การอ่านมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เล็กจนโต เพราะการอ่านทำให้มนุษย์มีความรู้ที่ใช้ใน พัฒนาอาชีพ การศึกษา การเรียนรู้ การอ่านเป็นประจำช่วยให้สติปัญญาของมนุษย์ตื่นตัว รับรู้จดจำได้เป็น อย่างดี ประชาชนทุกวัยจึงควรได้รับการส่งเสริมการอ่านอย่างทั่วถึงมีคุณภาพตรงความต้องการอ่านของแต่ ละวัย โดยเฉพาะวัยเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่สมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ถ้าได้รับการส่งเสริม การ อ่านที่ถูกต้อง ย่อมช่วยให้สมองได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเตรียมความพร้อมในการศึกษาเรียนรู้ในระดับ ที่สูงต่อไปได้ดียิ่งขึ้น และเป็นกำลังสำคัญของชาติในการพัฒนาประเทศในอนาคตที่สำคัญยิ่ง ในขณะที่ ประชาชนวัยทำงานเป็นวัยที่จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ สังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง และความเจริญก้าวหน้าขอเทคโนโลยีที่นพมาปรับประยุกต์ใช้ทั้ง ด้านการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต การส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชนวัยทำงานจึงมีความ จำเป็นต้องดำเนินการส่งเสริมการอ่านให้ตรงกับความต้องการอ่านของประชาชนกลุ่มนี้ด้วย ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" จังหวัดยโสธร ได้จัดทำโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบ ส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้มีการจัด กระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ครอบคลุม และทั่วถึง การส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนา ห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ให้มีความพร้อม ความเหมาะสม อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ส่งผลให้ การบริการประชาชนทุกช่วงวัยได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง ทั้งในชุมชนเมืองและชุมชนชนบทห่างไกล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะการอ่านและเกิดการเรียนรู้จากกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลายและเพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ดำเนินการในไตรมาสที่ 2-4 (ระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน 2566) ณ พื้นที่อำเภอ คำเขื่อนแก้ว โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ในพื้นที่อำเภอคำเขื่อนแก้ว จำนวน 200คน ผลการดำเนินการตามโครงการผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ มีทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง สรุปผลการประเมินความพึงพอใจโดยสรุปผู้เข้าร่วมกิจกรรม โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบ ส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ภาพรวมมีความพึงพอใจต่อการเข้า ร่วมโครงการ ในระดับมาก ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 90 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว พบว่าบุคลากร ให้ความสนใจ สกร.อำเภอคำเขื่อนแก้ว มีความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม และอยากให้มีการจัดกิจกรรม แบบนี้ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 30 กันยายน 2566 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
คำนำ การจัดกิจกรรม/โครงการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว เป็นการให้บริการกับผู้เรียน ผู้รับบริการ และชุมชน ในหลายลักษณะเพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรม ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำ เขื่อนแก้ว ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ อีก ทั้งภารกิจหลักของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อีกประการคือการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้มี การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชนทุกช่วงวัย เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีนิสัยรักการ อ่าน ซึ่งเป็นการอ่านออกเขียนได้ เป็นทักษะพื้นฐานในดำรงชีวิติของมนุษย์ ทั้งนี้จุดเริ่มต้นของการอ่าน ต้องเริมต้นจากเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นถ้ามีนิสัยรักการอ่าน มีการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถปรับตัวเข้ากับ สังคม ชุมชนได้ ย่อมส่งผลต่อการเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ดังนั้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนนรู้อำเภอคำ เขื่อนแก้ว โดยห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร จึงได้ดำเนิน โครงการห้องสมุดเคลื่อน รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ขึ้น อีกทั้งมีการประเมิน โครงการฯ ดังกล่าว ซึ่งเป็นการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ โดยได้ดำเนินการในระหว่างเดือนมกราคมกันยายน 2566 รายงานการประเมินโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการ เรียนรู้” (Read & Learn) สามารถนำมาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการจัดกิจกรรม สกร.ต่อไปได้อย่างเป็น รูปธรรมและคุณภาพ ซึ่งสามารถดำเนินการจัดกิจกรรม สกร.ได้อย่างครบวงจร (PDCA) ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว หวังว่าเอกสารเล่มนี้ ที่จะบ่งบอกถึงการบรรลุ วัตถุประสงค์ของโครงการและจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม สกร. ทั้งในการบริหารงาน พัฒนางาน และการทำงานที่ตรงตามความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชน และสามารถเผยแพร่ต่อ สาธารณชนได้ และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน จนงานบรรลุ วัตถุประสงค์ของโครงการ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 30 กันยายน 2566
สารบัญ เรื่อง หน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ก คำนำ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนำ 1 หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ 1 ขอบเขตของกิจกรรม/โครงการ 2 เป้าหมาย 2 ตัวชี้วัดความสำเร็จ 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ฯ 3 ความหมายของห้องสมุดเคลื่อนที่ 3 ความสำคัญของห้องสมุดเคลื่อนที่ 4 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 5 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน 5 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 7 ระยะเวลาดำเนินการ 7 วิธีดำเนินการ 7 เครื่องมือในการเก็บข้อมูลกิจกรรม/โครงการ 8 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 9 ผลการดำเนินงานโครงการ 9 ผลการประเมินโครงการ 10 ผลประเมินความพึงพอใจ 11
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ 12 สรุปผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ 12 สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย 12 จุดเด่น/จุดที่ควรพัฒนา 13 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา 13 ภาคผนวก ภาพกิจกรรม 15 แบบสรุปผลการดำเนนกงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ฯ 28 ตัวอย่างแบบประเมินความพึงพอใจโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ฯ 32 คณะผู้จัดทำ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว บทที่ 1 บทนำ โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) 1. ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ การอ่านมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เล็กจนโต เพราะการอ่านทำให้มนุษย์มีความรู้ที่ใช้ ในพัฒนาอาชีพ การศึกษา การเรียนรู้ การอ่านเป็นประจำช่วยให้สติปัญญาของมนุษย์ตื่นตัว รับรู้ จดจำได้เป็นอย่างดี ประชาชนทุกวัยจึงควรได้รับการส่งเสริมการอ่านอย่างทั่วถึงมีคุณภาพตรงความ ต้องการอ่านของแต่ละวัย โดยเฉพาะวัยเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่สมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ถ้าได้รับการส่งเสริม การอ่านที่ถูกต้อง ย่อมช่วยให้สมองได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเตรียมความ พร้อมในการศึกษาเรียนรู้ในระดับที่สูงต่อไปได้ดียิ่งขึ้น และเป็นกำลังสำคัญของชาติในการพัฒนา ประเทศในอนาคตที่สำคัญยิ่ง ในขณะที่ประชาชนวัยทำงานเป็นวัยที่จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง และความ เจริญก้าวหน้าขอเทคโนโลยีที่นพมาปรับประยุกต์ใช้ทั้งด้านการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต การส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชนวัยทำงานจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการส่งเสริมการอ่านให้ตรง กับความต้องการอ่านของประชาชนกลุ่มนี้ด้วย สำหรับผู้สูงอายุซึ่งเป็นเพราะประชาชนอีกกลุ่มหนึ่ง ถึงแม้ว่าบางคนได้เกษียณอายุจากการทำงานแล้วแต่มีผู้สูงอายุบางคนยังคงต้องประกอบอาชีพเลี้ยง ตนเองอยู่ เพราะฐานะความเป็นอยู่ไม่ดี ประชาชนกลุ่มนี้จึงเป็นประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งมีความ จำเป็นต้องดำเนินชีวิตให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีควบคู่กับการประกอบอาชีพและการใช้ชีวิตบั้นปลายอย่างสงบ สุข จึงเป็นประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ควรได้รับการส่งเสริมการอ่านที่ตอบสนองความต้องการอ่านของ ผู้สูงอายุได้อย่างแท้จริง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคำเขื่อนแก้ว จึงได้จัดทำโครงการ ห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) เพื่อ สนับสนุนให้ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ได้เข้ากิจกรรมส่งเสริมการอ่านเชิงรุกเพื่อให้เกิด กระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและตลอดชีวิต 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะการอ่านและเกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านอย่างหลากหลาย 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
หน้า 2 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 3. ขอบเขตของการดำเนินงานโครงการ 3.1 โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ขอบเขตการดำเนินงาน ดังนี้ 3.2 เป้าหมายของโครงการ ประกอบด้วย - ประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน 3.3 สถานที่และวันเวลาดำเนินงาน ระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน 2566 ณ อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร 4. เป้าหมายการดำเนินงาน 4.1. เชิงปริมาณ - ประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน 4.2 เชิงคุณภาพ - ประชาชนทั่วไปในพื้นที่อำเภอคำเขื่อนแก้ว สามารถเข้าถึงการอ่านและเรียนรู้ สามารถ นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 5. ตัวชี้วัดความสำเร็จ โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) มีตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงาน ดังนี้ 5.1 ร้อยละ 80 ของประชาชนวัยทุกช่วงวัยเกิดสังคมแห่งการเรียนรู้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งผลต่อเนื่องที่จะเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ได้ในอนาคตและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้ ในชีวิตประจำวันในการประกอบอาชีพ การดำเนินชีวิต 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ดังนี้ 6.1 ประชาชนทั่วไป เห็นความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้ สามารนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน 6.2 ประชาชนทั่วไป เข้าถึงกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เคลื่อนที่ที่หลากหลาย
หน้า 3 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานดังนี้ ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ ในการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ตามยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ ในการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น เน้นผู้มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้ตลอดชีวิตและเพื่อเน้นการส่งเสริมให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน รักการเรียนรู้ จึงได้ ดำเนินการโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชนทุกช่วงวัย ทุกกลุ่มเป้าหมาย และผู้สนใจทั่วไป ซึ่งจำเป็นที่จะต้องได้รับงบประมาณสนับสนุนสำหรับการจัด กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ให้กับผู้เรียน ผู้รับบริการ และประชาชน ทุกช่วงวัย และเพื่อส่งเสริมให้มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ครอบคลุม และ ทั่วถึง การส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ให้มีความพร้อม ความเหมาะสม อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ส่งผลให้การบริการประชาชนทุกช่วงวัยได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง ทั้งในชุมชนเมืองและชุมชนชนบทห่างไกล ได้รับประโยชน์มีความสุขกับการศึกษาเรียนรู้สามารถ เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง เกิดการพัฒนาตนเองและสังคมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลกต่อไป ความหมายของห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดเคลื่อนที่ Bookmobile library หมายถึง ห้องสมุดเคลื่อนที่ เป็นบริการประเภท หนึ่งของห้องสมุดประชาชนใช้ยานพาหนะที่ออกแบบเพื่อใช้เป็นห้องสมุด เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึง หนังสือได้ ภายในยานพาหนะนี้จะมีพื้นที่เพียงพอสำหรับคนที่จะนั่งและอ่านหนังสือภายในรถและ สามารถบรรทุกหนังสือออกไปให้บริการแก่ประชาชนและกลุ่มบุคคลที่มีความยากลำบากในการเข้าถึง ห้องสมุด เช่น ชุมชนแออัด บ้านพักคนชรา สถานพักฟื้น เป็นต้น ทั้งในท้องถิ่นที่ห้องสมุดนั้นตั้งอยู่ หรือในท้องถิ่นที่อยู่ห่างไกล สำหรับยานพาหนะที่ใช้มีทั้งรถยนต์ รถลาก หรือเรือ ผู้ให้บริการในรถอาจ เป็นเจ้าหน้าที่ที่ขับรถทำหน้าที่เป็นบรรณารักษ์ไปด้วยในตัว บางทีมีพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ขับรถและ บรรณารักษ์ นอกจากให้บริการหนังสืออ่านแล้วรถของห้องสมุดเคลื่อนที่บางแห่งอาจมีสื่ออื่น ๆ เช่น วีดิทัศน์ เทปเสียง ซีดี-รอม ของเล่น และเกมต่าง ๆ ให้บริการด้วย บริการของห้องสมุดเคลื่อนที่เป็น ประโยชน์อย่างมาก แก่ประชาชนที่อยู่ห่างไกลที่ไม่สามารถไปใช้บริการของห้องสมุดได้ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะไม่มีเวลา การคมนาคมไม่สะดวก หรือยังไม่เห็นความสำคัญของห้องสมุดหรือสาเหตุอื่น ๆ ในประเทศไทยนอกจากห้องสมุดประชาชนที่ดำเนินการห้องสมุดเคลื่อนที่แล้ว ยังมีห้องสมุดของ สถาบันการศึกษา หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนจัดห้องสมุดเคลื่อนที่ เช่น สถาบันส่งเสริม และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ กรุงเทพมหานคร มูลนิธิสิกขาเอเชีย เป็นต้น
หน้า 4 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ห้องสมุดเคลื่อนที่ (Mobile library) เป็นบริการสารสนเทศเคลื่อนที่ นับเป็นการจัดบริการใน เชิงรุก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการอ่าน และการให้ความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ที่อยู่ห่างไกล จากแหล่งข้อมูล โดยนำทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ เกมส์ ของ เล่น ฯลฯ ไปยังชุมชนด้วยพาหนะ ประเภทต่างๆ เช่น รถ รถไฟ เรือ ฯลฯ หรือบางแห่งอาจใช้วิธีการ เดินทางด้วยเท้าในกรณีที่สามารถเข้าถึงด้วยพาหนะอื่น การดำเนินการห้องสมุดเคลื่อนที่ สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ประเภทต่างๆ บรรจุทรัพยากร สารสนเทศ เคลื่อนย้ายไปยังสถานที่ต่างๆ เช่นกล่องหนังสือ ถุงหนังสือ ย่ามหนังสือ กระเป๋าหนังสือ เป็นต้น ส่วนใหญ่ การดำเนินการห้องสมุดเคลื่อนที่ของประเทศไทยอยู่ในความรับผิดชอบของ หน่วยงานด้านการศึกษาของรัฐ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งเป็นงานบริการประเภทหนึ่งของ ห้องสมุดประชาชน ยิ่งกว่านั้น ปัจจุบันห้องสมุดของมหาวิทยาลัย ภาควิชาบรรรารักษศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์ รวมทั้งชมรมนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ได้ให้ความสำคัญกับห้องสมุด เคลื่อนที่ มีการจัดโครงการหลายโครงการที่เข้าข่ายห้องสมุดเคลื่อนที่ การดำเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่จะประสบผลสำเร็จได้นั้น หน่วยงานที่ดำเนินการ ควร ประสานขอความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งกลุ่มบุคคลหรือบุคคลที่เป็น ผู้นำชุมชน เช่น พระ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น สำหรับการขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานเอกชน อาจเป็นการขอรับการสนับสนุนพาหนะ วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณในการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ เป็นการจัดบริการโดยใช้แนวคิดทั้งงานห้องสมุดและ ศูนย์การเรียน ซึ่งอาจจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสั้นๆ ร่วมไปกับงานบริการพื้นฐานของห้องสมุด เช่น บริการการอ่าน บริการยืม-คืน เป็นต้น นอกจากนี้ อาจเป็นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้บริการ ในการออกให้บริการห้องสมุดเคลื่อนที่แต่ละครั้งด้วย ความสำคัญของห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดเคลื่อนที่นับเป็นรูปแบบหนึ่งของกาารบริการความรู้สู่ชุมชน ที่มีความสำคัญ ในด้านต่างๆดังนี้ 1. เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตแก่ ประชาชน เพื่อพัฒนาตนเอง สังคมประเทศชาติต่อไป ทั้งนี้เพราะห้องสมุดเคลื่อนที่มีลักษณะ เคลื่อนย้ายความรู้ไปสู่พื้นที่ต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับแนวศึกษาสมัยใหม่ของรัฐ โดยเห็นได้จาก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวดที่ 4 มาตราที่ 25 ระบุ ไว้ว่า “ รัฐต้องส่งเสริม การดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬา และนันทนาการ และแหล่งเรียนรู้อื่นอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ” (สำนักคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ 2542 : 14) 2. เป็นการขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ทำให้ประชาชนที่อยู่ห่างไกลความ เจริญ การคมนาคมไม่สะดวก และด้อยโอกาสในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้มีโอกาสสามารถรับรู้ ข่าวสารในสาขาวิชาการต่างๆ ได้มากขึ้น
หน้า 5 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 3. เป็นการส่งเสริมการอ่านให้ประชาชนได้รับความรู้ความเพลิดเพลินจากการอ่าน เห็นคุณค่าของการอ่าน และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านรวมทั้งป้องกันการไม่รู้และการลืมการรู้หนังสือ 4. เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เพื่อพัฒนาตนเอง อันเป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่ความก้าวหน้าของสังคมและประเทศชาติต่อไป การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การจัดกรรมส่งเสริมการอ่านให้มีประสิทธิภาพควรมีการเตรียมพร้อมและคำนึงถึงในเรื่อง ต่อไปนี้ 1. จัดห้องสมุด สำหรับให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างเพียงพอ จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เข้าสู่บรรยากาศของการอ่านและได้ใกล้ชิดกับ หนังสือมากยิ่งขึ้น เช่น จัดนิทรรศการหนังสือในโอกาสต่าง ๆ จัดกิจกรรมเพื่อชวนให้อ่านหนังสืออย่าง สม่ำเสมอ ฯลฯ 2. ครูผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเตรียมพร้อมทั้งในด้านวิธีการดำเนินการ สื่อ อุปกรณ์ เพื่อให้การจัดกิจกรรมดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามเป้าหมาย และจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ รวมทั้งต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องนิสัยรักการอ่านด้วย 3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ต้องเป็นกิจกรรมที่เร้าใจท้าทายความสนใจความ สามารถ ของผู้เรียน รวมทั้งมีความหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ อย่างมีความสุข และ เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง 4. ครูผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเก็บรวบรวมข้อมูลในด้านการอ่านของนักเรียนเป็น รายบุคคล เพื่อที่จะจัดกิจกรรมสนองกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนได้อย่าง เหมาะสม 5. ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หากนำตัวอย่างจากเอกสารฉบับนี้ไปใช้ ควรปรับปรุง หรือดัดแปลงให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม เพื่อให้กิจกรรมดูน่าสนใจแปลกใหม่และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง 6. นอกจากโรงเรียนจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างนิสัยการรักการอ่านให้แก่นักเรียน จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากพ่อแม่ ผู้ปกครองอีกทางหนึ่งด้วย เพื่อให้การปลูกฝังนิสัยรัก การ อ่านเป็นไปอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด 1. ประสานการดำเนินงานกับ สพร. สถาบัน กศน. ภาค และ กศน. อำเภอ ซึ่งเป็นพื้นที่ เป้าหมายในการดำเนินงานพัฒนาห้องสมุดประชาชนจังหวัดและห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราช กุมารี” เคลื่อนที่ 2. แจ้งจำนวนงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรให้ กศน. อำเภอ ที่รับผิดชอบห้องสมุดประชาชน จังหวัดและห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” พื้นที่เป้าหมายเพื่อดำเนินการ 3. กำกับ ติดตาม การดำเนินงานการพัฒนาห้องสมุดประชาชนในจังหวัดให้เป็นไปตามแนว ทางการดำเนินงาน
หน้า 6 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 4. กำกับ ติดตาม ให้ กศน. อำเภอ รายงานผลการดำเนินงานตามแบบ 2 และจัดส่งให้ สพร. ภายในวันสุดท้ายของแต่ละไตรมาส 5. จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ (เอกสารเป็นรูปเล่ม) โดยจัดส่งให้ สพร. เมื่อสิ้นสุดโครงการ ศูนย์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ 1. ดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่โดยการ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ และให้คำแนะนำปรึกษาในการ ดำเนินงาน 2. ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงาน 3. กำกับ ติดตามการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาห้องสมุด ประชาชนเคลื่อนที่ตามแบบ 2 ห้องสมุดประชาชนจังหวัด และห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 1. สำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ในการดำเนินงาน และวางแผนการ ให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย 2. วางแผนการดำเนินงานร่วมกับครู กศน. ตำบล และผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำแผนการออกให้บริการ โดยให้ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ที่บ้านหนังสือชุมชน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 4. จัดเตรียมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ 5. ประชาสัมพันธ์การให้บริการ และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ 6. ให้บริการและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ 7. ประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการและผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ 8. สรุปผลการดำเนินงาน 9. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน จัดส่งให้ กศน. อำเภอ เพื่อรายงานผู้เกี่ยวข้องตามลำดับ
หน้า 7 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว บทที่ 3 วิธีดำเนินการ โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) มีวิธีการดำเนินงาน ดังนี้ ระยะเวลาดำเนินการ โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) มีระยะเวลาการดำเนินงาน ในระหว่างเดือนมกราคม -กันยายน 2566 วิธีดำเนินการ โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) มีวิธีดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ดำเนินการ ระยะเวลา งบ ประ มาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วางแผนการ ปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทำงาน 1.3 จัดทำโครงการและ ขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์ โครงการ 1. เพื่อเตรียมพร้อมใน การจัดทำโครงการ 2. เพื่อจัดทำโครงการ และแผนปฏิบัติการ โครงการ บุคลากร กศน.อำเภอ คำเขื่อน แก้ว 26 คน กศน.อำเภอ คำเขื่อนแก้ว มกราคม 2566 - 2.ขั้นดำเนินงาน (Do) 2.1 กิจกรรมบริการสื่อ/ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ 2.2 กิจกรรมพี่เล่าน้องฟัง 2.3 กิจกรรมส่งเสริมการ อ่านคำจากภาพ 2.4 กิจกรรมหรรษากับ สุภาษิต 2.5 กิจกรรมวาดภาพ ระบายสี 1. เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนมีทักษะการ อ่านและเกิดการเรียนรู้ จากกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมให้ภาคี เครือข่ายมีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน - บุคลากร -ประชาชน ทุกช่วงวัย 26 คน 200 คน - รพ.สต.ดง แคนใหญ่ - รพ.สต.กู่ จาน - วัดหนอง ตุกหลุก ต.ลุ มพุก - วัดบ้าน สำโรง ต.โพน ทัน -วัดบ้านดอน เดือยไก่ ต. แคนน้อย มกราคมกันยายน 2566 15,0๐0.- บาท 3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 เพื่อประเมินความ เป็นไปได้ของโครงการ บุคลากร กศน.อำเภอ 26 คน กศน.อำเภอ คำเขื่อนแก้ว กันยายน 2566 -
หน้า 8 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ดำเนินการ ระยะเวลา งบ ประ มาณ 3.1 การประเมินผลก่อน ดำเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่าง ดำเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จ สิ้นโครงการ 3.2 เพื่อประเมิน ความก้าวหน้าของ โครงการ 3.3 เพื่อประเมิน ผลสำเร็จของโครงการ คำเขื่อน แก้ว ๔ ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และ จัดทำรายงานการประเมิน โครงการ 4.2 ประชุมคณะทำงาน เพื่อนำข้อมูลจากรายงาน การประเมินโครงการไปใช้ ปรับปรุง แก้ไข และ พัฒนาการดำเนินโครงการ ต่อไป เพื่อปรับปรุงแก้ไขและ พัฒนาการดำเนิน โครงการ บุคลากร กศน.อำเภอ คำเขื่อน แก้ว 26 คน - กศน. อำเภอคำ เขื่อนแก้ว - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การประเมินการจัดกิจกรรม โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การ อ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนทั่วไป จำนวน 100 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบการประเมินในการเข้าร่วมโครงการ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 3 รายการ ตอนที่ 2 รายการประเมินความพึงพอใจ เป็นคำถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 8 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ การวิเคราะห์ข้อมูล - สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้วิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ
หน้า 9 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน การประเมินการจัดกิจกรรม โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การ อ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว มีผู้เข้าร่วม โครงการฯ จำนวนทั้งสิ้น 300 คน ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ผลการดำเนินงาน โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn) ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ซึ่งเป็นโครงการ/ กิจกรรมที่ส่งเสริม/สนับสนุนให้ประชาชนทุกช่วงวัย เข้าถึงแหล่างเรียนรู้สื่อ กิจกรรม และเรียนรู้ได้ อย่างหลากหลาย เพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเอง ซึ่งจะส่งผลครอบครัวและชุมชนต่อไป ซึ่งมีกิจกรรมที่ ดำเนินการ ดังนี้ ที่ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ จำนวน ผู้รับบริการ ร้อยละความพึง พอใจของ ผู้รับบริการ ระดับดีขึ้นไป หมายเหตุ 1. กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการ อ่านและการเรียนรู้ 100 85 ไตรมาส2-4 2. กิจกรรมวาดภาพระบายสี 100 85 ไตรมาส2-4 3. กิจกรรมพี่เล่าน้องฟัง 50 85 ไตรมาส 3-4 4. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านคำจากภาพ 100 87 ไตรมาส 3-4 5. กิจกรรมบิงโก้เศรษฐกิจพอเพียง 100 85 ไตรมาส 3-4 แผนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริม และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ รหัสงบประมาณ 20002340052005000020 จำนวนทั้งสิ้น 15,000.-บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) กิจกรรมหลัก ไตรมาส ๑ (ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๖5) ไตรมาส ๒ (ม.ค.-มี.ค.๒๕๖6) ไตรมาส ๓ (เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๖6) ไตรมาส ๔ (ก.ค-ก.ย. ๒๕๖6) โครงการห้องสมุดเคลื่อน รูปแบบส่งเสริมการอ่าน เชิงรุก “การอ่านและการ เรียนรู้” (Read & Learn) - ✓ ✓ ✓ รวม - 15,000.-
หน้า 10 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ผลการประเมินโครงการ จากการดำเนินงานโครงการสรุปความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบ ส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn)ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอ คำเขื่อนแก้ว สรุปได้ดังนี้ผลการดำเนินงานการสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยใช้ แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้ารับบริการ โดยการสุ่มสำรวจผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 ราย โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 85.5 สรุปผลการประเมินโครงการ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน นำข้อมูลทั่วไปมาวิเคราะห์ผลโดยแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ ปรากฏผลการประเมินดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของข้อมูลทั่วไปจำแนกตาม เพศ,อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบ แบบประเมิน จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 53 คน คิดเป็น ร้อยละ 53 และเป็นเพศชาย จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 47 โดยส่วนใหญ่อายุระหว่าง 31 - 40 ปีจำนวน 26 คน เป็นร้อยละ 26 รองลงมาอายุระหว่าง 15 – 30 ปีจำนวน 24 คน คิดเป็น ร้อยละ 24 และต่ำสุดอายุ 51 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 8 และโดยส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ม.ปลาย จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 31 รองลงมาจบการศึกษาระดับ ม.ต้น จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 27 และต่ำสุดไม่ได้ระบุอื่นๆ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ข้อมูลทั่วไป จำนวน (N) ร้อยละ เพศ ชาย 47 47 หญิง 53 53 รวม 100 100 อายุ ต่ำกว่า 15 ปี 12 120 15 – 30 ปี 24 24 31 - 40 ปี 26 26 41 – 50 ปี 14 14 51 ปีขึ้นไป 8 8 รวม 100 100 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 8 8 ม.ต้น 27 27 ม.ปลาย 31 31 ต่ำกว่าปริญญาตรี 11 11 ปริญญาตรี 17 17 สูงกว่าปริญญาตรี 5 5 อื่นๆระบุ....... 2 2 รวม 100 100
หน้า 11 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ตอนที่ 2 ระดับการประเมินความพึงพอใจ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1) ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนทั้งหมด 100 คน ตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิง รุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) โดยเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการโดยใช้ง การสำรวจกลุ่มตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลจำนวน 100 คน จำแนกเป็น ชาย 47 คน หญิง 53 คน ประเด็นคำถาม ระดับความพึงพอใจ ระดับ มากขึ้น ไป มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อยที่สุด 1.สถานที่มีความเหมาะสม 85 33 52 15 - - 2.สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม มีความเหมาะสม 94 45 49 6 - - 3.เนื้อหากิจกรรมมีความเหมาะสม 90 40 50 9 1 - 4.ขั้นตอนการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 87 24 63 13 - - 5.ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม 87 33 54 11 2 - 6.การให้บริการของเจ้าหน้าที่ 92 27 63 9 1 - 7.ผู้รับบริการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 94 45 50 6 - - 8.ภาพรวมของการจัดกิจกรรม 93 43 50 7 - - รวม 90.00 36.25 53.75 9.50 0.50 -
หน้า 12 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ การดำเนินโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn ) สรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ ที่ วัตถุประสงค์โครงการ สภาพความสำเร็จ บรรลุ ไม่บรรลุ ผลการดำเนินงาน 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะ การอ่านและเกิดการเรียนรู้จาก กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างต่อ หลากหลาย ✓ ประชาชนทุกช่วงวัย เข้าถึงแหล่าง เรียนรู้สื่อ กิจกรรม และเรียนรู้ได้อย่าง หลากหลาย ประสบการณ์จากการเข้า ร่วมกิจกรรม ได้ทักษะในการดำเนินชีวิต ก่อให้เกิดการพัฒนาตนเอง ซึ่งจะส่งผล ครอบครัวและชุมชนต่อไป 2 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน ✓ ภาคีเครือข่าย เข้าใจ เข้าถึง และมีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย ให้ความร่วมมือในการจัด กิจกรรม และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนในการดำเนินงาน เข้าใจ บทบาทหน้าที่ของ สกร.อำเภอคำเขื่อน แก้ว มากยิ่งขึ้น 2. สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ที่ เป้าหมายของโครงการ สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน บรรลุ ไม่ บรรลุ เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในพื้นที่อำเภอคำ เขื่อนแก้ว จำนวน 200 คน ✓ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 300 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนทั่วไปในพื้นที่อำเภอคำ เขื่อนแก้ว สามารถเข้าถึงการอ่าน และเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไป ปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ✓ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้ประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม ได้ทักษะในการดำเนิน ชีวิต เกิดการเรียนรู้ซึ่งส่งผลต่อ การนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ได้
หน้า 13 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 3. จุดเด่น/จุดควรพัฒนา จุดเด่นของโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว มีดังนี้ - ประชาชนในพื้นที่ห่างไกล ได้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ - ประชาชน เข้าถึงสื่อ กิจกรรมที่หลากหลาย จึงทำให้เกิดการเรียนรู้ และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี กับคณะผู้จัดกิจกรรม จุดที่ควรพัฒนาของโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn)มีดังนี้ - มีรูปแบบ สื่อ นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย - สภาพอากาศที่ร้อนจึงส่งผลให้การดำเนินงานไม่ราบรื่น 4. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาโครงการ จากการดำเนินงาน โครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn) ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว พบว่า เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ที่อยู่ห่างไกล อยากให้มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในพื้นที่อย่าง ที่ เป้าหมายของโครงการ สภาพความสำเร็จ บรรลุ ไม่ ผลการดำเนินงาน บรรลุ ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ร้อยละ 80 ประชาชนทั่วไป ใน พื้นที่คำเขื่อนแก้ว เห็นความสำคัญ ของการอ่านและการเรียนรู้ สามารนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ✓ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป อำเภอคำเขื่อนแก้ว ให้ความสำคัญ กับการอ่านและการเรียนรู้ ซึ่ง สังเกตได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม ต่าวให้ความสนใจ มีความ กระตือรือร้น ที่จะเรียนรู้ ซึ่งส่งผล ให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่ง ส่งผลให้การดำเนินงาน มีความพึง พอใจและสามารถนำความรู้ไป ปรับประยุกต์ใช้ได้ร้อยละ 85.75
หน้า 14 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาคผนวก
หน้า 15 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ วัดบ้านหนองตุกหลุก ตำบลลุมพุก กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ณ วัดบ้านหนองตุกหลุก ต.ลุมพุก
หน้า 16 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ วัดบ้านหนองตุกหลุก ตำบลลุมพุก กิจกรรมวาดภาพระบายสี ณ วัดบ้านหนองตุกหลุก ต.ลุมพุก
หน้า 17 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ วัดบ้านดอยเดือยไก่ ตำบลแคนน้อย ท่านนายอำเภอพร้อมส่วนราชการ เยี่ยมชมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ณ วัดบ้านหนองตุกหลุก ต.ลุมพุก
หน้า 18 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ /กิจกรรมวาดภาพระบายสี ณ วัดบ้านหนองตุกหลุก ต.ลุมพุก ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ วัดบ้านดอยเดือยไก่ ตำบลแคนน้อย
หน้า 19 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ วัดบ้านสำโรง ตำบลโพนทัน ท่านนายอำเภอพร้อมส่วนราชการ เยี่ยมชมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ณ วัดบ้านสำโรง ตำบลโพนทัน พุก
หน้า 20 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ วัดบ้านสำโรง ตำบลโพนทัน กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ /กิจกรรมวาดภาพระบายสี ณ วัดบ้านสำโรง ต.โพนทัน
หน้า 21 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงเรียนบ้านโพนทัน ตำบลโพนทัน ง ตำบลโพนทัน กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
หน้า 22 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงเรียบ้านกุดกุง ตำบลกุดกุง ง ตำบลโพนทัน กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ กิจกรรมหรรษากับสภาษิต
หน้า 23 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงเรียบ้านกุดกุง ตำบลกุดกุง ง ตำบลโพนทัน กิจกรรมบริการสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ กิจกรรมบิงโกเศรษฐกิจพอเพียง
หน้า 24 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงแคนใหญ่ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านพี่เล่าน้องฟัง ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงแคนใหญ่
หน้า 25 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงแคนใหญ่ เด็กและผู้ปกครอง ให้ความสนใจกับ กิจกรรม พี่เล่าน้องฟัง
หน้า 26 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านพี่เล่าน้องฟัง ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน
หน้า 27 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ภาพกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนรูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและ การเรียนรู้” (Read & Learn) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน พี่เล่าน้องฟัง ณ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน
หน้า 28 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว แบบสรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร สกร.อำเภอคำเขื่อนแก้ว สำนักงาน สกร.จังหวัดยโสธร ****************** คำชี้แจง แบบสรุปผลการดำเนินงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรณารักษ์สรุปผลการดำเนินงาน โครงการระหว่างเดือนตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 เพื่อรายงาน สกร.อำเภอ และสำนักงาน สกร.จังหวัด จัดส่งให้ สพร.ต่อไป ตอนที่ 1 ข้อมูลการจัดพื้นที่บริการ คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ ลงใน หรือกรองข้อความตามความจริง 1. พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน กศน.ตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศาลาประชาคมหมู่บ้าน/อาคารอเนกประสงค์ สวนสาธารณะ บ้านผู้นำชุมชน บ้านหนังสือชุมชน (ระบุ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงแคนใหญ่/ตำบลกู่จาน อื่นๆ (ระบุ) 2. รูปแบบการให้บริการห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ กระเป๋าหนังสือเคลื่อนที่ ถุงหนังสือเคลื่อนที่ ตะกร้าหนังสือเคลื่อนที่ กล่องความรู้ รถชาเล้งเคลื่อนที่ รถมินิเคลื่อนที่ รถห้องสมุดเคลื่อนที่ อื่นๆ (ระบุ) ......กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมพี่เล่าน้องฟัง/ กิจกรรมบิงโกเศรษฐกิจพอเพียง/กิจกรรมหรรษากับสุภาษิต เป็นต้น..... แบบ 4 สำหรับบรรณารักษ์ (ใช้สรุปรายงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
หน้า 29 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว 3. การจัดกิจรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้/การให้บริการ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมดูแลสุขภาพอนามัย กิจกรรมส่งเสิรมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพ กิจกรรม DIY กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เกมเสริมทักษะการเรียนรู้ กพช.สำหรับนักศึกษา กศน. กิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ กิจกรรมอื่นๆ (ระบุ) ........... การให้บริการ บริการการอ่าน บริการยืม-คืนหนังสือ รับสมัครสมาชิกห้องสมุด อื่นๆ ระบุ 4. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้/การบริการ รวมทั้งสิ้น จำนวน 300 คน ตอนที่ 2 ข้อมูลความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ 2.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย 47 47 หญิง 53 53 รวม 100 100 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 53 และเพศชาย ร้อยละ 47 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ ต่ำกว่า 15 ปี 12 120 15-30 ปี 24 24 31-40 ปี 26 26 41-50 ปี 14 14 51 ปีขึ้นไป 8 8 รวม 100 100 จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีอายุระหว่าง 31 - 40 ปีร้อยละ 26 รองลงมาอายุระหว่าง 15 – 30 ปีร้อยละ 24 อายุระหว่าง 41-50 ปี ร้อยละ 14 อายุต่ำกว่า 15 ปี ร้อยละ 12 และต่ำสุดอายุ 51 ปีขึ้นไป ร้อยละ 8
หน้า 30 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามประเภทบุคคลทั่วไ/วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา 8 8 มัธยมศึกษาตอนต้น 27 27 มัธยมศึกษาตอนปลาย 31 31 ต่ำกว่าปริญญาตรี 11 11 ปริญญาตรี 17 17 สูงกว่าปริญญาตรี 5 5 อื่นๆ 2 2 รวม 100 100 จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีวุฒิการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 31 รองลงมามัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 27 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ร้อยละ 17 วุฒิ การศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 11 วุฒิการศึกษาประถมศึกษา ร้อยละ 8 และต่ำสุดไม่ได้ระบุ อื่นๆ ร้อยละ 2 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละระดับการศึกษาของนักศึกษา กศน. กำลังศึกษาอยู่ในระดับ จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา 3 10 มัธยมศึกษาตอนต้น 11 36.67 มัธยมศึกษาตอนปลาย 16 53.33 รวม 30 100 จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามประเภทนักศึกษา กศน. ส่วนใหญ่กำลังศึกษาอยู่ใน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 53.33 รองลงมากำลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 36.67 และกำลังศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา ร้อยละ 10 2.2 ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้/การบริการ ตาราง 5 ค่าร้อยละความพึงพอใจจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม (N=100) ประเด็นคำถาม ระดับความพึงพอใจ ระดับ มากขึ้น ไป มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อยที่สุด 1.สถานที่มีความเหมาะสม 85 33 52 15 - - 2.สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม มีความเหมาะสม 94 45 49 6 - - 3.เนื้อหากิจกรรมมีความเหมาะสม 90 40 50 9 1 - 4.ขั้นตอนการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 87 24 63 13 - - 5.ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม 87 33 54 11 2 -
หน้า 31 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ตาราง 5 ค่าร้อยละความพึงพอใจจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม (N=100) (ต่อ) ประเด็นคำถาม ระดับความพึงพอใจ ระดับ มากขึ้น ไป มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อยที่สุด 6.การให้บริการของเจ้าหน้าที่ 92 27 63 9 1 - 7.ผู้รับบริการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 94 45 50 6 - - 8.ภาพรวมของการจัดกิจกรรม 93 43 50 7 - - รวม 90.00 36.25 53.75 9.50 0.50 - จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมห้องสมุด ประชาชนเคลื่อนที่ในภาพรวมอยู่ในระดับมากขี้นไป ร้อยละ 90 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าค่า ร้อยละความพึงพอใจ ระดับมากขึ้นไปสูงสุดคือ ข้อ 2 สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม ร้อยละ 94 และข้อ 7 ผู้รับบริการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ร้อยละ 94 รองลงมา คือข้อ 8 ภาพรวมของการจัดกิจกรรม ร้อยละ 93 ข้อ 6 การให้บริการของเจ้าหน้าที่ ร้อย ละ 92 ข้อ 3 เนื้อหากิจกรรมมีความเหมาะสม ร้อยละ 90 ข้อ 4 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม และข้อ 5 ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ร้อยละ 87 และต่ำสุดคือข้อ 1 สถานที่มีความเหมาะสม ร้อยละ 85 ตารางที่ 6 ระดับความพึงพอใจของผู้เขช้าร่วมกิจกรรม จำแนกรายคน (N=100) ระดับความพึงพอใจ จำนวน ร้อยละ มากที่สุด 36 36 มาก 54 54 ปานกลาง 10 10 น้อย - - น้อยที่สุด - - รวม 100 100 จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่มีระดับความพึงพอใจ ภาพร่วมต่อการใช้บริการสูงสุดเป็นลำดับแรก คือ ระดับ มาก ร้อยละ 54 รองลงมาคือ ระดับมาก ที่สุด ร้อยละ 36 และต่ำที่สุดคือระดับ ปานกลาง ร้อยละ 10 สรุปผู้เข้าร่วมกิจกรรมมึความพึงพอใจระดับมาก ขึ้นไป ร้อยละ 90 2.3 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะอื่นๆ - เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ที่อยู่ห่างไกล อยากให้มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในพื้นที่ อย่าง
หน้า 32 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว แบบสอบถามความพึงพอใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดยโสธร ............................................................................................... คำชี้แจง แบบสอบถามความพึงพอใจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสอบถามความความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ และนำผลที่ได้มาใช้ในการ พัฒนา การดำเนินงาน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ หน้าข้อความต่อไปนี้) 1. เพศ □ชาย □หญิง 2. อายุ □อายุต่ำกว่า 15 ปี □ 15 - 30 ปี □ 31 - 40 ปี □ 41 - 50 ปี □ 51 ปีขึ้นไป 3. ระดับการศึกษา (เลือกตอบเพียงข้อเดียว) 3.1 สำหรับบุคคลทั่วไป □ ประถมศึกษา □ มัธยมศึกษาตอนต้น □ มัธยมศึกษาตอนปลาย □ ต่ำกว่าปริญญาตรี □ ปริญญาตรี □ สูงกว่าปริญญาตรี □ อื่นๆ ระบุ............. 3.2 สำหรับนักศึกษา กศน. □ ประถมศึกษา □ มัธยมศึกษาตอนต้น □ มัธยมศึกษาตอนปลาย ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ (กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ หน้าข้อความที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด) ประเด็นคำถาม ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อยที่สุด 1.สถานที่มีความเหมาะสม 2.สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม มีความเหมาะสม 3.เนื้อหากิจกรรมมีความเหมาะสม 4.ขั้นตอนการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 5.ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม 6.การให้บริการของเจ้าหน้าที่ 7.ผู้รับบริการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 8.ภาพรวมของการจัดกิจกรรม
หน้า 33 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ......................................................................................................
หน้า 34 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว คณะทำงาน ที่ปรึกษา นายมนตรี เวียงอินทร์ ผู้อำนวยการ คณะทำงาน นางสาวชิษณุชา บุญพรม ครู นายพงษ์ศักดิ์ ยืนสุข ครู นางสาวชลภัสสรณ์ บุญอาจ บรรณารักษ์ปฏิบัติการ นางจินตนา สืบชัย ครูอาสาสมัคร กศน. นายนพรัตน์ เดชพันธ์ ครูอาสาสมัคร กศน. นางทิพย์วิมล วรภูมิ ครู กศน.ตำบล นายวินัย กกฝ้าย ครู กศน.ตำบล นางพุทธา แวงวรรณ ครู กศน.ตำบล นางกรกมล วุฒิชาติเกรียงไกร ครู กศน.ตำบล นางณัฐธยาน์ คำอาจ ครู กศน.ตำบล นายจักรพงษ์ พิเมย ครู กศน.ตำบล นายทวีศักดิ์ ทองปาน ครู กศน.ตำบล นางชนาพร คชธานี ครู กศน.ตำบล นายสุริยันต์ ไชยช่วย ครู กศน.ตำบล นางกนกพร สารคำ ครู กศน.ตำบล นางสาวอภิญญา พาสุข ครู กศน.ตำบล นางสาวสุดาวรรณ พรมลี ครู กศน.ตำบล นายชัยสิทธิ์ สิงห์คำ ครู กศน.ตำบล นายศุภกิจ อุปสาร ครู กศน.ตำบล นายสุริยา ปะรัยนุ ครู กศน.ตำบล นางสาวเมญาดา จันทร์แสงสุก นักจัดการงานทั่วไป นางสาวชลธิชา อุ่นเจริญ บรรณารักษ์ นางสาววิราพร คำวิไชย บรรณารักษ์ นางสาวจินตรา หงษา พนักงานบริการ นายภูวนัย จงกลาง พนักงานบริการ ผู้จัดทำ/รวบรวม/เรียบเรียง นางสาวชลภัสสรณ์ บุญอาจ บรรณารักษ์ปฏิบัติการ นางสาวชลธิชา อุ่นเจริญ บรรณารักษ์ นางสาววิราพร คำวิไชย บรรณารักษ์ ออกแบบปก/รูปเล่มและพิมพ์ตรวจอักษร นางสาวชลภัสสรณ์ บุญอาจ บรรณารักษ์ปฏิบัติการ
หน้า 35 รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่รูปแบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “การอ่านและการเรียนรู้” (Read & Learn) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดยโสธร : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคำเขื่อนแก้ว