The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kai.arisa35, 2022-05-03 14:19:13

ID Plan

ID Plan

Keywords: ID Plan

แผนพฒั นาตนเองรายบุคคล

(Individual Development Plan : ID Plan)
ปกี ารศกึ ษา 2565

โรงเรยี นบา้ นทา่ นนุ่
ตาบลโคกกลอย อาเภอตะกว่ั ทงุ่ จงั หวดั พงั งา
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพงั งา

1

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ สพฐ. โรงเรยี นบา้ นทา่ นุน่ อำเภอตะกว่ั ทุ่ง จังหวัดพงั งา

ท่ี ......... /............... วนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖5

เร่อื ง แผนพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ (Individual Development Plan : ID Plan)
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชพี ครู (ว๒๒/๒๕๖๐) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖5

เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านทา่ นุ่น

อา้ งถงึ หนงั สอื สำนกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. ๐๒๐๖.๗/ว ๒๒ ลงวันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐

ตามหนังสือที่อ้างถึง ก.ค.ศ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว ๒๒/๒๕๖๐) เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ข้อ ๑. ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตามแบบที่ ก.ค.ศ.
กำหนด พร้อมทั้งจดั ทำแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี ตามแบบที่ส่วนราชการกำหนด และเข้ารับการพัฒนา
ตามแผนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รายละเอียดทราบแล้วนั้น ดังนั้น ครูก่อนจะเลือกหลักสูตรในการอบรม
พัฒนาครู ครูจะต้องประเมินตนเอง จัดทำแผนพัฒนาตนเอง เพื่อให้ผู้บริหารทราบหลักสูตรในการพัฒนาตาม
แผนพัฒนาตนเองและพฒั นาวิชาชพี (Individual Development Plan : ID Plan)

บัดนี้ข้าพเจ้าได้จัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5 เรียบร้อยแลว้
รายละเอียดดังแนบ

จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

ลงชอื่ .................................................
(นางสาวอาริสา สมุ าลี)
ตำแหน่ง ครู

ความคิดเหน็ ของผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา
.......................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ....................................................................................
(นางสาวกันยารักษ์ เดชทัพ)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทา่ นนุ่

Individual Development Plan : ID Plan



คำนำ

ด้วย ก.ค.ศ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพครูตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
พัฒนาตนเองและวิชาชีพครู (ว 22/2560) เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ข้อ 1. ข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาต้องได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนด พร้อม
ทั้งจัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายปีตามแบบที่ส่วนราชการกำหนดและเข้ารับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็น
ระบบและตอ่ เน่อื ง

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจร ตาม
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการปฏิรูประบบการพัฒนาครู เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุด สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ซ่ึง
กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายพัฒนาครูเพื่อเชื่อมโยงกับวิทยฐานะ สำหรับการอบรมพัฒนาตนเองใน
หลักสตู รที่สถาบันคุรุพฒั นารับรองหรือ ก.ค.ศ. รับรอง ก่อนที่ครูจะเข้ารับการพัฒนา ครูต้องจัดทำแผนพัฒนา
ตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) เสนอผู้บริหารก่อนที่จะเข้ารับการอบรม
ข้าพเจ้าจึงได้ทำการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาพร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล
เพ่อื เข้ารบั การพัฒนาตอ่ ไป

ชือ่ ............................................
(นางสาวอาริสา สมุ าลี)
ตำแหนง่ ครู

Individual Development Plan : ID Plan



สารบญั

หนา้
คำนำ............................................................................................................................................................................................... ก
สารบญั ........................................................................................................................................................................................... ข
สารบัญตาราง..............................................................................................................................................................................ค
ส่วนที่ 1 บทนำ........................................................................................................................................................................ 1

- วตั ถปุ ระสงค์.......................................................................................................................................................... 1
- กระบวนการจดั ทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล...................................................................................2
สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ท่วั ไปและผลการปฏบิ ัติงานท่ผี ่านมา.............................................................................................3
- ขอ้ มูลทว่ั ไป.............................................................................................................................................................3
- งานในหน้าท่ีที่รับผดิ ชอบ................................................................................................................................ 4
- ผลงานท่ีเกดิ จากการปฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี นตำแหนง่ ปจั จุบัน...................................................................... 6
ส่วนท่ี 3 ผลการประเมินตนเองตามกรอบหลกั สตู รของ ก.ค.ศ. ..................................................................... 9
- วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองตามกรอบหลกั สูตรท่สี ถาบนั คุรุพัฒนารบั รอง..................... 9
- สรปุ ผลการประเมินตนเอง..............................................................................................................................11
สว่ นที่ 4 แผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล.................................................................................................................. 12
- ลำดับความสำคัญของสมรรถนะทจ่ี ะพัฒนา.......................................................................................... 12
- ประวัติการเข้ารับการพฒั นาปีทีผ่ ่านมา................................................................................................... 12
- รายละเอียดการพัฒนาตนเอง....................................................................................................................... 14
- ความเห็นของผู้บังคบั บัญชา...........................................................................................................................16
ภาคผนวก..................................................................................................................................................................................... 17

Individual Development Plan : ID Plan



สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า

1 วฒุ ิการศึกษา.............................................................................................................................................................3

2 การจดั การเรยี นรู้ตามตารางสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์.............................................. 4

3 การจัดการเรยี นรู้ตามตารางสอนกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รและ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น...........................................................................................................................................5

4 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ..............................................................................................9

5 สาระทเ่ี ป็นศาสตรท์ เ่ี กย่ี วข้องกับการจัดการเรยี นรู้ (Pedagogy) .................................................. 10

6 ลำดับความสำคญั ของสมรรถนะทจี่ ะพัฒนา..............................................................................................12

7 ประวัติการเข้ารับการพัฒนาในปที ีผ่ ่านมา................................................................................................. 12

8 ลำดับความสำคัญและสมรรถนะท่จี ะพฒั นา............................................................................................. 14

Individual Development Plan : ID Plan

1

ส่วนที่ 1

บทนำ
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการปฏิรูประบบการพัฒนาครูเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุด สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2560 - 2579) เป็นประเทศพัฒนาแลว้ โดยกระทรวงศึกษาธกิ าร มนี โยบายการพฒั นาครูเพ่ือเชอื่ มโยงกับ
วิทยฐานะ โดยการปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมินเพื่อขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะโดยให้ความส ำคัญกับ
"ระยะเวลา" ในการทำงานสั่งสมความชำนาญในระยะเวลาหนึ่งเชื่อมโยงกับการอบรมพัฒนาตนเอง โดยการ
อบรมพัฒนาเองในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรองหรือ ก.ค.ศ. รับรอง และสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานคัดเลือกหลักสูตรดังกล่าว เป็นหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากนโยบายดังกล่าว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
ดำเนินการพัฒนาครูและให้ข้าราชการครูเลือกพัฒนาตนเองในหลักสูตรที่สอดคล้องตามแผ นพัฒนาตนเอง
รายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) และสอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษาและผู้เรียน
ประกอบกับการประเมินเพื่อขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้นตาม ว PA กำหนดให้ครูต้อง
ทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) ในทุกวิทยฐานะ จึงได้จัดทำ
แผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (Individual Development Plan : ID Plan) ขนึ้

วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ วางแผนการพัฒนาตนเองให้ไดต้ รงตามศักยภาพ
2. เพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเองตามหลักสูตรการพัฒนาครูของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

ข้ันพน้ื ฐานทเ่ี ปน็ มาตรฐานผา่ นการรับรองจากสถาบนั คุรพุ ฒั นา หรอื จาก ก.ค.ศ.
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้จากการอบรมไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริงในการประกอบอาชีพและนำไปใช้ใน

การเลอ่ื นวิทยฐานะ

Individual Development Plan : ID Plan

2
กระบวนการจัดทำแผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล

1. ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตามกรอบหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนาหรือ
ก.ค.ศ. กำหนดประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้คือ องค์ประกอบด้านความรู้ องค์ประกอบด้านทักษะ และ
องค์ประกอบด้านความเป็นครู

2. จัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) ตามความ
ตอ้ งการพฒั นาตนเองท่สี อดคล้องกับภาระงานในหน้าท่ขี องตนเองและบรบิ ทของสถานศกึ ษาและผู้เรยี น

3. ศึกษา ทำความเข้าใจหลักสูตร คู่มือ หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง และการ
ดำเนินการอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งอย่างละเอียด

4. การพฒั นาตนเอง สามารถกระทำไดโ้ ดย
4.1 การอา่ นจากหนังสอื ตำรา บทความทางวชิ าการและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง
4.2 การสืบค้นข้อมูลผ่าน Search Engine ในเครือข่ายต่างๆ เช่น ThaiLis, Gotoknow

เป็นต้น
4.3 การไปเข้ารับการประชุม อบรมและพัฒนาตามที่ส่วนราชการจัดขึ้น เช่น โรงเรียน

สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน หรือสถาบนั อุดมศึกษา
4.4 การไปเข้ารับการอบรมพัฒนาตามทีส่ ถาบันอุดมศกึ ษาเป็นผ้จู ัด
4.5 การไปเขา้ รบั การพัฒนาในหลกั สูตรทสี่ ถาบนั คุรพุ ัฒนากำหนด (Training OBEC)
4.6 การอบรมพฒั นาผ่านเครือขา่ ยตา่ งๆ

Individual Development Plan : ID Plan

3

ส่วนที่ 2

ข้อมูลทั่วไปและผลการปฏิบัตงิ านทผ่ี า่ นมา

ขอ้ มูลท่ัวไป

ช่ือ : นางสาวอารสิ า สุมาลี อายุ : 35 ปี

ตำแหนง่ : ครู อนั ดบั : คศ.1 วิทยฐานะ : - เลขทต่ี ำแหนง่ : 1707

รับเงนิ เดอื นอนั ดบั : คศ.1 อตั ราเงินเดือน : 23,140 บาท

เขา้ รับราชการเมอ่ื วนั ที่ : 4 มกราคม 2559 อายุราชการถงึ ปัจจบุ ัน : 6 ปี

ระยะเวลาดำรงตำแหน่งปัจจบุ นั : 4 ปี โทรศพั ทม์ ือถือ : 061-2612331

วฒุ กิ ารศึกษา

ตารางที่ 1 วุฒกิ ารศึกษา

ระดับการศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษา วชิ าเอก สถาบัน ปที จ่ี บ

ก่อนประถมศกึ ษา - - โรงเรียนบา้ นสามช่อง พ.ศ.2541

ประถมศกึ ษา ป.6 - โรงเรียนบ้านสามชอ่ ง พ.ศ.2542

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ม.3 - โรงเรยี นประทีปศาสน์ พ.ศ.2545

มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.6 วิทย์ - คณติ โรงเรียนประทปี ศาสน์ พ.ศ.2548

ปรญิ ญาตรี วท.บ. คณติ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พ.ศ.2552
นครศรธี รรมราช

ประกาศนยี บตั ร ป.บณั ฑิต วชิ าชพี ครู มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภูเกต็ พ.ศ.2557

สถานทีท่ ำงาน : โรงเรียนบ้านทา่ น่นุ อำเภอตะกั่วทงุ่ จังหวัดพงั งา
สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพังงา

สังกดั สว่ นราชการ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ประสบการณก์ ารทำงาน :
พ.ศ.2559 - 2561 ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย อันดบั ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นบ้านรา่ ปู อำเภอเกาะลันตา

จงั หวัดกระบี่ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากระบี่
พ.ศ.2561 - 2562 ตำแหน่ง ครู อนั ดบั ครูคศ .1 โรงเรียนบา้ นรา่ ปู อำเภอเกาะลนั ตา

จังหวัดกระบ่ี สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษากระบ่ี
พ.ศ.2563 – ปัจจบุ นั ตำแหนง่ ครู อันดบั คศ.1 โรงเรยี นบา้ นท่านุ่น อำเภอตะกัว่ ทุ่ง จงั หวัดพังงา

สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพงั งา

Individual Development Plan : ID Plan

4

งานในหนา้ ที่ที่รับผิดชอบ

ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ปฏิบัติการสอน จำนวน 4 รายวิชา/สาระการเรียนรู้ จำนวน 5
ห้อง จำนวน 23 คาบต่อสัปดาห์และกิจกรรมเสริมหลักสตู ร จำนวน 5 คาบตอ่ สปั ดาห์ รวมท้งั สน้ิ 28 คาบต่อ
สัปดาห์

ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ปฏิบัติการสอน จำนวน 5 รายวิชา/สาระการเรียนรู้ จำนวน 6
ห้อง จำนวน 25 คาบต่อสัปดาห์และกิจกรรมเสริมหลักสูตร จำนวน 5 คาบต่อสัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 30 คาบต่อ
สปั ดาห์

1. งานจดั การเรยี นรูท้ สี่ อนตามตารางสอน ในปกี ารศกึ ษา 2564 มีรายละเอยี ด ดังน้ี

ตารางที่ 2 การจัดการเรียนรู้ตามตารางสอน

ปกี ารศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี วิชา รหัสวชิ า ชน้ั คาบ/ คาบ/
สัปดาห์ ภาคเรียน

2564 1 คณิตศาสตร์ 3 ค 13101 ป.3/1 5 100

คณิตศาสตร์ 3 ค 13101 ป.3/2 5 100

คณติ ศาสตร์ 4 ค 14101 ป.4/1 4 80

คณิตศาสตร์ 4 ค 14101 ป.4/2 4 80

ภาษาไทย 4 ศ 14101 ป.4/2 4 80

การป้องกนั การ ส 13201 ป.3/1 1 20

ทุจรติ 3

รวมภาคเรยี นที่ 1 23 460

2 คณติ ศาสตร์ 3 ค 13101 ป.3/1 5 100

คณติ ศาสตร์ 3 ค 13101 ป.3/2 5 100

คณิตศาสตร์ 4 ค 14101 ป.4/1 4 80

คณติ ศาสตร์ 4 ค 14101 ป.4/2 4 80

ภาษาไทย 4 ศ 14101 ป.4/2 4 80

สุขศกึ ษา 3 พ 12101 ป.2/2 1 20

การงานอาชพี 6 ง 16101 ป.6/2 1 20

การป้องกนั การ ส 13201 ป.3/1 1 20

ทจุ รติ 3

รวมภาคเรียนที่ 2 25 500

รวมท้ังสิ้น 960

Individual Development Plan : ID Plan

5

2. งานจัดการเรียนรู้ที่สอนตามตารางสอนกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปี
การศึกษา 2564 มรี ายละเอยี ด ดังนี้

ตารางที่ 3 การจัดการเรยี นรู้ตามตารางสอนกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น

ปีการศึกษา ภาคเรยี นท่ี วชิ า ชัน้ คาบ/ คาบ/
สัปดาห์ ภาคเรยี น

2564 1 กจิ กรรมชมุ นมุ ช่วงชัน้ ท่ี 1 1 20

กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี ช่วงชนั้ ที่ 1 1 20

กิจกรรมแนะแนว-โฮมรูม ป.3/1 1 20

PLC ครู 2 40

รวมภาคเรียนที่ 1 5 100

2 กจิ กรรมชมุ นุม ช่วงช้นั ท่ี 1 1 20

กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี ชว่ งชั้นที่ 1 1 20

กิจกรรมแนะแนว-โฮมรูม ป.3/1 1 20

PLC ครู 2 60

รวมภาคเรยี นท่ี 2 5 100

รวมทั้งสิน้ 200

3. ชวั่ โมงงานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น 80 ชัว่ โมง
4. ช่ัวโมงการมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 50 ชว่ั โมง
5. ช่ัวโมงการอบรม 39 ชัว่ โมง
6. งานทไี่ ด้รบั มอบหมาย
- กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

1. กล่มุ งานทะเบยี นและวัดผล
1.1 งานตดิ ตามและเรง่ รดั ผลการเรยี นรู้ (ครูที่ปรึกษาชน้ั ป.3/1)

2. กลุ่มงานพัฒนาหลักสูตร
2.1 งานพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาและกระบวนการเรียนรู้

3. กลุม่ งานสง่ เสริมวิชาการ
3.1 งานแนะแนวการศึกษาและวิชาการชมุ ชน (ครทู ปี่ รึกษา)
3.2 งานนเิ ทศการสอน (เจ้าหน้าที)่

- กลมุ่ บรหิ ารกิจการนักเรยี น
1. งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น (ครูที่ปรกึ ษา)
2. งานดูแลความสะอาดพื้นที่รับผิดชอบของนกั เรียน (Clean Zone) (ครูทป่ี รึกษา)

อื่นๆ
1. ครูที่ปรกึ ษาชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3/1
2. ครเู วรประจำวนั จันทร์
3. ครทู ป่ี รึกษาชมุ นมุ เกมสร้างสรรค์

Individual Development Plan : ID Plan

6

ผลงานทเี่ กิดจากการปฏบิ ตั ิหน้าที่ในตำแหน่งปจั จุบนั ปีการศึกษา 2564 มรี ายละเอียดดงั นี้

1. ผลทเ่ี กิดจากการจดั การเรียนรู้
ผลจากการจัดการเรียนรู้ในทุกปีการศึกษาท่ีปฏิบัติการสอนแล้วทำให้มีผลที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้
ในทกุ ปกี ารศึกษา ดงั น้ี
1.1 ร่วมกับคณะครูจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และ
นำแผนการจดั การเรยี นร้ไู ปใช้ในการจดั ประสบการณใ์ หก้ ับนักเรยี น
1.2 ครูมีการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ โดยใช้ส่อื ท่หี ลากหลาย เน้นกระบวนการคดิ
1.3 มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมืออย่างหลากหลายและนำผลไป
ไปใชใ้ นการพฒั นาผ้เู รียน
1.4 ในปีการศึกษา 2564 นักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์
ช้ัน ป.3 มผี ลการเรยี นในระดับ ดี (ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป) คดิ เป็นร้อยละ 47.62 ผลการเรยี นตั้งแต่ 1 - 2.5 คิดเป็น
ร้อยละ 52.38 เมื่อพิจารณาร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนไม่ผ่านการประเมิน (0, ร, มส, อื่นๆ) คิดเป็น
รอ้ ยละ 0
1.5 ในปีการศึกษา 2564 นักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์
ช้นั ป.4 มผี ลการเรียนในระดับ ดี (ตง้ั แต่ 3 ขนึ้ ไป) คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.79 ผลการเรียนตั้งแต่ 1 - 2.5 คิดเป็น
ร้อยละ 70.21 เมื่อพิจารณาร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรยี นไม่ผ่านการประเมิน (0, ร, มส, อื่นๆ) คิดเป็น
รอ้ ยละ 0
ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน โดยร่วมกับคณะครูจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ระดับประถมศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ และนำแผนการจัดการเรยี นรู้ไปใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน ชิ้นงาน
แบบฝึก โดยการวดั ผลประเมินผลดงั กล่าวครอบคลุมทุกๆ ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ การปฏิบตั ิ กระบวนการและ
คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ท้ังนี้เพอื่ ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรยี นทั้ง 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ
สงั คมและสตปิ ัญญา และมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ทัง้ นเ้ี พอ่ื ใหน้ กั เรียนมีพัฒนาการทีด่ ี มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตลอดจนมีการบันทึกหลงั การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนอย่างสมำ่ เสมอ ทัง้ นี้เพื่อจะไดช้ ่วยแก้ไขข้อบกพร่อง
ใหก้ บั นกั เรยี นท่ีมปี ัญหา

2. ผลทเี่ กดิ จากการพัฒนาวชิ าการ
ผลจากการได้มีการพัฒนาตนเองทางวิชาการ ได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ใน
แตล่ ะปีการศึกษา ดังน้ี
2.1 มกี ารจดั หา พัฒนา ประยุกตใ์ ชส้ ือ่ นวตั กรรมในการจดั การเรียนรู้ สามารถนำไปใช้ได้ผลดี
2.2 การใช้ความคิดเชิงระบบในการพฒั นางานอย่างครบวงจร และมีประสทิ ธภิ าพอย่างต่อเน่ือง
2.3 การนำความรดู้ ้านเทคโนโลยสี ารสนเทศมาพฒั นาระบบการเรยี นรู้
2.4 การส่งเสริมการคิดท่ีเน้นผลคุณภาพทต่ี วั ผ้เู รยี น
2.5 การนำวิธีการวจิ ัยและพฒั นามาแกป้ ัญหา พร้อมทงั้ พฒั นางานอย่างครบวงจร

Individual Development Plan : ID Plan

7

ผลที่เกิดจากการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาการ ส่งผลให้ตนเองได้พัฒนาในด้านต่างๆ มากมาย และ
การพัฒนาผู้เรียนในด้านวิชาการ การพัฒนาผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรมความมีวินัยในตนเอง ซึ่งมีผลงาน
เป็นที่ประจักษ์ ตลอดจนได้ร่วมพัฒนาบุคลากรในโรงเรียน โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นโดย
บุคลากรในโรงเรียน และโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไปและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีการเผยแพร่
ผลงานทางด้านวิชาการ นอกจากนั้นโรงเรยี นยังสนับสนนุ และสง่ เสริมให้บุคลากรไดพ้ ัฒนาส่อื และนวัตกรรม

3. ผลทเี่ กิดกับผ้เู รียน
3.1 นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามสถานศกึ ษากำหนด
3.2 นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนผา่ นเกณฑ์กำหนดของโรงเรยี น
3.3 นกั เรยี นได้รบั การพัฒนาทันต่อความก้าวหน้าทางวชิ าการและการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคม
การจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการให้นักเรียนได้ฝกึ การปฏิบัตจิ ริง
เพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะต่างๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ความมีวินัยในตนเอง ส่งผลให้
ผู้เรียนมคี ุณธรรมจริยธรรม มีวนิ ยั ในตนเอง มสี มั มาคารวะมีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย มีความสามารถในการ
ใช้ภาษาในการสื่อสาร การมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความ
เข้าใจและทักษะไปบูรณาการและประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นการเพิม่ พูนสมรรถนะของตนเองให้มากขึ้น
และส่งผลให้การใชช้ วี ิตภายหน้าอยู่บนพนื้ ฐานของคณุ ธรรม นำความรู้ และเศรษฐกิจพอเพยี ง ตลอดจนการอยู่
รว่ มกนั ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข

4. ผลทีเ่ กดิ กบั สถานศกึ ษา
4.1 สถานศึกษาได้รบั การสนับสนนุ จากผปู้ กครอง ชมุ นมุ หน่วยงาน องค์กรต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ
4.2 มีบรรยากาศทัง้ ในและนอกห้องเรียนทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้ของครแู ละผ้เู รยี น
4.3 เปน็ แหลง่ เรียนรขู้ องสถานศึกษาหรอื หน่วยงานตา่ งๆ
4.4 การนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานของครูทำให้การปฏิบัติงานมีความสมบูรณ์ และเป็นไปตาม
เวลาท่กี ำหนด
4.5 มรี ะบบการทำงานเป็นทีมมากขึ้น
4.6 มแี นวปฏิบตั ิดา้ นเอกสาร หลกั ฐานทางการศึกษาท่ีถกู ต้อง
4.7 การพัฒนางานมีระบบถูกต้องและครบวงจร
จากการทสี่ ถานศึกษามีการวางแผนปฏบิ ัตริ าชการในการพฒั นา มวี สิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย และทิศทางใน
การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนาสถานศึกษา นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรม
โครงการต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งนักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ทำให้ผลการดำเนินงาน
ในโครงการหรอื ในดา้ นตา่ งๆ เปน็ ที่ยอมรบั ของผปู้ กครอง ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ

Individual Development Plan : ID Plan

8
5. ผลทเี่ กิดกับชมุ ชน
5.1 ครู ผู้บรหิ าร และผปู้ กครอง มีการประชมุ ทุกภาคเรยี น
5.2 ครู และผู้บริหารร่วมกิจกรรมสำคัญในชุมชนอยา่ งสม่ำเสมอ
5.3 โรงเรียนให้บริการแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนในด้านต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมีความ
เขม้ แข็ง
5.4 ชมุ ชนใหค้ วามรว่ มมอื และสนับสนุนกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรยี นด้วยดี
สถานศึกษามีส่วนร่วมกับชุมชน ในกิจกรรมต่างๆ ตลอดปีการศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวกับ
วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา เช่น ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีสงกรานต์ การทอดผ้าป่า ทอดกฐิน ประเพณีถือศิลอด วันฮารีรายอ การละหมาดวันศุกร์ งาน
ประจำปี เป็นต้น ตลอดจนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ กิจกรรมวันสำคัญ เช่น กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรม
วันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น จนทำให้เกิดความร่วมมือ ความเข้าใจที่ดีต่อกัน เกิดความ
รักและความภาคภูมิใจในโรงเรียนและท้องถิ่น นอกจากนี้โรงเรียนยังได้จัดกิจกรรมการประชุมผู้ปกครอง
ประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละภาคเรียนเพื่อชี้แจงนโยบายของโรงเรียนและเพื่อหา
แนวทางในการร่วมกันพัฒนาโรงเรียนทั้งพัฒนาอาคารสถานที่และพัฒนาทางวิชาการให้เป็นไปในทางทิศทาง
เดียวกนั

Individual Development Plan : ID Plan

9

ส่วนท่ี 3

ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบหลกั สูตรของ ก.ค.ศ.

ก.ค.ศ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพครู (ว22/2560) เมื่อวันที่ 5
กรกฎาคม 2560 ขอ้ 1. กำหนดใหข้ ้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาต้องไดร้ ับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตามแบบ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี ตาม
แบบที่ส่วนราชการกำหนด และเข้ารับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ฉะนั้น ก่อนจะเลือก
หลกั สูตรการพัฒนา ครูจะต้องประเมินตนเอง จัดทำแผนพัฒนาตนเอง เพ่อื ใหผ้ ู้บรหิ ารทราบถึงหลกั สูตรในการ
พฒั นาตามแผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล (Individual Development Plan : ID Plan)

การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองตามกรอบหลกั สูตรทีส่ ถาบันคุรพุ ฒั นารบั รอง
การพัฒนาตนเองตามกรอบหลักสูตรทสี่ ถาบันคุรุพฒั นากำหนดประกอบดว้ ย 3 องค์ประกอบ ดังนี้คือ

องคป์ ระกอบด้านความรู้ ด้านทักษะ และดา้ นความเปน็ ครู ด้วยการประเมนิ ตนเองตามระดับคณุ ภาพ 5 ระดับ
ดังน้ี

1 หมายถึง ระดับทม่ี ีสมรรถนะนอ้ ยทสี่ ุด
2 หมายถึง ระดับที่มสี มรรถนะนอ้ ย
3 หมายถึง ระดบั ที่มีสมรรถนะปานกลาง
4 หมายถึง ระดับทมี่ ีสมรรถนะมาก
5 หมายถึง ระดับที่มีสมรรถนะมากที่สดุ

ตอนที่ 1 ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ.

ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ.

รายการพิจารณา ระดบั สมรรถนะ ลำดับ

5 4 3 2 1 ความสำคัญ

องค์ประกอบที่ 1 ดา้ นความรู้

1. เนื้อหา ในรายวิชา/กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ี่สอน 

2. วิธีสอน ถ่ายทอดความรู้เชงิ เน้ือหา กิจกรรม บริบท เปา้ หมายการ

เรยี นรู้ ความรูพ้ นื้ ฐาน การปรบั พน้ื ฐาน และอปุ สรรคการเรียนร้ขู อง  1

ผูเ้ รยี น

3. หลกั การสอน และกระบวนการเรยี นรู้ 2

4. หลกั สูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมนิ และแนวทาง 
การเรยี นรใู้ นแตล่ ะเน้อื หา

5. พนื้ ฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จติ วิทยา 
สงั คม นโยบายการศกึ ษา จดุ มงุ่ หมายการจดั การศกึ ษาต้งั แต่

ระดบั ชาตจิ นถึงระดับหลักสูตร

6. การจัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองตอ่ ความ 
หลากหลายของผเู้ รยี น

7. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ และจติ วทิ ยาการเรยี นรู้ 

8. การใชเ้ ทคโนโลยี และสอ่ื นวตั กรรมเพื่อการเรยี นรู้ 

9. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 

Individual Development Plan : ID Plan

10

รายการพจิ ารณา ระดับสมรรถนะ ลำดบั

5 4 3 2 1 ความสำคญั

องค์ประกอบที่ 2 ด้านทกั ษะ

1. การสรา้ งและหรือพฒั นาหลกั สตู ร 

2. การออกแบบหนว่ ยการเรยี น 

3. การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ 

4. กลยุทธ์ในการจัดการเรยี นรู้ 3

5. การสร้างและการพฒั นาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยี 4
ทางการศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้

6. การจดั บรรยากาศการเรยี นรู้ 

7. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 

8. การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ 5

9. การทำงานร่วมกับผูอ้ ื่น 

10. การแลกเปลย่ี นเรยี นรูก้ ับเพ่ือนรว่ มวิชาชพี 6

11. ทกั ษะการใชภ้ าษาไดอ้ ย่างถกู ต้อง 

องคป์ ระกอบท่ี 3 ด้านความเป็นครู

1. ยึดมั่น ผูกพัน ศรทั ธาในวิชาชพี และท่มุ เทเพอ่ื การเรยี นรขู้ อง 
ผูเ้ รยี น

2. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีแกผ่ ้เู รยี น

ท้งั กาย วาจา และจติ ใจ ดำรงตนใหเ้ ปน็ ทีเ่ คารพ ศรัทธา และ 

นา่ เชื่อถือทัง้ ใน และนอกสถานศกึ ษา

3. ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 

4. มวี นิ ยั และการรกั ษาวนิ ยั 

5. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรบั ปรุง และพัฒนาตนเองอย่าง  7
ต่อเน่อื ง ใหม้ ีความรู้ความชำนาญในวชิ าชพี เพ่มิ ขนึ้

6. ปฏิบัติตนโดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ 

7. มีทัศนคติทดี่ ีตอ่ บา้ นเมอื ง 

ตอนที่ 2 สาระท่ีเป็นศาสตร์ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการจดั การเรียนรู้ (Pedagogy)

ตารางที่ 5 สาระท่ีเปน็ ศาสตรท์ ี่เก่ยี วข้องกับการจดั การเรียนรู้ (Pedagogy)

รายการพจิ ารณา ระดบั สมรรถนะ ลำดับ

5 4 3 2 1 ความสำคญั

1. การสอนในศตวรรษที่ 21 

2. การแกป้ ัญหาผู้เรยี น  8

3. จติ วทิ ยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจัดการเรยี นรู้

4. การจัดการช้ันเรียน

5. การวิจยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้
ทางวิชาชพี

6. การพัฒนาหลักสตู ร  9
7. สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)  10
8. การใช้สื่อและเทคโนโลยใี นการจดั การเรียน 
9. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้


10. การออกแบบการเรยี นรู้ 

Individual Development Plan : ID Plan

11
สรุปผลการประเมินตนเอง

ตอนที่ 1 ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. พบว่า
ด้านที่ 1 ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ สิ่งที่ควรพัฒนาให้ดีขึ้น คือ (1) วิธีสอน ถ่ายทอด
ความรู้เชิงเนื้อหา กิจกรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การปรับพื้นฐาน และอุปสรรคการ
เรียนรู้ของผู้เรียน (2) หลักการสอน และกระบวนการเรียนรู้ ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนา 2 ด้านนี้ให้มีความรู้
กระบวนการ และทักษะใหเ้ พ่ิมมากขน้ึ
ด้านที่ 2 ทักษะการปฏิบัติงาน สิ่งที่ควรพัฒนาให้ดีขึ้น คือ (1) กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ (2) การ
สร้างและการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี (3) ทางการศึกษาและแหล่งเรียนรู้. การวิจัยเพื่อพัฒนาการ
เรียนรู้ (4) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมวิชาชีพ ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนา 4 ด้านนี้ให้มีความรู้
กระบวนการ และทกั ษะให้เพิ่มมากขึ้น
ด้านที่ 3 ความเป็นครู สิ่งที่ควรพฒั นาให้ดขี ึ้น คือ (1) เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ ปรับปรุง และพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้ความชำนาญในวิชาชีพ เพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนาด้านนี้ให้มีความรู้
กระบวนการ และทักษะใหเ้ พ่ิมมากข้ึน
ตอนท่ี 2 สาระทเ่ี ปน็ ศาสตร์ทีเ่ กยี่ วข้องกับการจดั การเรียนรู้ (Pedagogy) พบว่า ควรมีการพัฒนาใน
ด้าน (1) การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (2) สะเต็มศึกษา (STEM
Education) (3) การใชส้ ่ือและเทคโนโลยใี นการจดั การเรียน ให้ดยี งิ่ ขึน้

Individual Development Plan : ID Plan

12

ส่วนที่ 4

แผนพฒั นาตนเองรายบุคคล

ลำดบั ความสำคญั ของสมรรถนะทีจ่ ะพฒั นา

ตารางท่ี 6 ลำดับความสำคัญของสมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา

ลำดับที่ สมรรถนะที่จะพัฒนา

1 วธิ สี อน ถ่ายทอดความรเู้ ชิงเนื้อหา กิจกรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้ ความรพู้ นื้ ฐาน การ

ปรบั พ้นื ฐาน และอปุ สรรคการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น

2 หลักการสอน และกระบวนการเรยี นรู้

3 กลยทุ ธใ์ นการจัดการเรียนรู้

4 การสร้างและการพัฒนาสอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษาและแหลง่ เรียนรู้

5 การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้

6 การแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับเพ่ือนรว่ มวิชาชีพ

7 เป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ ปรับปรุง และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง ใหม้ ีความรคู้ วามชำนาญใน

วิชาชีพ เพิ่มขน้ึ

8 การวจิ ัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี

9 สะเต็มศึกษา (STEM Education)

10 การใชส้ ือ่ และเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี น

ประวตั กิ ารเขา้ รับการพัฒนาในปีทผ่ี ่านมา

ตารางที่ 7 ประวัตกิ ารเขา้ รบั การพัฒนาในปที ่ผี า่ นมา

วัน/เดอื น/ปี ระยะเวลา/ หลกั สูตรการอบรม/ประชุมสมั มนา สถาบนั /สถานที่
ชัว่ โมง

ปกี ารศกึ ษา 2562 วนั ท่ี 1 เมษายน 2562 – 31 มีนาคม 2564

28 ส.ค.-31 ต.ค. 3 การบริหารจัดการชน้ั เรียน ครุ สุ ภา
2564 คณิตศาสตรอ์ อนไลน์เเบบเรยี ลไทม์

28 ส.ค.-31 ต.ค. 3 การเรียนรเู้ ชิงรุกสู่สมรรถนะบน คุรุสภา
2564 Platform เพ่ือสร้างห้องเรียน

ออนไลนใ์ หม้ ปี ระสิทธิภาพสผู่ ู้เรยี น

29 ส.ค.-31 ต.ค. 3 คุรสุ ภา
2564 ออนไลนอ์ ยา่ งไรใหไ้ ปถึงสมรรถนะ

30 ส.ค.-31 ต.ค. 3 รปู แบบการจดั การเรียนรใู้ นอนาคต คุรุสภา
2564 (Desing Thinking)

31 ส.ค.-31 ต.ค. 3 Hoomroom Onsite & Online คุรสุ ภา
2564 เพอื่ เสรมิ สร้างฐานกาย อารมณ์

สังคม สตปิ ัญญา

Individual Development Plan : ID Plan

13

วนั /เดอื น/ปี ระยะเวลา/ หลักสูตรการอบรม/ประชมุ สัมมนา สถาบัน/สถานท่ี
ชั่วโมง

32 ส.ค.-31 ต.ค. 3 รปู แบบการจัดการเรยี นรใู้ นอนาคต คุรุสภา
2564 (Education Reimagined:The

Future of Learning

33 ส.ค.-31 ต.ค. 3 เสียงทีม่ คี วามหมายของเยาวชนไทย คุรสุ ภา
2564 : พฒั นาได้จากการคิดอย่างยงั่ ยืน

4-5 มกราคม 12 โรงเรยี นบ้านทา่ นุ่น
2565 โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.

24 ม.ค.2565 จิตวทิ ยาและการแนะแนว สพม.นครศรีธรรมราช

การพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพ สพม.นครศรีธรรมราช

24 ม.ค.2565 ภายในสถานศึกษา

โครงการเสริมสรา้ งความรู้ความ สพม.นครศรธี รรมราช

เข้าใจเก่ียวกับการพฒั นาระบบ

ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

และเพิม่ ศกั ยภาพดา้ นการประเมนิ

คุณภาพการศกึ ษา IQATC ให้เป็น

25 ม.ค.2565 6 องค์กรแหง่ การเรียนร้ทู ีย่ ่งั ยืน

การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่อื การ สพม.นครศรธี รรมราช

17 มนี าคม 2565 จัดการเรยี นรู้

การวดั และประเมินผลทางการ สพม.นครศรธี รรมราช

18 มนี าคม 2565 ศึกษา

รวมระยะเวลาการสัมมนา/ฝกึ อบรม/ดูงาน 39 ช่วั โมง

Individual Development Plan : ID Plan

14

รายละเอยี ดการพัฒนาตนเอง

1. ลำดับความสำคัญและสมรรถนะท่ีจะพฒั นา

ตารางท่ี 8 ลำดบั ความสำคัญและสมรรถนะท่ีจะพฒั นา

ลำดับ สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา
ความสำคัญ

1 วธิ สี อน ถ่ายทอดความรู้เชิงเนื้อหา กจิ กรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้พืน้ ฐาน การ

ปรับพื้นฐาน และอุปสรรคการเรยี นรู้ของผเู้ รียน

2 หลักการสอน และกระบวนการเรยี นรู้

3 กลยุทธ์ในการจัดการเรยี นรู้

4 การสรา้ งและการพัฒนาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหลง่ เรียนรู้

5 การวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้

6 การแลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ับเพื่อนรว่ มวชิ าชีพ

7 เปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ ปรับปรุง และพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง ใหม้ ีความรคู้ วามชำนาญ

ในวิชาชพี เพ่มิ ขนึ้

8 การวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ

9 สะเตม็ ศึกษา (STEM Education)

10 การใช้สอื่ และเทคโนโลยีในการจดั การเรียน

ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั
5.1 ดา้ นความรู้
- ได้ศึกษาเนื้อหาที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ได้เห็นแนวทางสิ่งท่ี

ผู้เรียนต้องเรียนรู้ เช่น การออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูล การสร้างแบบฟอร์มออนไลน์ เพื่อนำไปรวบรวม
ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล แล้วนำมาประมวลผล นอกจากนั้นได้ศึกษาตัวอย่างที่มีการสร้างทางเลือกหลายทาง
และกำหนดเกณฑ์ในการประเมินทางเลือก เพื่อให้ได้ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพ สามารถนำไปตัดสินใจเพ่ือ
แก้ปัญหา

- ได้เรียนรู้ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสื่อสารให้ปลอดภัย และมีความรับผิดชอบ ร่วมถึงส่ือ
ประกอบอ่นื ที่สามารถนำมาใชจ้ ัดกิจกรมการเรียนร้ไู ด้ เชน่ Be Internet Awesome

- ได้เรียนรู้องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ ตัวอย่างการนำแนวคิดเชิงคำนวณไปใช้ใน
การแก้ปญั หา และตัวอยา่ งการจดั กจิ กรรมในชน้ั เรยี น

- ได้เรียนรู้กิจกรรมที่เป็น Unplugged Coding อย่างง่าย สามารถเรียนรู้ได้ แม้ไม่มีพื้นฐาน
ด้านการเขียนโปรแกรม กิจกรรมที่ยกตัวอย่างออกแบบมาให้สามารถเข้าใจกับการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
เพื่อจำลองการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซึ่งเป็นพื้นฐานก่อนจะศึกษาด้านการเขียนโปรแกรมโดยใช้
ภาษาคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการแก้ปัญหา เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัญหาและ
เขยี นอัลกอริทึม เพอ่ื ให้บุคคล หรอื คอมพวิ เตอรน์ ำไปปฏบิ ัติตามเพ่ือแกป้ ัญหา

- ได้เรียนรู้เครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นเขียน
โปรแกรม ในทนี่ ้ีคือ โปรแกรม Scratch โดยผูเ้ ข้ารบั การอบรมจะไดเ้ รยี นรูต้ ้งั แตข่ น้ั พนื้ ฐาน และศึกษาตัวอย่าง

Individual Development Plan : ID Plan

15

การใช้ Scratch ในการแก้ปัญหา ร่วมถึงการวิเคราะห์ปัญหาและการเขียนอัลกอริทึม เพื่อนำไปสู่การเขียน
โปรแกรม

- ได้เรียนรู้อีกหนึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม นอกจากโปรแกรม Scratch ที่ได้
เรียนรู้ไปแล้วในกิจกรรมที่ 5 ในกิจกรรมนี้จะแนะนำโปรแกรมภาษาไพทอน (python) โดยผู้เข้ารับการอบรม
จะได้เรียนรู้ตั้งแต่เครื่องมือสำหรับเขียนโปรแกรม หรือไอดีอี โดยจะนำทั้งแบบออฟไลน์ และออนไลน์
นอกจากคำสั่งต่างๆ ที่จะได้เรียนรู้แล้ว ยังได้ศึกษาตัวอย่างการใช้ Python ในการแก้ปัญหา ร่วมถึงการ
วเิ คราะห์ปัญหา และการเขยี นอัลกอริทมึ เพ่ือนำไปส่กู ารเขยี นโปรแกรม

- ได้เรียนรู้ เทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี รวมถึงผู้เรียนได้ฝึกใช้
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันของผู้เรียน เราจะได้รู้ว่า กว่าจะได้เป็น
ช้ินงาน 1 ชนิ้ มกี ระบวนการข้นั ตอน และ แนวคดิ ในการออกแบบอยา่ งไรบา้ ง

- ได้เรียนรู้การคิดเชิงคํานวณ (computational thinking) เป็นพื้นฐานของการคดิ แก้ปัญหา
ต่างๆ ที่สามารถนํา ไปประยุกต์ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน การคิดนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะมนุษย์ต้อง
แก้ปัญหาต่างๆ อยู่ตลอดเวลา ความท้าทายหลักของการคิดเชิงคํานวณอยู่ที่การออกแบบกระบวนการ
แก้ปญั หาทคี่ ลมุ เครอื ให้เปน็ ข้นั ตอนทช่ี ดั เจนมากพอท่ีจะนําไปแกป้ ัญหา

➢การคิดเชงิ คาํ นวณ มีลักษณะการคดิ อยู่ 4 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
 การแยกสว่ นประกอบและการยอ่ ยปญั หา (decomposition)
 การหารูปแบบของปัญหา (pattern recognition)
 การคดิ เชิงนามธรรม (abstraction)
 การออกแบบขัน้ ตอนวิธีในการแกป้ ัญหา (algorithm)

- การพัฒนาโครงงาน
- วทิ ยาการข้อมูล
- ความเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ัลและเทคโนโลยสี มยั ใหม่
5.2 ดา้ นทกั ษะ
- ได้พัฒนาทักษะการกระบวนและแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีทักษะที่
สำคัญในการดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ พื้นฐานความคิดเชิงคำนวณ (Computational Thanking) พื้น
ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) และพื้นฐานการรู้เท่าทันสื่อและข่าวสาร (Media
and Information Literacy) ซึง่ ทกั ษะพ้ืนฐานเหลา่ นเี้ ป็นสิง่ สำคญั ท่นี ักเรียนควรได้รบั การปลกู ฝังตั้งแต่ระดับ
ปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษา เพื่อเป็นรากฐานของการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพิ่มศักยภาพและ
นวัตกรรมท่ีจะนำไปสู่การพฒั นาประเทศ
5.3 ด้านความเป็นครู
- ถ่ายทอดและประยุกต์ใช้ความรู้ในการอบรมพัฒนามาใชก้ ับเนื้อการในการจัดการเรยี นการ
สอนที่ตนเองได้รับผิดชอบรวมทั้งเนื้อหาที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางให้กับผู้เรียนได้
ถูกต้อง

ลงช่ือ ...............................................
(นางสาวอารสิ า สมุ าลี)
ผ้จู ดั ทำแผนพฒั นาตนเอง

Individual Development Plan : ID Plan

16
ความเห็นของผ้บู ังคับบัญชา
.......................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นางสาวกนั ยารักษ์ เดชทพั )
ผู้อานวยการโรงเรียน......................

Individual Development Plan : ID Plan

17

ภาคผนวก

Individual Development Plan : ID Plan

18

หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. 0206.7/ว 22 ลงวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2560
หลักเกณฑแ์ ละวิธีการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน

(ว 22/2560) เม่ือวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2560
( สำเนา )

( สำเนา )

Individual Development Plan : ID Plan

19

( สำเนา )

Individual Development Plan : ID Plan

20

( สำเนา )

Individual Development Plan : ID Plan

21
( สำเนา )

Individual Development Plan : ID Plan

22
( สำเนา )

Individual Development Plan : ID Plan

23

Individual Development Plan : ID Plan


Click to View FlipBook Version