ชือ่ นวัตกรรม Think-Pair-Share ร่วมกบั การจัดการเรียนรดู้ ว้ ยโปรแกรม Scratch
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและทกั ษะการคิดแก้ปัญหาของนกั เรียน
รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
ครูผู้พฒั นานวตั กรรม นางสาวอรทัย ไพรสว่าง
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
*************************************************************************
1. ความเป็นมาและความสำคัญ
ในยุคปัจจุบัน เป็นยุคท่ีเทคโนโลยีมีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ท้ังด้าน การใช้ชีวิต
การทำงาน การสื่อสาร การคมนาคม และโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการศึกษา เทคโนโลยีได้ เข้ามามีบทบาท
อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการนำอุปกรณ์เทคโนโลยีมาเป็นสื่อการเรียนรู้ การสร้าง เว็บไซต์เพื่อการศึกษาท่ีเพิ่ม
ความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงเน้ือหาการเรียน หรือการใช้เว็บไซต์ และแอพพลิเคช่ันที่ส่งเสริมความรู้
เฉพาะด้านท่ีสามารถเข้าถึงได้ง่ายทุกที่ทุกเวลาทั้งแบบออนไลน์หรือ ออฟไลน์ ซึ่งการนำเว็บไซต์หรือแอพล
ลิเคชั่นท่ีส่งเสริมความรู้เฉพาะด้านของนักเรียนมาใช้ในการเรียน การสอนวิชาน้ันจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริม
นกั เรียนในด้านนัน้ มากย่ิงขนึ้
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานมีหลักการและจุดหมาย มี
มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พ้ืนฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล ในปีพุทธศักราช 2561 สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทักษะของผู้เรียนให้ดำรงชีวิต
อยู่ได้อย่างมีคุณภาพใน ศตวรรษท่ี 21 จึงได้ปรับเปล่ียนหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไปสู่
หลักสูตรวิทยาการ คำนวณท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขนั้ ตอนและ
เป็นระบบ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ และเป็นผ้ทู ่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมในการใช้วทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ จึงได้บัญญัติรายวิชาวิทยาการคำนวณ (Computing science) ซึ่งเป็นวิชา ที่
มุ่งเน้นการเรียนการสอนให้เด็กสามารถคิดเชิงคำนวณ (Computational thinking) มีความรู้ พื้นฐานความรู้
ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital technology (รศ.ยืน ภู่วรวรรณ , 2561) ผู้วิจัยได้ศึกษา โปรแกรม Scratch
ท่ีมาจากหลักสูตรวิทยาการคำนวณ โปรแกรม Scratch คือ เคร่ืองมือสำหรับการ ใช้โปรแกรมด้วยภาพท่ี
สามารถดาวน์โหลดใช้ได้ฟรี สำหรับนักเรียน นักวิชาการ ครู ผู้ปกครองที่มี เคร่ืองมือเมนู สร้างการ์ตูน เกม
อย่างง่าย และเป็นก้าวสำคัญที่จะพัฒนาไปสู่การเขียนโปรแกรม ระดับสูงโปรแกรม Scratch สามารถเรียนรู้
แล้วออกแบบโครงงาน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เกม รวมท้ังการสร้างแบบจำลอง และการทดลอง แล้วยัง
สร้างสื่อการสอน แบบเล่านิทาน เพื่อให้ผู้เรียนมี ความสามารถจะต้องมีกระบวนการคิดท่ีเป็นระบบ (Logical
2
Thinking) ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นขั้นตอน สิ่งหน่ึงที่ขาดไม่ได้คือการสื่อสาร และการมีความ
ร่วมมือในการทำงานกับผู้อื่น น่ันเอง หากผู้เรียนมีความสามารถในทุก ๆ ด้านแต่ไม่สามารถสื่อสารและทำงาน
ร่วมกับผู้อ่ืนได้ ศักยภาพจะไม่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียน ผู้วิจัยจึงเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้สื่อสาร
และ รว่ มมือกันทำงานกบั เพอ่ื นในช้นั เรยี น คือ การจัดการเรียนรู้แบบ Think-Pair-Share
รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เป็นรายวิชาที่ศึกษาแนวคิดเชิงคำนวณ การ
แก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ และฟังก์ชันองค์ประกอบ และ
หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร แนวทางการปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่ เหมาะสม
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมคี วามรบั ผิดชอบ วิธกี ารสร้างและกำหนดสทิ ธคิ วามเป็น เจ้าของผลงาน นำ
แนวคิดเชิงคำนวณไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปญั หาในชีวิตจริง สร้างและกำหนดสิทธิ์การ
ใช้ข้อมูล ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพร่ข้อมูล ตัวชี้วัดของรายวิชา วิทยาการคำนวณระดับ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้แก่ ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการ แก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบใน
ชีวิตจริง ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการ แก้ปัญหา อภิปรายองค์ประกอบและ
หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี การส่ือสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น
และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงาน
ผู้วิจัยจึงได้เลือกเน้ือหาของการเขียน โปรแกรม และตัวช้ีวัดที่ 2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและ
ฟังก์ชันในการแก้ปัญหา การคิดแก้ปัญหา คือ วิธีคิดแบบหน่ึงท่ีต้องอาศัยความรู้ความคิดรวบยอด และ
ประสบการณ์ เดิมที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันท่ีเป็นปัญหา เพื่อให้ได้คำตอบและ
การ แก้ไขปัญหาอยางมีข้ันตอน การแก้ปัญหาเป็นทักษะท่ีสําคัญอย่างหน่ึงท่ีต้องได้รับการพัฒนาและ ฝึกฝน
เนื่องจาก เป็นการดําเนินการเพ่ือให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย โดยต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์ และความคิด
มาใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างมีคุณภาพและ สําเร็จได้น้ัน
จําเป็นต้องมีการเลือกใช้วิธีการหรือกระบวนการในการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด ซึ่งครูผู้สอน สามารถที่จะพัฒนา
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาของผู้เรียนได้ โดยใช้ระบบการเรียนการสอนที่มุ่ง พัฒนากระบวนการแก้ปัญหา
(สุกัญญา ศรีสาคร, 2547 : 68) เป็นแบบแผนหรือวิธีการซ่ึงอยู่ใน สภาวะท่ีมีความยุ่งยากลำบากหรืออยู่ใน
สภาวะท่ีพยายามตรวจข้อมูลที่ทำมาได้ซ่ึงมีความเกี่ยวข้องกับ ปัญหา มีการต้ังสมมติฐานและการตรวจสอบ
สมมติฐาน ภายใต้การควบคุมมีการเก็บข้อมูลจากการ ทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์น้ันว่าจริงหรือไม่ (กู๊ด
Good, 3 : 518) บทบาทและวธิ ีสอนของครูมี ความสำคัญในการพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของ
นักเรียน การจัดการเรียนรู้แบบ Think-Pair-Share เป็นเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือระหว่างนักเรียน 2 คน
ท่ีจับคู่กัน แล้วช่วยกันแบ่งปันความคิดในประเด็นปัญหา หลังจากท่ีร่วมกันคิดเป็นคู่แล้ว จึงนำ ความรู้ที่ได้ไป
เสนอให้เพื่อนร่วมชน้ั เรยี นได้รบั ฟัง เพื่อให้เกดิ การวเิ คราะหว์ ิจารณ์ผลร่วมกนั ท้ังชั้น 3 Millis, Barbara J. and
Cottell, Philip G. (1998: 73-74) ได้กล่าวถงึ เทคนิค Think-Pair-Share ว่า ในการเริม่ กิจกรรมการเรียนการ
สอนด้วยเทคนิค Think-Pair-Share ครูตั้งคำถามท่ีต้องใช้ความเข้าใจ มักเป็นคำถามแบบการสอบสวนให้
นักเรียนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง จากนั้นให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน ร่วมชั้นอีกคนหนึ่ง เพ่ืออภิปรายการตอบ
คำถาม เมื่อได้ข้อสรุป นักเรียนยกมือเสนอคำตอบต่อเพื่อนใน ช้ันเรียนและก่อนที่ครูจะให้นักเรียนคู่น้ัน เสนอ
คำตอบควรรอเวลาให้นักเรียนคิดหาคำตอบได้ก่อน และเพื่อให้นักเรียน มีโอกาสในการท่องคำตอบกับเพื่อน
3
ก่อนท่ีจะพูดในชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิด การคิดแก้ปัญหาร่วมกับเพ่ือนในช้ัน ผู้วิจัยจึงได้เลือกใช้วิธีการ
จดั การเรียนรู้นี้ เพ่ือให้นักเรียนแต่ละคน ได้คิดแก้ปัญหาอย่างสูงสุดกับคู่คิดของตนเอง และสามารถนำวิธีการ
แก้ปัญหาของคู่ตนเองเสนอต่อ เพ่ือนคู่อื่น ๆ ในชั้นเรียนได้ ซึ่งการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวสามารถช่วยส่งเสริม
การคิดแก้ปัญหาของ นักเรียนจากการเรียนด้วยโปรแกรมScratch ได้ ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายหน่ึงของผู้วิจัย ด้วย
เหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยการจัดการ
เรียนรู้ด้วยโปรแกรม Scratch รว่ มกับการจัดการเรียนรูแ้ บบ Think-Pair-Share เพ่ือนําผลการวิจัยคร้ังน้ีไปใช้
เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรทู้ ส่ี ่งเสริมการคดิ แก้ปญั หาได้อยา่ ง มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขนึ้
Think-Pair-Share กิจกรรมการสอนแบบเพ่ือนคู่คิด เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด การสื่อสาร ฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดีกล้าแสดงความคิดเห็น การสอน
แบบเพ่ือนคู่คิด (Think Pair Share) เป็นกิจกรรมหนึ่งของการเรียนรู้แบบร่วมมือประกอบด้วย ๓ ขั้นตอน
ได้แก่ Think หมายถึง การทา้ ทายให้นักเรยี นได้คดิ และไตร่ตรอง Pair หมายถึง การจัดให้นักเรียนจับคู่กันเป็น
คู่ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน Share หมายถึง สรุปผลหาคำตอบร่วมกัน เพ่ือแลกเปล่ียนความรู้ ซึ่งวิธีการ
ดังกล่าวจึงคิดว่าการนำกิจกรรมการสอนแบบเพ่ือนคู่คิด (Think Pair Share) มาใช้เป็นกระบวนการเพ่ือ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสง่ เสริมการคิดแกป้ ัญหาของนักเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศกึ ษา
ปีท่ี 2 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีคุณภาพเป็นไปตามหลักสูตรและสามารถดำเนินชีวิตได้อย่าง
เหมาะสมตามยุคศตวรรษท่ี 21 ผู้วิจัยจึงนำเทคนิคการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Think Pair Share) มา
พัฒนาการเรียนการสอนในวชิ าวิทยาการคำนวณ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนศรกี ระนวนวทิ ยาคม
2. วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย
2.1 เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ท่เี รียนวิชาวทิ ยาการคำนวณ
หน่วยการเรยี นรู้ การแกป้ ญั หาด้วย Scratch ให้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70
2.2 เพือ่ พฒั นาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ทีเ่ รยี นวชิ าวทิ ยาการคำนวณ
หนว่ ยการเรยี นรู้ การแก้ปัญหาดว้ ย Scratch ให้ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 70
3. กระบวนการพัฒนานวตั กรรม/ข้ันตอน
3.1 การศกึ ษาเอกสารแนวคิดหลกั การ
3.2 การเลอื กและการวางแผนสรา้ งนวัตกรรม
3.3 สร้างและหาประสทิ ธิภาพ ตรวจสอบคุณภาพโดยผเู้ ช่ียวชาญและทดสอบหาประสทิ ธภิ าพกับนกั เรียน
ทไี่ ม่ใช่กลมุ่ ตัวอยา่ งและนำไปใช้กับนักเรยี นกล่มุ ตวั อย่าง
3.4 ศึกษาผลการนำไปใช้นำนวัตกรรมไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/1
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม และทดสอบผล ประเมินผลการใช้ด้วยวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิง
คณุ ภาพ
4
3.5 ประเมินผลด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบเพ่ือนคู่คิด (Think-Pair-Share) รายวิชาวิทยาการคำนวณ หน่วยการเรียนรู้
การแก้ปญั หาดว้ ย Scratch
รปู แบบนวัตกรรม/โมเดล
รปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบ Think-Pair-Share
Think-Pair-Share หมายถึง เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือแบบหน่ึง ท่ีให้นักเรียนได้คิด อภิปราย
แก้ปัญหาหรือค้นหาคำตอบร่วมกัน โดยเริ่มจากครูตั้งคำถามหรือสถานการณ์ปัญหา ให้แก่นักเรียนทั้งช้ัน ให้
นักเรียนแตล่ ะคนมอี ิสระในการคิดหาคำตอบด้วยตนเองก่อน แล้วจึงนำคำตอบของตนเองไปอภิปรายกับเพ่ือน
ท่ีจับคู่เพ่ือหาข้อสรุปร่วมกัน และนำผลที่ได้ไปอภิปรายร่วมกับช้ันเรียนอีกครั้ง เพ่ือให้ได้ข้อสรุปท่ีถูกต้อง
ร่วมกันจากชัน้ เรยี น
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค ThinkPair-Share เป็นการจัดการเรียนรู้โดยให้
นักเรียนจับคู่กัน 2 คน แลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกันเพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจในเน้ือหา
โดยในงานวิจัยนีผ้ ู้วจิ ัยใช้เทคนคิ การจัดการเรียนรแู้ บบ Think-Pair-Share โดยมีขน้ั ตอน ดงั น้ี
1. Think ครกู ระตุ้นการคดิ ของนกั เรียนโดยปอ้ นคำถามหรือสงั เกตการณ์
2. Pair ใช้การจับคู่กันตามที่กำหนดให้ เช่น จับคู่กับเพื่อนที่น่ังใกล้ๆ กนั หรอื กับเพือ่ นท่ีน่ังโต๊ะติดกัน
นักเรียนแตล่ ะคู่ร่วมกันพดู คยุ เกย่ี วกบั คำตอบทแ่ี ตล่ ะคนหามาได้
5
3. Share หลังจากที่นักเรียนช่วยกันคิดภายในคู่ของตนเอง ครูจะเรียกนักเรียนแต่ละคู่ให้มา
แลกเปลีย่ นความคดิ ในคู่ของตนกับนักเรียนท้ังห้องเรยี น
4. ผลการดำเนินงาน (ผลผลติ /ผลลัพธ)์
4.1 ผลการพัฒนานกั เรียน
4.1.1 ผลการพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนจากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี นท่ีเรยี นโดยใช้
รูปแบบ Think-Pair-Share (N = 40)
จำนวนนกั เรียน คะแนนเตม็ คะแนนสงู สดุ คะแนนต่ำสดุ คะแนนเฉลีย่ ( X ) รอ้ ยละคะแนนเฉลยี่
40 40 38 19 29.65 74.13
จากตารางที่ 1 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมีคะแนนเฉล่ยี 29.65 คิดเป็นร้อยละ
74.13 ซึ่งสูงกวา่ เกณฑ์ทต่ี ้ังไว้ คือร้อยละ 74.13 ข้ึนไป โดยมคี ะแนนสูงสดุ เทา่ กบั 38 คะแนน และมีคะแนน
ตำ่ สุด เท่ากบั 19 คะแนน
4.1.2 ผลการพฒั นาทักษะการแกป้ ัญหา
ตารางท่ี 2 แสดงคะแนนจากการวัดทักษะการแก้ปญั หาของนกั เรียนที่เรยี นโดยใช้รูปแบบ
รูปแบบ Think-Pair-Share (N = 40)
จำนวนนักเรียน คะแนนเตม็ คะแนนสงู สดุ คะแนนต่ำสดุ คะแนนเฉล่ยี ( X ) รอ้ ยละคะแนนเฉล่ยี
40 40 38 29 33.23 83.06
จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนมีทักษะการแกป้ ัญหา โดยมีคะแนนเฉลี่ย 33.23 คดิ เป็นร้อยละ 83.06 ซงึ่ สูงกว่า
เกณฑ์ที่ต้ังไว้ คือรอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป โดยมคี ะแนนสงู สุด เทา่ กบั 38 คะแนน และมีคะแนนต่ำสุด เท่ากบั 29
คะแนน
ดังน้ัน สรุปได้ว่า การใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Think-Pair-Share ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ด้วย
โปรแกรม Scratch เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น และการคิดแก้ปญั หา เรื่อง การแก้ปญั หาดว้ ย Scratch
ทำให้นักเรียนคิดแก้ปัญหาได้เป็นขั้นตอน วางแผนการแก้ปัญหาได้ ครูได้พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการ
สอน นักเรียนและครูมีคุณภาพส่งผลให้สถานศึกษามีคุณภาพ ผลงานและความสามารถของนักเรียน และ
กระบวนการฝึกลำดับการคิดวิเคราะห์ นำไปต่อยอดในการเรียนขั้นสูงหรือในการดำเนินชีวิตประจำวันต่อไป
ยอ่ มเป็นบุคคลท่ีมคี ณุ ภาพของสงั คมและประเทศชาตติ ่อไป
6
5. ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับและการนำไปใช้
5.1 เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Scratch ร่วมกับ การ
จดั การเรียนรู้แบบ Think-Pair-Share ที่ส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนในขอบข่ายเนื้อหา หรือรายวิชา
อนื่ ๆ
5.2 เป็นแนวทางในการจดั การเรียนรทู้ ี่ส่งเสริมให้นกั เรยี นเกิดการคิดแก้ปญั หาในรายวิชาอื่น ๆ
5.3 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ หน่วยการ
เรียนรู้ การแก้ปญั หาด้วย Scratch ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70
5.4 ทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ หน่วยการ
เรียนรู้ การแกป้ ัญหาด้วย Scratch ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 70
6. ปจั จัยทำให้ประสบผลสำเรจ็
6.1 ด้านผู้เรยี น
6.2 ดา้ นอาคาร สถานที่
6.3 คอมพวิ เตอร์ และอุปกรณใ์ นการจดั การเรยี นการสอนมีพรอ้ มครบถ้วน
7. บรรณานุกรม/อ้างอิง
กฤษดา สกุลน่มุ . (2562). การพฒั นาทกั ษะการใช้โปรแกรม Scratch ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษา
ปที ี่ 2 โดยใช้วิธีการเรยี นร้แู บบเพื่อนชว่ ยเพื่อน. เข้าถึงไดจ้ าก :
http://www.thaischool.in.th/_files_school/75100216/document/75100216_0_2
0200311-142550.pdf (วันทส่ี ืบค้นข้อมูล :15 มนี าคม 2564)
สบุ รรณ ต้งั ศรเี สรี. (2556). ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชว้ ธิ สี อนแบบค้นพบจากการช้ีแนะ
รว่ มกบั เทคนิคTHINK-PAIR-SHARE ทมี่ ีต่อความสามารถในการส่อื สารและ
ความสามารถในการเชอ่ื มโยงความรู้ทางคณิตศาสตรข์ องนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2.
เข้าถงึ ได้จาก : https://madlab.cpe.ku.ac.th/TR2/?itemID=484272 (วันท่ีสบื คน้ ข้อมลู
: 15 มีนาคม 2564)
8. รปู ภาพประกอบ
7
8