The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุนทรียทางดนตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuntanaporn Kawmanee, 2020-06-04 11:05:43

สุนทรียทางดนตรี

สุนทรียทางดนตรี

ดนตรี (music)
คือ เสียงและโครงสร้างทีจดั เรยี งอย่างเป็นระเบยี บ
แบบแผน ซึงมนุษยใ์ ช้ประกอบกิจกรรมศิลปะทีเกียวข้องกบั
เสียง โดยดนตรนี ันแสดงออกมาในด้านระดบั เสียง (ซึงรวมถึง
ท่วงทาํ นองและเสียงประสาน) จงั หวะ และคณุ ภาพเสียง
(ความต่อเนืองของเสียง พืนผิวของเสียง ความดงั ค่อย)
นอกจากดนตรจี ะใช้ในด้านศิลปะได้แลว้ ยงั สามารถใช้ในด้าน
สนุ ทรียศาสตร์ การสือสาร ความบนั เทิง รวมถึงใช้ในงานพิธี
การต่าง ๆ ได้

ความหมายของดนตรี ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน
พ.ศ.2525 เสียงทีประกอบกนั เป็นทาํ นองเพลง เครอื งบรรเลงซึงมี
เสียงดงั ทาํ ให้ร้สู ึกเพลิดเพลิน หรอื เกิดอารมณ์รกั โศกหรือรืนเริง

ดนตรีเป็นทงั ศาสตรแ์ ละศิลป์
เป็ นเรืองเกียวกบั เสียงเป็นการเรียบเรียง

จากจินตนาการอย่างมีหลกั การ
เพือให้เกิดเป็นบทเพลงทีมคี วามไพเราะ

สามารถถา่ ยทอดอารมณ์
และความร้สู ึกจากผปู้ ระพนั ธส์ ่ผู ้ฟู ังได้

ประเภทของดนตรี

1. ดนตรีสมยั นิยม Easy Music หรือทีทางตะวนั ตกเรียกวา่ Popular
Music ได้รบั ความนิยมจากประชาชนทวั ไป เช่น ดนตรีไทยสากลทงั
เพลงลูกทุ่ง ลกู กรงุ และวงดนตรีสากลทงั หลายในปัจจบุ นั ดนตรี
ประเภทยนีจะมีเพลงซึงได้รบั ความนิยมอยเู่ วลาหนึงกจ็ ะเสือมความ
นิ ยมลงและกจ็ ะมีเพลงใหม่ๆ เข้ามาแทนที
2. ดนตรีศิลปะ Art Music ดนตรีทีมแี บบแผนซบั ซ้อนและมีขนาดยาว
ต้องใช้ระยะเวลาในการฟัง จดั อย่ใู นดนตรีตะวนั ตกทีเรียกวา่ Serious
Music อยใู่ นรปู แบบดนตรคี ลาสสิก ดนตรรี ่วมสมยั ดนตรีแจส๊ และ
ดนตรีตามแบบแผนประเพณี อยา่ งดนตรีไทย

ขบวนการและตวั แทนศิลปะ

1. ตวั แทนทเี ป็นมนุษย์ ไดแ้ ก่ คตี กวี หรอื นกั ประพนั ธเ์ พลง เป็นผู้
สรา้ งสรรคผ์ ลงานหรอื ถ่ายทอด

2. ตวั แทนทเี ป็นเครอื งมอื ต่าง ๆ ช่วยเป็นสอื กลางในการเผยแพร่
ดนตรใี หก้ วา้ งไกลยงิ ขนึ ไดแ้ ก่ โทรทศั น์ วทิ ยุ ภาพยนตด์ นตรี
วดิ ทิ ศั น์ แผน่ เสยี ง ซดี ี ฯ

ระดบั ของการฟัง

1. ฟังแบบผา่ นหู (Passive Listening) เป็นการฟังโดยมไิ ดต้ งั ใจหรอื ฟัง
แบบผ่าน ๆ หู
2. การฟังดว้ ยความตงั ใจ (Sensuous Listening) การฟังดนตรปี ระเภท
นีเป็นระดบั การฟังทมี คี วามตงั ใจ ฟังมากขนึ กวา่ ระดบั ที 1

ระดบั ของการฟัง

3. การฟังอยา่ งเขา้ ถงึ อารมณ์ (Emotional Listening) การฟังดนตรปี ระเภทนี
ผฟู้ ังมจี ติ ใจและความรสู้ กึ จดจ่อต่อเพลงทตี นชอบฟังไปตาม อารมณ์หรอื มี
ปฏกิ ริ ยิ าต่อเสยี งดนตรมี ากขนึ ฟังเนืองจากดนตรที าํ ใหส้ นใจและเกดิ อารมณ์
รว่ มไปกบั อารมณ์ตา่ ง ๆ ทเี ขาคดิ วา่ เสยี งเพลงสอื ออกมา
4. การฟังโดยรบั รคู้ วามซาบซงึ (Perceptive Listening) การฟังประเภทนี
เป็นการฟังทผี ฟู้ ังเหน็ สนุ ทรยี ์ หรอื เหน็ ความงามขององคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของ
เสยี งดนตรโี ดยตรงซงึ อาศยั ความมสี มาธิ และมสี ภาพจติ ใจอารมณ์ทสี งบนิง
เป็นการเหน็ ความงามของการทอี งคป์ ระกอบต่าง ๆนนั มาสมั พนั ธก์ นั อยา่ ง
ลงตวั อยา่ งมศี ลิ ปะ องคป์ ระกอบพนื ฐานของดนตรี

องคป์ ระกอบของดนตรี

1. เสียงดนตรี ( Tone) เป็นเสยี งทมี นุษยป์ ระดษิ ฐ์ขนึ มา

โดยนําเสยี งต่างๆ มาจดั ระบบใหไ้ ดส้ ดั สว่ น มคี วามกลมกลนื กนั
โดยทวั ไปแลว้ เสยี งดนตรจี ะเกดิ จากเสยี งของเครอื งดนตรแี ละเสยี งรอ้ ง
เพลงของมนุษย์

1.1. คณุ สมบตั ิของเสียง

- ระดบั เสยี ง Pitch หมายถงึ ความสงู ตาํ ของเสยี ง
- ความยาวของเสยี ง Duration เสยี งดนตรอี าจอาจจะมี
ความแตกตา่ งกนั ในเรอื งของความยาวเสยี ง

- ความเขม้ ของเสยี ง Intensity เสยี งอาจจะมคี วาม
แตกต่างจากคอ่ ยไปจนถงึ ดงั คณุ สมบตั ขิ อ้ นีทาํ ใหเ้ กดิ จงั หวะทางดา้ นดนตรี

- คณุ ภาพของเสยี ง Quality คณุ ภาพของเสยี งแต่ละชนิด
ยอ่ มแตกต่างกนั ไปซงึ เกดิ จากคณุ สมบตั ทิ างกายภาพของการสนั สะเทอื น

1.2 ระบบเสียงในดนตรีไทยและดนตรสี ากล

ระบบเสยี งในดนตรไี ทยจะตา่ งไปจากระบบเสยี งในดนตรี
สากล เสยี งในดนตรไี ทยนนั จะหา่ ง 1 เสยี งเตม็ ทุกชว่ งเสยี ง แตเ่ สยี งทาง
ดนตรสี ากลจะมชี ว่ งเสยี งทเี ป็นครงึ เสยี ง

2. จงั หวะ (Rhythm) หมายถึง การเคลือนไหวทีสมาํ เสมอ อาจ

กาํ หนดไวเ้ ป็นความช้าเรว็ ต่างกนั ในทางดนตรีแล้วนัน การกาํ หนด
ความสนั ยาวของเสียงทีมสี ่วนสมั พนั กบั ระยะเวลาในการร้องเพลงหรือ
เล่นดนตรจี ะต้องมจี งั หวะเป็นเกณฑ์ ถ้ารอ้ งเพลงหรือเล่นดนตรีไมต่ รง
จงั หวะ กจ็ ะไมม่ คี วามไพเราะเท่าทีควร

2.1. จงั หวะในดนตรีสากล

- จงั หวะเคาะ Beat เป็นจงั หวะพนื ฐานทสี มาํ เสมอเทา่ กนั ตลอด
- อตั ราความเรว็ Tempo หมายถงึ ความเรว็ เป็นการกําหนด
ความชา้ เรว็ ของบทเพลงทขี นึ กบั ผแู้ ต่ง

- ลลี าจงั หวะ Rhythmic pattern โดยปกตใิ นทางดนตรจี ะ
มกี ารจดั กลมุ่ จงั หวะตบเป็น 2, 3, 4,.... ตามธรรมชาตขิ องความหนกั เบาของ
จงั หวะทตี บขนึ เนืองจากจงั หวะทางดนตรี การรวมกลุ่มจงั หวะทางดนตรี
เช่นนีวา่ ลลี าจงั หวะซงึ เป็นรปู แบบของดนตรที กี าํ หนดขนึ สาํ หรบั บทเพลง
แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 กลมุ่

1. กลุ่ม 2 จงั หวะ เช่น 2/4 เป็นลลี าจงั หวะ March
2. กลุ่ม 3 จงั หวะ เชน่ 3/4 เป็นลลี าจงั หวะ Waltx
3. กลุ่ม 4 จงั หวะ เชน่ 4/4 เป็นลลี าจงั หวะ Slow, Tango, Belero,
Cha Cha Cha

2.2 จงั หวะในดนตรีไทย

- จงั หวะสามญั คอื จงั หวะทดี าํ เนนิ ไปอยา่ งสมาํ เสมอ
แมว้ า่ จะไม่มเี ครอื งดนตรที ใี หจ้ งั หวะกต็ าม นกั ดนตรกี ส็ ามารถบรรเลงไป
พรอ้ มกนั ได้

- จงั หวะฉิง เป็นจงั หวะทกี ําหนดโดยเสยี งฉิง จะตเี ป็น
เสยี งฉิง ฉบั ตสี ลบั กนั ไปตลอดในอตั ราทสี มาํ เสมอ

- จงั หวะหน้าทบั หมายถงึ เกณฑก์ ารนบั จงั หวะทใี ชเ้ ครอื ง
ดนตรปี ระเภทเครอื งตี ประเภทหนงั ซงึ เลยี นเสยี งการตมี าจาก “ทบั ”เป็น
เครอื งกาํ หนดจงั หวะ เครอื งดนตรเี หล่านี ไดแ้ ก่ ตะโพน กลองแขก สองหน้า
โทน - ราํ มะนา หน้าทบั

จงั หวะ

ถือเป็นหวั ใจสาํ คญั ในการบอกถึงอารมณ์และ
ความร้สู ึกของบทเพลง เป็ นองคป์ ระกอบทีผฟู้ ัง
ทาํ ความเข้าใจได้ง่ายสดุ และเข้าถึงอารมณ์เพลง

ได้มากทีสดุ

3. ทาํ นอง (Melody) หมายถงึ เสยี งสงู เสยี งตํา เสยี ง

ยาว เสยี งสนั ของเครอื งดนตรหี รอื เสยี งคนรอ้ ง ทํานองของดนตรี
หรอื บทเพลงนนั จะแตกต่างกนั ออกไป ทงั นีกข็ นึ อย่กู บั ความ
ประสงคข์ องผปู้ ระพนั ธเ์ พลง

3.1 องคป์ ระกอบของทาํ นองเพลง ประกอบดว้ ย

- จงั หวะของทาํ นอง (Melodic Rhythm) คอื ทาํ นองของเพลงทมี ี
ความสนั -ยาว ของแต่ละเสยี งแลว้ ประกอบกนั เป็นทาํ นองเพลง

- มติ ิ (Melodic dimensions) คอื ทาํ นองเพลงทปี ระกอบดว้ ยความ
สนั – ยาว และชว่ งกวา้ งของเสยี ง

- ชว่ งเสยี ง (Register) ทาํ นองอาจอยใู่ นชว่ งเสยี งใดชว่ งเสยี งหนึง
- ทศิ ทางของทาํ นอง (Direction) ทาํ นองอาจะเคลอื นไปในหลาย
ทศิ ทาง

3.2 ทาํ นองในดนตรี ในดนตรสี ากลจะสามารถวเิ คราะห์

องคป์ ระกอบของทาํ นองไดเ้ ดน่ ชดั แตใ่ นดนตรไี ทยจะมลี กั ษณะเฉพาะ
แตกตา่ งออกไป ซงึ ในทาํ นองในดนตรไี ทยเป็นทรี จู้ กั กนั ในคาํ ว่า “ทาง”

- แนวการดาํ เนินทาํ นองของเครอื งดนตรแี ตล่ ะชนิด
- ระดบั เสยี งในการบรรเลงของวงดนตรแี ตล่ ะประเภท
- ทางทผี ปู้ ระพนั ธไ์ ดค้ ดิ ประดษิ ฐแ์ นวทาํ นองขนึ
นอกจากนียงั มีผใู้ ห้ความหมายของคาํ ว่าทางอีกลกั ษณะหนึง
คือ แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ ทางบรรเลง (แนวการดาํ เนินทาํ นองของ
เครืองดนตรีแต่ละชนิด ซึงมีแนวทางการบรรเลงและเทคนิคแตกต่าง
กนั ไป) ทางรอ้ ง (เทคนิคการดาํ เนินการดาํ เนินทาํ นองการขบั ร้อง ซึงมี
ลีลาและเทคนิคสาํ หรบั การขบั ร้อง)

4. การประสานเสียง (Harmony) หมายถงึ เสยี งของ

เครอื งดนตรแี ละเสยี งรอ้ งเพลงของมนุษยท์ มี รี ะดบั เสยี งต่างกนั เปล่งเสยี ง
ออกมาพรอ้ มกนั โดยเสยี งทเี ปล่งออกมานนั จะตอ้ งผสมผสานกลมกลนื กนั
ฟังแลว้ ไมข่ ดั หู

4.1 การประสานเสียงในดนตรีสากล

- การประสานเสยี งสาํ หรบั เครอื งดนตรี เป็นการแตง่
ทาํ นองสาํ หรบั เครอื งดนตรบี รรเลง Arranging

- การประสานเสยี งสาํ หรบั การขบั รอ้ ง มที งั แบบใชข้ นั คู่
หรอื อาศยั รปู คอรด์ เป็นหลกั เรยี กวา่ Chorus

4.2 การประสานเสียงในดนตรีไทย

- การประสานเสยี งในเครอื งดนตรเี ดยี วกนั เครอื งดนตรี
บางชนิดสามารถบรรเลงสอดเสยี งพรอ้ มกนั ได้ โดยเฉพาะทาํ เสยี งขนั คู่ (คู่
2 ค3ู่ ค4ู่ ค5ู่ ค6ู่ และ ค7ู่ )

- การประสานเสยี งระหวา่ งเครอื งดนตรี คอื การบรรเลง
ดนตรดี ว้ ยเครอื งดนตรตี ่างชนิดกนั สมุ้ เสยี ง และความรสู้ กึ ของเครอื งดนตรี
เหลา่ นนั กอ็ อกมาไม่เหมอื นกนั แมว้ า่ จะบรรเลง เหมอื นกนั กต็ าม

- การประสานเสยี งโดยการทาํ ทาง การแปรทํานองหลกั
คอื ลกู ฆอ้ ง “Basic Melody” ใหเ้ ป็นทาํ นองของเครอื งดนตรแี ตล่ ะชนิด
เรยี กวา่ “การทาํ ทาง” ทางของเครอื งดนตรี (ทํานอง)แต่ละชนดิ ไมเ่ หมอื นกนั
ดงั นนั เมอื บรรเลงเป็นวงเครอื งดนตรตี า่ งเครอื งกจ็ ะบรรเลงตามทางหรอื
ทาํ นองของตน โดยถอื ทาํ นองหลกั เป็นสาํ คญั ของการบรรเลง

5. พืนผิว (Texture) เป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างลกั ษณะของการ

ประสานเสยี งในแนวตงั กบั ทาํ นองในแนวนอน

5.1 พนื ผิวในดนตรีสากล

- แบบโมโนโฟนี (Monophony) คอื ดนตรแี นวทาํ นองแนว
เดยี ว ไมม่ เี สยี งประสานหรอื องคป์ ระกอบใด

- แบบโฮโมโฟนี (Homophony) คอื ดนตรที มี แี นวทาํ นอง
หลกั เป็นแนวทสี าํ คญั ทสี ุดในขณะทแี นวอนื ๆ เป็นเพยี งแนวประสานเสยี งดว้ ย
คอรด์ เขา้ มาชว่ ยใหท้ ํานองหลกั ไพเราะขนึ เช่นเพลงไทยสากล เพลงพนื บา้ น
(Folk Song) เป็นตน้

- แบบโพลโิ ฟนี (Polyphony) คอื ดนตรที ใี ชแ้ นวทาํ นอง
หลายแนวเพอื มาประสานกบั ทาํ นองหลกั ทาํ นองหลกั จะเป็นแนวทสี าํ คญั แต่
แนวอนื ๆ กเ็ ป็นทาํ นองรองและเป็นแนวประสานเมอื เลน่ จะพบวา่ แต่ละแนว
เป็นทาํ นองดว้ ยเช่นกนั

5.2 พนื ผิวในดนตรีไทย

มลี กั ษณะรปู พรรณแบบเฮทเทอโรโฟนคิ คอื มแี นวทาํ นอง
หลกั เดยี ว เครอื งดนตรอี นื จะตกแตง่ ทาํ นองเพมิ เตมิ ซงึ ฆอ้ งวงใหญ่จะทาํ
หน้าทดี าํ เนินทาํ นองหลกั

6. สีสนั ของเสียง (Tone Color) คอื คุณสมบตั ขิ อง

เสยี งเครอื งดนตรแี ตล่ ะชนิด รวมถงึ เสยี งรอั งของมนุษยซ์ งื แตกตา่ งกนั ไปใน
เรอื งของการดนตรี สสี นั ของเพลงอาจเกดิ จากการรอ้ งเดยี ว การบรรเลงเดยี ว
โดยผแู้ สดงเพยี งคนเดยี ว หรอื การนําเครอื งดนตรหี ลายชนิดเสยี งรอ้ งมารว่ ม
บรรเลงดว้ ยกนั กเ็ กดิ เป็นการรวมวงดนตรแี บบต่างๆ ขนึ

6.1 เสียงร้องของมนุษย์ Human Singing Voices

- โซปราโน คอื เสยี งสงู สดุ ของผหู้ ญงิ
- เมสโซ โซปราโน คอื เสยี งกลาง ๆ ของผหู้ ญงิ ลกั ษณะ
ของเสยี งมพี ลงั และไมส่ ดใสเท่าโซปราโน

- อลั โต หรอื คอนทรลั โต คอื เสยี งตาํ สดุ ของผหู้ ญงิ
ลกั ษณะมพี ลงั หนกั แน่น

- เทเนอร์ คอื เสยี งสงู ของผชู้ าย
- บารโิ ทน คอื เสยี งกลางของผูช้ าย ลกั ษณะของเสยี งตาํ
แตม่ คี วามสดใสกวา่ เสยี งเบส
- เบส คอื เสยี งตําสดุ ของผชู้ าย มลี กั ษณะหนกั แน่นฟังดู
ลกึ ๆ กอ้ งกงั วาน

6.2 เครอื งดนตรสี ากล Western Music Instruments

- เครอื งดนตรปี ระเภทคยี บ์ อรด์ เล่นโดยใชน้ ิวกดลงบนลมิ
นิวของเครอื งดนตรี ไดแ้ ก่ เปียโน เมโลเดยี น คยี บ์ อรด์ ไฟฟ้า อเิ ลก็ โทน

- เครอื งสาย เครอื งดนตรปี ระเภทนี ทาํ ใหเ้ กดิ เสยี งโดยการทาํ ใหส้ าย
สนั สะเทอื นสายทใี ชเ้ ป็นสายโลหะหรอื สายเอน็ เครอื งดนตรปี ระเภทเครอื งสาย แบง่
ตามวธิ กี ารเลน่ เป็น 2 จาํ พวก คอื (1) เครอื งดดี ไดแ้ ก่ กตี าร์ แบนโจ ฮารป์ (2)
เครอื งสี ไดแ้ ก่ ไวโอลนิ วโิ อลา

- เครอื งเป่าลมไม้ เครอื งดนตรปี ระเภทนีแบ่งตามวธิ ที าํ ใหเ้ กดิ เสยี งเป็น 3
ประเภท คอื (1.) เครอื งลมไมท้ มี ลี นิ เดยี ว เชน่ คารเิ นท แซกโซโฟน (2.) เครอื งลมที
มลี นิ คู่ ไดแ้ ก่ โอโบ บาซนู (3.) เครอื งดนตรที ไี มม่ ลี นิ เทยี บไดก้ บั ขลุย่ ของไทย มี 2
ชนดิ คอื ฟลทู ปิกโคโล

- เครอื งลมทองเหลอื ง เป็นเครอื งเป่าอกี ชนดิ ทมี เี สยี งดงั กงั วาน มอี าํ นาจ
ไดแ้ ก่ ฮอรน์ หรอื เฟรนฮอรน์ ทรมั เปท ทรอมโบน

- เครอื งตี แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื (1.) เครอื งตที ไี มม่ รี ะดบั เสยี ง ไดแ้ ก่
กลองใหญ่ กลองแต๊ก (2.) เครอื งตมี รี ะดบั เสยี ง ไดแ้ ก่ กลองทมิ พานี ระนาดฝรงั

6.3 เครอื งดนตรีไทย

- เครอื งดดี ไดแ้ ก่ เครอื งดนตรที มี สี ายเสยี งเป็นสะพานวางสาย
แลว้ ใชไ้ มต้ ดั ปลายแหลมทู่ เป็นเครอื งมอื ดดี สายรว่ มกบั ใชน้ ิวมอื ซงึ จะคอยกดปิดเปิด
เสยี ง ตามฐานเสยี งระดบั ต่างๆเครอื งดนตรปี ระเภทดดี ซงึ ยงั คงเป็นทนี ิยมในปัจจบุ นั
คอื จะเข้ นอกจากนนั กเ็ ป็น พณิ และ กระจบั ปี

- เครอื งสี เป็นดนตรปี ระเภทสายทเี ลน่ ดว้ ยวธิ กี ารสี ไดแ้ ก่ สะลอ้
ซอดว้ ง ฯลฯ

- เครอื งตี (1.) เครอื งตที มี หี ลายระดบั เสยี ง ทาํ หน้าทดี าํ เนิน
ทาํ นองเพลง ไดแ้ ด่ ระนาดเอก ฆอ้ งวง (2.) เครอื งตที มี รี ะดบั เดยี ว หรอื มนี ้อยระดบั
เสยี ง ทาํ หน้าทคี วบคมุ จงั หวะในวงดนตรี ไดแ้ ก่ ฉงิ ฉาบ กรบั กลองชนดิ ต่าง ๆ

- เครอื งเป่า มที งั เครอื งดนตรที ไี มม่ ลี นิ ไดแ้ ก่ ขลุ่ย และเครอื ง
ดนตรที มี ลี นิ ไดแ้ ก่ ปีชนิดตา่ ง ๆ

7. คีตลกั ษณ์ (Forms) ลกั ษณะทางโครงสรา้ งของบทเพลง

ทีมกี ารแบ่งเป็นห้องเพลง (Bar) แบ่งเป็นวลี (Phrase) แบง่ เป็นประโยค
(sentence) และแบง่ เป็นท่อนเพลง หรอื กระบวนเพลง (Movement)
เป็ นแบบแผนการประพนั ธบ์ ทเพลง คีตลกั ษณ์เพลงบรรเลงหรือเพลง
ร้องในปัจจบุ นั แบ่งออกเป็ น

- เอกบท (Unitary Form) หรอื วนั พารท์ ฟอรม์ (One Part Form)
คอื บทเพลงทมี ที าํ นองสาํ คญั เพยี งทาํ นองเดยี วเทา่ นนั (A) กจ็ ะจบบรบิ รู ณ์
เช่น เพลงชาติ เพลงสรรเสรญิ บารมี เป็นตน้

- ทวบิ ท (Binary Form) หรอื ทพู ารท์ ฟอรม์ (Two Part Form) เป็น
รปู แบบของเพลงทมี ที าํ นองสาํ คญั เพยี ง 2 กลมุ่ คอื ทาํ นอง A และ B และ
เรยี กรปู แบบของบทเพลงแบบนียอ่ ๆ วา่ AB

- ตรบี ท (Ternary Form) หรอื ทรพี ารท์ ฟอรม์ (Three Part Form)
รปู แบบของเพลงแบบนีจะมอี งคป์ ระกอบอยู่ 3 สว่ น คอื กลุ่มทาํ นองที 1 หรอื
A กลุม่ ทาํ นองที 2 หรอื B ซงึ จะเป็นทาํ นองทเี ปลยี นแปลง หรอื เพยี นไปจาก
กลมุ่ ทาํ นองที 1 สว่ นกลุม่ ทํานองที 3 กค็ อื การกลบั มาอกี ครงั ของทาํ นองที 1
หรอื A และจะสนิ สดุ อยา่ งสมบรู ณ์อาจเรยี กยอ่ ๆ วา่ ABA

- รอนโดฟอรม์ (Rondo Form) รปู แบบของเพลงแบบนีจะมแี นว
ทาํ นองหลกั (A) และแนวทาํ นองอนื อกี หลายสว่ น สว่ นสาํ คญั คอื แนวทํานอง
หลกั ทาํ นองแรกจะวนมาขนั อยรู่ ะหวา่ งแนวทาํ นองแต่ละสว่ นทตี ่างกนั ออกไป
เช่น ABABA ABACA ABACADA

คีตลกั ษณ์ จะเป็นส่วนทีบอกลกั ษณะโครงสรา้ งของบทเพลง
ทาํ ให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ การทาํ ความเข้าใจในอารมณ์เพลง

แนวทางในการวิจารณ์ดนตรี
1. รจู้ กั และมคี วามรใู้ นเรอื งของดนตรี
2.ความเขา้ ใจในโครงสรา้ ง รปู แบบ และองคป์ ระกอบของดนตรี
3. มปี ระสบการณ์ในการฟังดนตรที หี ลากหลาย
4. มคี ุณสมบตั ขิ องผฟู้ ังทดี ี
- มคี วามละเอยี ดออ่ น
- มกี ารฝึกฝน
- มกี ารเปรยี บเทยี บ
- ไมม่ อี คติ

ขนั ตอนในการพิจารณาผลงานดนตรี

ขนั ที 1 ใชป้ ระสบการณ์ตรงทางประสาทสมั ผสั แลว้ พจิ ารณาความไพเราะ
ของดนตรนี นั ๆ
ขนั ที 2 นําผลงานมาแยกแยะเป็นสว่ น ๆ แลว้ พจิ ารณาความไพเราะ
ขนั ที 3 ใชห้ ลกั การทางดนตรมี าอธบิ ายความไพเราะในแตล่ ะสว่ นทแี ยกแยะ
ไว้
ขนั ที 4 เปรยี บเทยี บกบั หลกั การและทฤษฏี เพอื หาแนวทางในการวจิ ารณ์
ขนั ที 5 เปรยี บเทยี บหรอื วเิ คราะหใ์ นมมุ มองทตี รงกนั ขา้ ม แลว้ หาคาํ ตอบ
ขนั ที 6 พยายามแยกผลงานใหเ้ ป็นสว่ นยอ่ ยทสี ดุ และอธบิ ายแต่ละสว่ นเพอื หา
ขอ้ สรปุ

การรบั รสู้ นุ ทรยี ภาพทางดนตรี

การฟังเป็นหวั ใจสาํ คญั ในการรบั รูส้ นุ ทรยี ภาพทางดนตรี

1. การมเี จตคตทิ ดี ตี ่อดนตรี
2. มเี ป้าหมายในการฟัง
3. มสี มาธใิ นการฟัง
4. การปลอ่ ยอารมณ์ใหค้ ลอ้ ยตามบทเพลง
5. การศกึ ษาหาความรกู้ อ่ นการฟังเพลง
6. การสรา้ งประสบการณ์ซาํ ๆ ในการฟังเพลงบอ่ ย ๆ


Click to View FlipBook Version