั ญาแรมซาร์ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ืออนุรักษ์
และฟ้ื นฟูพ้นื ท่ีชุ่มน้าทวั่ โลกอยา่ งยง่ั ยนื เช่น การสกดั ก้นั และยบั ย้งั การบุกรุกเขา้ ครอบครองพ้นื ที่
ชุ่มน้าท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต เป็นตน้











• การสร้างที่อยอู่ าศยั
• การแต่งกาย
• เทคโนโลยแี ละภูมิปัญญา

ชาวแลปป์ ในประเทศนอร์เวย์
ใชก้ วางเรนเดียร์ในการลากเลื่อน

• แหล่งท่องเท่ียว
• เคร่ืองใชท้ ว่ั ไป
• อาหาร
• ยารักษาโรค



• ควบคุมการเพมิ่ ของจานวน
ประชากร

• วางแผนการใชท้ ่ีดินและน้า
• ป้องกนั และกาจดั สารพิษ
• ฟ้ื นฟูสภาพแวดลอ้ ม
• ประหยดั การใชท้ รัพยากร
• พฒั นาเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม
• ปลูกฝังค่านิยมและ

วฒั นธรรมท่ีเหมาะสม
• จดั การศึกษา สร้างความรู้ความ

เขา้ ใจเก่ียวกบั ธรรมชาติใหแ้ ก่
ประชาชน

• คานึงถึงผลการกระทาของคนที่จะส่งผลต่อสิ่งแวดลอ้ ม
• เรียนรู้เก่ียวกบั สิ่งท่ีมีอยโู่ ดยรอบตวั
• ดารงชีวติ อยา่ งเป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม

• การบาบดั น้าเสียดว้ ยผกั ตบชวา
• การบาบดั น้าเสียดว้ ยการ

ผสมผสานระหวา่ งพชื น้า
กบั ระบบเติมอากาศ

• การบาบดั น้าเสียดว้ ยระบบ
บ่อบาบดั และวชั พืช
บาบดั น้า

• กงั หนั น้าชยั พฒั นา
• การกาจดั น้าเสีย

โดยวธิ ีธรรมชาติ


Click to View FlipBook Version