เพลงสรรเสริญพระบารมฉี บับที่ ๑
มเี ค้าโครงมาตง้ั แต่สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา
เพราะพบเพลงที่มลี ักษณะคล้าย
เพลงสรรเสรญิ พระบารมอี ยกู่ อ่ นแล้ว
ใชบ้ รรเลงเวลาพระมหากษัตริย์เสด็จลงท้องพระโรง
และเสดจ็ ขึ้น มีชอื่ เรยี กว่า "สรรเสรญิ นารายณ์"
แต่ในบางแหลง่ ระบชุ ่อื เพลงว่า
"เสดจ็ ออกขนุ นาง"
เพลงสรรเสริญพระบารมีฉบับที่ ๒
เพลงสรรเสริญพระบารมใี นฐานะเพลงชาติ
ในปี พ.ศ. ๒๓๙๕ ปลายรัชสมัย
พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวรัชกาลที่ ๔
ไดม้ นี ายทหารอังกฤษ ๒ คนช่ือรอ้ ยเอกอมิ เปย์
และร้อยเอกนอ๊ กซ์ เข้ามาเป็นครฝู ึกทหารเกณฑ์
ในวังหลวงและวงั หนา้ ได้ใชเ้ พลง
'God Save the king'
ซ่ึงเปน็ เพลงประจาชาตขิ ององั กฤษ
ใช้เป็นเพลงฝึกสาหรับของไทยสมยั นน้ั
ดงั นัน้ เพลง 'God Save the King' จงึ ถูกใชเ้ ปน็
เพลงเกยี รติยศ สาหรบั กองทหารไทยใชถ้ วาย
ความเคารพต่อพระมหากษัตรยิ เ์ รียกเพลงนวี้ ่า
'เพลงสรรเสรญิ พระบารมอี งั กฤษ' ตอ่ มา
พระยาศรสี นุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู )
ได้ประพันธเ์ น้ือรอ้ งขึน้ ใหม่โดยใชท้ านองของเพลง
'God Save the king' และตง้ั ชอ่ื เพลงใหมว่ า่
จอมราชจงเจรญิ และเป็น
เพลงชาตฉิ บับแรกของประเทศสยาม
เพลงสรรเสริญพระบารมฉี บบั ท่ี ๓
ในปี พ.ศ. ๒๔๑๔ เมื่อ รชั กาลที่ ๕
ไดเ้ สดจ็ ประพาสเมอื งสงิ คโปร์ ในขณะนั้นสงิ คโปร์
ยงั เปน็ เมืองขึ้นของประเทศอังกฤษ
กองทหารดรุ ยิ างค์สิงคโปร์บรรเลงเพลง
'God Save the King' เพื่อถวายความเคารพ
แดพ่ ระองค์ท่าน
พระองคจ์ งึ ทรงตระหนกั วา่ ประเทศสยาม
จาเปน็ จะต้องมีเพลงชาตทิ เี่ ป็นของตัวเอง
เพือ่ แสดงถึงความเป็นเอกราชของชาติ
เมอื่ ทรงเสดจ็ กลบั ถงึ พระนครไดโ้ ปรดให้
ต้ังคณะครูดนตรีไทยเพื่อทรงปรึกษาหาเพลงชาติ
ที่มีความเป็นไทยมาใช้แทนเพลง
'จอมราชจงเจริญ'
คณะครดู นตรีไทยไดเ้ ลือก 'เพลงทรงพระสุบิน'
หรอื 'เพลงบหุ ลนั ลอยเล่อื น' เปน็ พระราชนิพนธ์
ของ รชั กาลที่ ๒ นามาเรียบเรยี งใหม่
ใหม้ ีความเปน็ สากลโดยเฮวุดเซน (Heutsen)
เปน็ เพลงชาติไทยฉบับท่ีสองและใช้บรรเลง
ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๓๑
เพลงสรรเสรญิ พระบารมีฉบับที่ ๔
ทานองเพลงใช้ของพระประดิษฐไพเราะ
(มี ดุริยางคกูร หรือ ครูมีแขก) ประดษิ ฐ์ทานอง
ข้นึ ทูลเกลา้ ฯ ถวายเมอ่ื ราว ปี 2416 ภายหลงั
จากพระราชพธิ บี รมราชภเิ ษก ของพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ครั้งที่ 2 ไดไ้ ม่นาน ซง่ึ ได้เคา้ โครง
ทานอง
มาจากเพลงสรรเสรญิ นารายณ์ของเกา่
และได้เรียบเรยี บเสยี งประสานสาหรับดนตรี
ตะวนั ตกโดย ปโยตร์ ชูรอฟสกี้
บรรเลงครัง้ แรกที่ศาลายทุ ธนาธกิ ารในปเี ดียวกนั
ตอ่ มาทรงนิพนธ์เน้อื ร้องของเพลงนี้อกี หลาย
เน้ือรอ้ งเพื่อขบั รอ้ งในกลมุ่ ต่าง ๆ กนั เช่น ทหาร
นักเรียนชาย นักเรยี นหญิง เป็นตน้
เพลงสรรเสรญิ พระบารมฉี บบั ท่ี ๕(ฉบบั ปจั จุบัน)
ประพันธท์ านองโดย ปโยตร์ สชูโรฟสกี้
คาร้อง พระนพิ นธข์ องสมเดจ็ ฯ กรมพระนรศิ รานุวัตติวงศ์
เดิมเปน็ เน้อื ร้องทีพ่ ระองคไ์ ด้นิพนธ์ขน้ึ เพอ่ื ใช้ใน
พระราชพิธลี งสรงของสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช
เจา้ ฟ้ามหาวชิรณุ หศิ สยามมกฎุ ราชกุมาร ต่อมาเม่ือถึง
รชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจา้ อยู่หัว
ทรงนาเพลงสรรเสรญิ พระบารมมี าพระราชนิพนธ์คารอ้ ง
ขึ้นใหม่ โดยทรงรักษาคาร้องเดิมเอาไวเ้ กอื บทกุ อย่าง
ยกเวน้ แต่ทรงเปลยี่ นคารอ้ งในท่อนสุดท้ายวา่
ฉะนี้ ให้เปน็ ชโย ประกาศใช้ ในวนั ท่ี 1 ม.ี ค.2456
ใช้เร่อื ยมาจนถึงปัจจบุ ัน