The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชื่อผลงาน การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุรเชษฐ์ ตั้งสกุล, 2024-03-24 03:05:05

ชื่อผลงาน การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล

ชื่อผลงาน การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล

บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ ที่ ศธ 07050.07/ วันที่ 20 เดือน มีนาคม พ.ศ.๒๕๖7 เรื่อง ส่งผลการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ(Best Practice) เรื่อง การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล เรียน ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ ตามที่ ข้าพเจ้านายสุรเชษฐ์ ตั้งสกุล ตำแหน่ง ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ได้ดำเนินการจัดทำ สื่อ การ จัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล เพื่อใช้ในการจัดสงเสริม และ สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อคุณวุฒิตามระดับ หรือการเรียนรู รูปแบบอื่น เพื่อเป็นแนวทางในการทำงานและพัฒนางานให้เกิดประสิทธิภาพสู่การปฏิบัติงานที่ดีของครูผู้สอน บัดนี้ ข้าพเจ้า ได้ดำเนินการจัดทำผลการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ(Best Practice) ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖7 ชื่อผลงาน การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล เพื่อใช้ในการจัดสงเสริม และสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อคุณวุฒิ ตามระดับ หรือการเรียนรูรูปแบบอื่น ได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอผลการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 พร้อมเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ (นายสุรเชษฐ์ ตั้งสกุล) ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นของผู้บริหาร ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายสนั่น เตชะนอก) ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ


ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ข้าพเจ้าขอรับรองว่า นายสุรเชษฐ์ ตั้งสกุล ตำแหน่ง ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ศกร.ตำบลหนองไผ่อำเภอ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ อุทิศเวลา เสียสละ ทุ่มเท ในการปฏิบัติหน้าที่ อย่างความสามารถ ให้กับทางสถานศึกษา ชุมชน ด้วยความเต็มใจ ประพฤติปฏิบัติตนมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา และปฏิบัติ จรรยาบรรณของวิชาชีพหน้าที่เป็นผู้ใฝ่ศึกษาค้นคว้าความรู้ พัฒนาตนและเอาใจใส่งานที่ได้รับผิดชอบ ทำให้ผลงานบรรลุ เป้าหมาย สามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ลงชื่อ (นายสนั่น เตชะนอก) ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ


คำนำ รายงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ(Best Practice) ศกร.ตำบลหนองไผ่อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิได้ ดำเนินการจัดโดยรวบรวมผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและผลการปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นเลิศจากการรวบรวมผลการ ปฏิบัติงานในชุมชน เพื่อส่งผลแนวทางการปฏิบัติงานที่เป็นทียอมรับของชุมชน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ โดย ศกร.ตำบลหนองไผ่อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิขอขอบคุณผู้มี ส่วนเกี่ยวของ รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่สนับสนุนและประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการ การเรียนรู้ที่ได้มีส่วนร่วมให้การ ดำเนินของการจัดสงเสริม และสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อคุณวุฒิ ตามระดับ หรือการเรียนรูรูปแบบอื่น ประสบความสำเร็จ ดังปรากฏรายละเอียดในรายงานฉบับนี้ ซึ่งเป็นข้อมูลและ สารสนเทศที่สำคัญ ในการพัฒนางานการจัดสงเสริม และสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อคุณวุฒิตามระดับ หรือการเรียนรูรูปแบบอื่น ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขั้นต่อไป นายสุรเชษฐ์ ตั้งสกุล ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ผู้จัดทำ


สารบัญ เนื้อหา หน้า 1. ความเป็นมาและความสำคัญ 1 2. ลักษณะสำคัญของวิธีปฏิบัติที่ดี 2 3. วัตถุประสงค์ ๒ 4. เป้าหมาย ๒ 5. ผลการดำเนินงาน ๓ 6. ปัจจัยความสำเร็จ ๔ 7. บทเรียนที่ได้รับ ๔ 8. การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ ๕ 9. การเผยแพร่ ๖


๑ 1. ชื่อผลงาน การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล 2.ชื่อเจ้าของผลงาน นายสุรเชษฐ์ ตั้งสกุล ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน 3.สถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ 4.ความเป็นมาและความสำคัญ กรมส่งเสริมการเรียนรู้เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดสงเสริม และสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การ เรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อคุณวุฒิตามระดับ หรือการเรียนรูรูปแบบอื่น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา บุคคลใหมีความสมบูรณทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปัญญา เป็นคนดี มีวินัย รูจักสิทธิควบคูกับหนาที่และ ความรับผิดชอบ ภูมิใจและตระหนักในความสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเป็นประมุข รูจักรักษาประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รูจักความพอเพียง มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ใฝเรียนรูมีความรอบรูรอบคอบ ระมัดระวัง มีคุณธรรม และมีความซื่อสัตยสุจริตโดยได้ กําหนดจุดเน้นการดําเนินงาน กรมส่งเสริมการเรียนรู้ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖7 ๑. สร้างโอกาสในการเขาถึงการเรียนรูอย่างทั่วถึงและเทาเทียม ๑.๑ จัดทำระบบหรือแพลตฟอรมการเรียนรู (Digital Learning Platform) รวมทั้ง แอปพลิเคชั่น หรือสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพครบวงจรเพื่อการเรียนรูในชองทางเรียน รูรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air ประชาชนสามารถเขาถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime) 2. ยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ๒. ยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู๒.๑ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โปรแกรม การเรียนรูสื่อการเรียนรูและวิธีการจัดกระบวน การเรียนรูที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เหมาะสมและเป็นไปตามสภาพ ความตองการ และความถนัด สอดคลอง กับสภาวการณของประเทศและทันตอการเปลี่ยนแปลงโลก โดยมุ่งพัฒนา ประชาชนทุกชวงวัยใหมีทักษะที่เหมาะสม และจำเป็นตอการดำรงชีวิต จบแลวมีงานทำสอดคลองกับความตองการของ ตลาดแรงงาน ปัจจุบันประเทศไทยให้ความสำคัญกับการยกระดับและการขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ การจัดการเรียนการสอนของกรมส่งเสริมการเรียนรู้เพราะยังมีคนจำนวนมากที่ยังเข้าไม่ ถึงการศึกษาในระบบ เนื่องจากข้อจำกัดบางประการ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องฐานะทางเศรษฐกิจ หรือการที่ต้องเข้าสู่ภาค แรงงานก่อนวัยอันควร ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และเพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ให้กับผู้ที่ขาดโอกาสทางการศึกษาในระบบโรงเรียน โดยให้มีฐานะเป็นหน่วยในการจัดกิจกรรมการจัดสงเสริม และ สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อคุณวุฒิตามระดับ หรือการเรียนรู รูปแบบอื่น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงการศึกษาได้ ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยมีภารกิจเป็นทั้งศูนย์การเรียนรู้ (จัดกิจกรรมการจัดสงเสริม และสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูเพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรูเพื่อ ค ุ ณ ว ุ ฒ ิ ต า ม ร ะ ดับ ห ร ื อ ก า ร เ ร ี ย น รูร ู ป แ บ บ อื่น (เ ป ็ น ส ถ า น ท ี ่ ใ ห ้ ช ุ ม ช น ไ ด ้ ม า พ บ ป ะ เ ส ว น า แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดกิจกรรมต่างๆ)ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ศกร.ตำบลนั้นถูกตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เป็น ทางเลือกให้กับประชาชนที่อยู่ในชุมชนและท้องถิ่นอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพื่อให้การเรียนรู้เกิดความต่อเนื่อง การเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ ซึ่งมีมีองค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการติดต่อสื่อสาร ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและการประเมินผล รูปแบบการเรียนการสอนที่มี ความหลากหลายวิธีที่ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้การพิจารณาองค์ประกอบและรูปแบบที่สอดคล้อง เหมาะสมกับลักษณะวิชาและบริบทของผู้เรียนจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ


๒ ออนไลน์ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่ง เ ป ็ น ส ื ่ อ ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น ท ี ่ ม ี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ส ำ ห ร ั บ ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ทุก เ ว ลา เ ห ม า ะ ก ั บ ก า รจั ด ก า รเ รี ย นก า รสอ น แ บ บ พ บ ก ลุ ่ ม ข อ ง นั กศึ ก ษ า ศก ร .ซ ึ ่ งป ร ะก อบด้วย ๑.โครงสร้างสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์สร้างจาก QR CORD ๒.สื่อหนังสือเรียนและใบความรู้ ทุกระดับ ใน รูปแบบ คลังความรู้ วิชาการ ศกร.ตำบล ๓.สื่อหนังสือเรียนและใบความรู้ ในรูปแบบ E-BOOK ๔.แบบทดสอบ เ ก ็ บ คะ แ น น ๕ .แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น คว า ม พ ึ งพ อ ใจก า รใช้ สื ่ อ ก า ร เ รี ย นก า ร สอ นแ บ บ อ อ นไลน ์ โ ด ย น ำ เนื้อหาทั้งหมดมารวบรวมให้เป็นเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นสื่อการสอน และนำมาเผยแพร่ให้ผู้เรียนใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ ได้อย่างสะดวก 5. วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ได้ทุกที่ทุกเวลา 6. วิธีการดำเนินงาน ระยะที่ 1 ขั้นวิเคราะห์การวิเคราะห์เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน ผู้ออกแบบจะต้องกำหนดความจำเป็น ในการเรียน ทำการวิเคราะห์เนื้อหาหรือกิจกรรมการเรียนการสอน ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น แ ล ะ ว ั ต ถ ุ ป ร ะ ส ง ค ์ ข อ ง ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น เ พ ื ่ อ ร ว บ ร ว ม ข ้ อ มู ล สำหรับใช้เป็นแนวทางในการกำหนดขอบเขตของบทเรียน ขั้นการวิเคราะห์ประกอบด้วย ขั้นตอนย่อย ดังนี้ ๑.๑ วิเคราะห์ความจำเป็น (Need Analysis) คือการวิเคราะห์เพื่อกำหนดเลือกว่าควรจัดการเรียนการสอน เกี่ยวกับอะไร โดยอาจหาข้อมูลจากความต้องการของผู้เรียน หรืออาจหาข้อมูลจากการกำหนดความจำเป็น ปัญหาขัดข้อง หรืออุปสรรคที่ทำให้การเรียนการสอนไม่บรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ และพิจารณาว่ามีความจำเป็นหรือไม่ที่ จะต้องจัดการเรียนการสอน หากจำเป็นหรือสมควรจัด และควรจัดอย่างไร ๑.๒ วิเคราะห์เนื้อหา หรือ กิจกรรมการเรียนการสอน (Content and Task Analysis) คือ การวิเคราะห์เพื่อ จัดการเรียนการสอนให้ครอบคลุม หรือสอดคล้องกับความต้องการ ความจำเป็นในการเรียนการสอน โดยพิจารณาอย่าง ละเอียดด้านเนื้อหา มีการแบ่งเนื้อหาเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อย ๆ เพื่อให้มีความชัดเจน กำหนดเลือกกิจกรรมการ เรียนการสนที่เหมาะสมที่จะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓ วิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristic) เป็นการวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อมูลสำหรับการ จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยวิเคราะห์ทั้งลักษณะทั่วไป เช่น อายุ ระดับ ความรู้ความสามารถ เพศ สังคม วัฒนธรรม เป็นต้น และควรวิเคราะห์ ลักษณะเฉพาะของผู้เรียนด้วย เช่น ความรู้พื้นฐาน ทักษะความชำนาญ หรือ ความถนัด รูปแบบการเรียน ทัศนคติ เป็นต้น ๑.๔ วิเคราะห์วัตถุประสงค์ (Analyze Objective) วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน คือ จุดหมายปลายทางที่ กำหนดไว้เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนรู้ว่าเมื่อเรียนบทเรียนนั้น ๆ แล้วจะเกิดการเรียนรู้อะไรบ้าง ดังนั้นการกำหนด วัตถุประสงค์จึงต้องมีการวิเคราะห์อย่างละเอียดและรอบคอบ โดยอาจกำหนดจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายหลักของการ เรียนการสอนก่อน แล้วจึงกำหนดเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สามารถประเมินผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรมว่าผู้เรียน บรรลุผลการเรียนตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแยกเป็น ๓ ด้านคือ ตัวอย่าง ๑) วัตถุประสงค์ทางด้านพุทธิพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ ๒) วัตถุประสงค์ด้านจิตพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับความรู้สึก ค่านิยม ทัศนคติ ๓) วัตถุประสงค์ด้านทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับการกระทำหรือการปฏิบัติ ๑.๕ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Analyze Environment) วัตถุประสงค์การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการสอน


๓ เพื่อเป็นการเตรียมการล่วงหน้าว่า สถานที่ เวลา และบริบทในการเรียนการสอนที่จะดำเนินการนั้นจะอยู่ในสภาพใด เช่น ขนาดห้องเรียน อุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนที่จะใช้คืออะไร ระยะที่ 2 ขั้นการออกแบบ การออกแบบเป็นกระบวนการกำหนดว่าจะดำเนินการเรียนการสอนอย่างไร โดยมี การเขียนวัตถุประสงค์จัดทำลำดับขั้นตอนของการเรียน กำหนดวิธีสอน เลือกสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม และ กำหนดวิธีการประเมินผลว่าผู้เรียน บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ ขั้นการออกแบบประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ทั้ง ด้านการระบุวัตถุประสงค์ ระบุวิธี สอน ระบุสื่อการสอน และระบุวิธีการประเมินผล ประกอบด้วย ๑.โครงสร้างสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์สร้างจาก QR CORD ๒.สื่อหนังสือเรียนและใบความรู้ ทุกระดับ ในรูปแบบ คลังความรู้ วิชาการ ศกร.ตำบล ๓.สื่อหนังสือเรียนและใบความรู้ ในรูปแบบ E-BOOK ๔.แบบทดสอบ เก็บคะแนน ๕.แบบประเมินความพึงพอใจการใช้สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ระยะที่ 3 ขั้นการพัฒนา การพัฒนาเป็นกระบวนการดำเนินการเตรียมการจัดการเรียนการสอน หรือ สร้าง แผนการเรียนการสอน เลือกใช้สื่อการเรียนการสอนโดยพิจารณาสื่อที่มีอยู่ว่าเหมาะสมที่จะใช้ ควรปรับปรุงก่อนใช้หรือ ควรสร้างสื่อใหม่ และทำ การประเมินผลขณะดำเนินการพัฒนาหรือสร้างเพื่อปรับปรุง แก้ไขให้ได้ ระบบการเรียนการ สอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาแผนการเรียนการสอน พัฒนาสื่อการเรียนการสอน ประเมินผลขณะดำเนินการพัฒนา ขั้น การพัฒนาประกอบด้วยขั้นตอน ย่อย เช่น การพัฒนาแผนการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และการ ประเมินผลระหว่างดำเนินการพัฒนา ระยะที่ 4 ขั้นนำไปใช้นำสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เผยแพร่ให้ผู้เรียนในช่องทางต่างๆ เช่น เพท ศกร.ตำบล กลุ่ม Line Facebook ระยะที่ 5 ขั้นนำการประเมินผล การประเมินผลเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการออกแบบระบบการเรียน การสอน เพื่อประเมินผล ขั้นตอนต่าง ๆ ว่าเป็นไปตามที่ได้วางแผนหรือไม่ และทำการปรับปรุง แก้ไขให้ได้ระบบการสอน ที่มีประสิทธิภาพ 7. ผลการดำเนินงาน จากผลการดำเนินงานในไตรมาศ 1-ไตรมาศ 2 ปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมา ศกร.ตำบลหนองไผ่ นำเสนอ ผลการปฏิบัติงานที่ดี Best Practice ในหัวข้อผู้ประสบความสำเร็จการจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล ที่โดดเด่นในเรื่องการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ดังนี้ สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นสื่อการเรียนการสอน ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา ซึ่ง เหมาะกับการ จัดการเรียนการสอน แบบพบกลุ่ม ของ ศกร.ตำบล ซึ่งประกอบด้วย ๑.โครงสร้างสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์สร้าง จาก QR CORD ๒.สื่อหนังสือเรียนและใบความรู้ ทุกระดับ ในรูปแบบ คลังความรู้ วิชาการ ศกร.ตำบล ๓.สื่อหนังสือ เรียนและใบความรู้ ในรูปแบบ E-BOOK ๔.แบบทดสอบ เก็บคะแนน ๕.แบบประเมินความพึงพอใจการใช้สื่อการเรียน การสอนแบบออนไลน์โดยนำเนื้อหาทั้งหมดมารวบรวมให้ เป็นเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นสื่อการสอน และนำมาเผยแพร่ให้ผู้เรียน ใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ ได้ อย่างสะดวก ผลการใช้สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ พบว่า ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และมีทักษะในการใช้ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีในการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์และ แก้ปัญหาได้ ครูผู้สอนมี ความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการออกแบบสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์


๔ 8. ปัจจัยความสำเร็จ จากการจัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ประสบความสำเร็จได้จากผู้บริหารให้การสนับสนุน ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาในการปฏิบัติงานครู กศน .ตำบล ครูผู้สอนมีความเข้าใจในปัญหาและข้อจำกัดของนักศึกษา แต่ละคน จึงได้ทำการสำรวจและหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับจำนวนของนักศึกษาต่อการมาพบกลุ่มในแต่ละสัปดาห์ และครูผู้สอนมีความตระหนักถึงการหากระบวนการในการแก้ปัญหาและดำเนินการติดตามนักศึกษาที่ไม่มาพบกลุ่มและ ทำอย่างไรที่จะให้นักศึกษาได้รับความรู้กันอย่างทั่วถึง ด้วยการจัดรูแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ นักศึกษามีความ รับผิดชอบต่อตนเอง สามารถติดต่อประสานงานกันระหว่างนักศึกษาใน ศกร.ตำบลได้ มีการร่วมมือกับครูผู้สอนในการใช้ คลังความรู้ ศกร.ตำบล,QR-CORD E-BOOK เป็นย่างดีและสามารถพัฒนาผู้เรียนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 9. บทเรียนที่ได้รับ จากองค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ ๑. สะดวกในการเรียน การนำสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ มาใช้ในการจัดการศึกษา นั้นกระทำได้ ตลอดเวลา ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ตามความสนใจอย่างสะดวก ๒.เข้าถึงได้ง่าย ผู้เรียนสามารถเข้าไปเรียนรู้ได้อย่างง่าย โดยใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ตหรือคอมพิวเตอร์ ได้ ๓.ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมทั้งเนื้อหามีความทันสมัย และตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที ๔.ทำให้เกิดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียนในวงกว้างขึ้น เป็นการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๑๐.การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ ผู้บริหารให้การสนับสนุน ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาในการออบแบบรูปแบบการจัดการเรียนการสอบ แบบออนไลน์ จนส่งผลให้สถานศึกษามีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน ผ่าน เป้าหมายขั้นสูง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายภาคสูงขึ้น ๑๑. การเผยแพร่ ศกร.ตำบลหนองไผ่ ได้ขยายผลและเผยแพร่ สื่อการเรียน การสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ได้แก่ คลังความรู้ ศกร.ตำบล กลุ่ม Line เพจ Facebook ศกร.ตำบลหนองไผ่ รวมทั้ง ให้ บุคลากรศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ และยังเผยแพร่ให้ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน อำเภอใกล้เคียงนำไปใช้งานด้วย https://anyflip.com/ncbke/ibcc/


๕ https://sites.google.com/view/nongpaikk/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9% 81%E0%B8%A3%E0%B8%81 https://anyflip.com/ncbke/igvx/


ภาพประกอบผลการปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นเลิศ Best Practice เรื่อง การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล นายสนั่น เตชะนอก ผู้อำนวยการ ศกร.อำเภอแก้งคร้อ พร้อมคณะครู ศกร.อำเภอแก้งคร้อ ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๖ คณะครู ศกร.อำเภอแก้งคร้อ เข้าร่วมอบรมโครงการของสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดชัยภูมิ


ภาพประกอบผลการปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นเลิศ Best Practice เรื่อง การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล วิธีการสร้าง E-Book และการสร้าง QR-Cord สื่อการสอน E-Book


ภาพประกอบผลการปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นเลิศ Best Practice เรื่อง การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล Google Dive ศกร.ตำบลหนองไผ่


ภาพประกอบผลการปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นเลิศ Best Practice เรื่อง การจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน QR CORD คลังความรู้ ศกร.ตำบล คลังความรู้วิชาการ ศกร.ตำบลหนองไผ่


...


Click to View FlipBook Version