The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การส่งเสริมกลุ่มอาชีพ ในสังกัดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pim.14150, 2022-06-28 05:05:02

การส่งเสริมกลุ่มอาชีพ

การส่งเสริมกลุ่มอาชีพ ในสังกัดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

การส่งเสริมกลุ่มอาชีพ
ในสังกัดสหกรณ์

และกลุ่มเกษตรกร

กลุ่ มพั ฒนาสหกรณ์ ประมงและปศุ สั ตว์
กองพั ฒนาสหกรณ์ ภาคการเกษตรและกลุ่ มเกษตร

กลุ่มอาชีพ คือ.... กลุ่มอาชีพ หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ประกอบด้วย

สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร หรือคนในครัวเรือนของ
สมาชิกสหกรณ์/ลุ่มเกษตรกร จำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน

ที่อยู่ในชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกันได้ผลิตสินค้า
หรือบริการ หรือมีแผนในการผลิตสินค้าหรือบริการ

เพื่อเพิ่มรายได้และเกิดประโยชน์ กับสมาชิกโดยส่วนรวม

การจัดตั้งและการดำเนินงานของกลุ่มอาชีพ

1. แจ้งความประสงค์ขอจัดตั้งกลุ่มอาชีพ 2. ได้รับการเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน 3. จัดทำใบทะเบียนกลุ่มอาชีพเพื่อเสนอที่ประชุมใหญ่

สมาชิกกลุ่มจัดทำบัญชีรายชื่อผู้เข้าร่วมจัดตั้งกลุ่ม คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรประชุม ผู้ที่เข้าร่วมจัดตั้งกลุ่มอาชีพนัดประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจการ
อาชีพแจ้งความประสงค์ขอจัดตั้งกลุ่มอาชีพต่อสหกรณ์ ให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ โดยอยู่สังกัดสหกรณ์หรือ จัดตั้งกลุ่มอาชีพและจัดทำใบสมัครของผู้ที่เข้าร่วมจัดตั้งกลุ่มอาชีพ
หรือกลุ่มเกษตรกรในท้องที่ที่ตั้งของกลุ่มอาชีพนั้น
เพื่อขอรับการสนับสนุนและส่งเสริมในการดำเนิน กลุ่มเกษตรกรนั้น โดยขอคำแนะนำและสนับสนุนจากสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมของกลุ่มอาชีพ ตลอดจนเครื่องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่กลุ่มอาชีพนั้นสังกัดอยู่ โดยอาจมี การกำหนดคุณสมบัติเบื้องต้น

จากสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรโดยการขอคำแนะนำ ของสมาชิก พร้อมจัดทำทะเบียนสมาชิกกลุ่มฯ เพื่อเสนอที่ประชุม
ในการดำเนินการจากเจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์
ใหญ่ของกลุ่มอาชีพรับรอง

4. จัดประชุมใหญ่กลุ่มอาชีพ 5. รายงานผลการประชุมใหญ่ของกลุ่มอาชีพแก่กรมส่งเสริม
สหกรณ์และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
จัดประชุมใหญ่กลุ่มอาชีพเพื่อพิจารณากำหนดระเบียบการดำเนินงาน
กลุ่มอาชีพขึ้นถือใช้ในเรื่องต่างๆ อาทิ การกำหนดชื่อ ที่ตั้งสำนักงาน และท้อง กลุ่มอาชีพจะต้องรายงานผลการประชุมใหญ่ การกำหนดระเบียบ การเลือกตั้งคณะกรรมการบริหาร
ที่ที่ดำเนินงาน วัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง กิจกรรมของกลุ่ม คุณสมบัติสมาชิก กลุ่มอาชีพให้สหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ
การกำหนดค่าหุ้นการลาออกและขาดจากการเป็ นสมาชิกภาพ การบริหารงาน เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ให้ความช่วยเหลือแนะนำสนับสนุนการดำเนินงานต่อไป
การกำหนดหน้าที่การดำรงตำแหน่ง การออกเสียงในการประชุม เป็ นต้น

กลุ่มอาชีพ 10 ประเภทผลิตภัณฑ์
ณ 31 ธันวาคม 2564

ดำเนินธุรกิจเป็ นครั้งคราว 1.อาหารแปรรูป 902 กลุ่ม คิดเป็ น 33%
771 กลุ่ม 2.ผ้าและเครื่องแต่งกาย 122 กลุ่ม คิดเป็ น 25%

ดำเนินธุรกิจ 3.ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 599 กลุ่ม คิดเป็ น 22%
1,823 กลุ่ม
4.เพาะปลูก 150 กลุ่ม คิดเป็ น 5%
รวมทั้งสิ้น 2,594 กลุ่ม 5.ปั จจัยการผลิต 122 กลุ่ม คิดเป็ น 4%
6.สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา 115 กลุ่ม คิดเป็ น 4%
7.เลี้ยงสัตว์ 80 กลุ่ม คิดเป็ น 3%
8.บริการ 42 กลุ่ม คิดเป็ น 2%
9.เครื่องดื่มที่ไม่ใช่แอลกอฮอล์ 60 กลุ่ม คิดเป็ น 2%
10.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2 กลุ่ม

10 อันดับจังหวัดที่มีกลุ่มอาชีพมากที่สุด



1.นครราชสีมา 117 กลุ่ม 6. นราธิวาส 70 กลุ่ม

2. เลย 97 กลุ่ม 7. อุตรดิตถ์ 63 กลุ่ม

3. บุรีรัมย์ 85 กลุ่ม 8. ยโสธร 60 กลุ่ม
4. เชียงใหม่ 83 กลุ่ม 9. สมุทรปราการ 59 กลุ่ม

5. ศรีสะเกษ 72 กลุ่ม 10. สกลนคร และ อุบลราชธานี 58 กลุ่ม

ที่มา ; ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การวิเคราะห์ SWOT Analysis
สถานการณ์การผลิต การตลาดของผลิตภัณฑ์ สภาพปั ญหาที่เกิด

แยกประเภทผลิตภัณฑ์ตามจำนวนกลุ่มอาชีพที่มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 2 ประเภท ดังนี้

1. ประเภทอาหารแปรรูป โดยแยกเป็ น 2 กลุ่ม 2. กลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย


- กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากพืช

- กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากสัตว์น้ำ

จุดแข็ง(Strengths) กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากพืช จุดอ่อน(Weaknesses)
1. เครื่องจักรมีกำลังการผลิ
ตไม่เพียงพอต่อความต้องการ

1. ใช้วัตถุดิบหลักในท้องถิ่น หาง่าย ราคาถูก และมีจำนวนมาก
ขาดเทดโนโลยีการช่วยผลิต
2. สีที่ใช้ปรุงแต่ง มาจากธรรมชาติไม่มีสารเคมี
3. ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐาน 2. แรงงานเป็ นผู้สูงอายุ ขาดผู้สืบทอด
4.ผลิตภัณฑ์รสชาติดี ผลิตใหม่สดเสมอเป็ นที่ต้องการของตลาด 3. บรรจุภัณฑ์ไม่โดดเด่น และผลิตภัณฑ์มีอายุสั้น
5.มีสูตรที่เป็ นภูมิปั ญญาท้องถิ่นเป็ นที่ยอมรับผู้บริโภค
6. สมาชิกมีความรู้ ทักษะ ความชำนาญในการผลิต 4. โรงเรือนผลิตคับแคบ ไม่ได้มาตรฐาน
7. กลุ่มมีการบริหารจัดการเป็ นระบบ มีการแบ่งงานกันทำ
5. สมาชิกกลุ่มขาดประสบการณ์ด้านการตลาด
มีการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย

โอกาส(Opportunities) อุปสรรคThreats))

1. นโยบายรัฐบาลที่ให้การสนับสนุนส่งเสริมการรวมตัวเป็ น 1. สภาพดินฟ้ าอากาศ ภัยธรรมชาติ ภัยแล้ง
กลุ่มและการดำเนินธุรกิจของกลุ่ม ทำให้ขาดแคลนวัตถุดิบ
2. สำหรับสินค้าที่เป็ นเกษตรอินทรีย์ หรือสินค้าปลอดสารพิษ 2. ขาดการชลประทาน ขาดแคลนน้ำทำการเกษตร
ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้น 3.วัตถุดิบที่ใช้ในการแปรรูปเช่น น้ำตาล น้ำมันวัสดุปรุงแต่ง
3. เริ่มมีการใช้ตลาดออนไลน์ ขายทางเว็บไชต์ Facebook สี กลิ่น มีราคาสูง และปรับราคาขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Fanpage ขายทางไลน์ 4.ธุรกิจมีการแข่งขันสูง มีคู่แข่งที่ผลิตสินค้าคล้ายคลึงกัน
จำนวนมาก

กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากพืช

สถานการณ์การผลิต สภาพปั ญหา

1.วัตถุดิบ 1. วัตถุดิบในพื้นที่เริ่มขาดแคลน
- ส่วนใหญ่วัตถุดิบหลักจะอยู่ในท้องถิ่น หาได้ง่ายราคาไม่สูง 2. ต้นทุนวัตถุดิบสูง ขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียนในการซื้อวัตถุดิบ
- การผลิตวัตถุดิบขึ้นกับสภาพดินฟ้ าอากาศที่ไม่แน่นอน ส่งผลต่อปริมาณผลผลิต 3. กำลังการผลิตมีจำกัด บุคลากรด้านการผลิตมีไม่เพียงพอ
บางครั้งขาดแคลนวัตถุดิบทำให้ต้องไปหาวัตถุดิบจากแหล่งอื่น
- วัตถุดิบที่ใช้ในการแปรรูปเช่น น้ำตาล น้ำมันวัสดุปรุงแต่งสี กลิ่น รส อุปกรณ์การผลิตที่มีไม่ตอบสนองต่อปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น
อยู่นอกท้องถิ่นมีราคาสูง หากใช้วัตถุปรุงแต่งที่ได้จากธรรมชาติ 4. อายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สั้น
ก็จะสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค 5. โรงเรือนผลิตคับแคบ ไม่มีพื้นที่ในการจัดเก็บวัตถุดิบทำให้เกิดการเสียหาย
5. สถานที่ผลิตบางกลุ่มยังไม่ได้มาตรฐาน
2. กรรมวิธีการผลิต 6. บรรจุภัณฑ์ยังไม่โดดเด่นดึงดูดใจลูกค้า และยังรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์
- ป็ นภูมิปั ญญาท้องถิ่นและใช้แรงงานคนในพื้นที่ สมาชิกมีความชำนาญการผลิต
- เครื่องจักรมีกำลังการผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ได้ระยะเวลาสั้นๆ
- กำลังการผลิตใช้แรงงานคนเป็ นส่วนใหญ่ อาจไม่เพียงพอทำให้เสียโอกาส 7. ขาดการพัฒนาด้านเทคโนโลยีในการช่วยการผลิต

3. ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
- ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ รสชาติดี ผลิตใหม่สดเสมอ และได้มาตรฐาน
แต่อายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สั้นและรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ยังไม่ดึงดูดใจลูกค้า

กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากพืช

สถานการณ์การตลาด สภาพปั ญหา

1. การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 1. ผลิตภัณฑ์มีอายุสั้น ทำให้สามารถจำหน่ายได้ในท้องถิ่น
- ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่จำหน่ายในท้องถิ่นและจังหวัดใกล้เคียง มีลูกค้าประจำ และจังหวัดใกล้เคียง ยังไม่สามารถขยายตลาดได้

มีทั้งขายตรง ขายปลีก ขายส่ง เป้ าหมายที่ซื้อสินค้าส่วนใหญ่ เป็ นตัวแทนจำหน่าย 2. รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์บางกลุ่มยังไม่ดึงดูดใจลูกค้า
OTOP ร้านขายส่งในจังหวัดและต่างจังหวัด . 3. บรรจุภัณฑ์ยังไม่สามารถเก็บรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์
- ส่วนใหญ่มีพ่อค้าคนกลางมารับเอง ยอดขายและกำลังการผลิตจึงค่อนข้างจะคงที่
- เริ่มมีการใช้ตลาดออนไลน์ ขายทางเว็บไชต์ Facebook Fanpage ขายทางไลน์ ไว้ได้นานพอที่จะขยายตลาดทำให้ตลาดแคบ
- ส่วนใหญ่เป็ นลูกค้าประจำในท้องถิ่น จึงไม่ค่อยมีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการขาย 4. มีการแข่งขันสูง ผลิตภัณฑ์คล้ายคลึงกัน หาซื้อที่ไหนก็ได้
2. การตั้งราคาขาย
- ส่วนใหญ่จะพิจารณาตั้งราคาขายจากต้นทุนการผลิต ไม่ได้คำนึงถึงราคาของคู่แข่ง
3. ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
- ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีคุณภาพได้รับการรับรองมาตรฐานเบื้องต้นแล้วจึงเป็ นมี่ต้องการ
- ผลิตภัณฑ์มีอายุสั้น ทำให้สามารถจำหน่ายได้ในท้องถิ่น และจังหวัดใกล้เคียง
- ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็ นพร้อมบริโภคทำให้จำหน่ายได้ง่าย
- ส่วนใหญ่รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ยังไม่ดึงดูดใจลูกค้าในระดับบน

หากต้องการขยายตลาด จะต้องมีการพัฒนา
- ผลิตภัณฑ์จะมีลักษณ์คล้ายคลึงกันในหลายท้องถิ่น ทำให้มีคู่แข่งมาก
- ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ หรือแปรรูปจากวัตถุดิบที่เป็ นเกษตรอินทรีย์

และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจะเป็ นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น
ตลาดมีโอกาสขยายตัวสูง ปริมาณการขายเพิ่มขึ้นมาก
แต่จะมีข้อจำกัดอยู่ที่ตัวผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม

จุดแข็ง(Strengths) กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากสัตว์น้ำ จุดอ่อน(Weaknesses)



1. ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีอายุสั้นทำให้ไม่สามารถขยายตลาด
1. วัตถุดิบหลักมีเฉพาะในบางท้องถิ่นเช่น กะปิ ทำให้เกิดความแตกต่าง ไปตลาดต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ
ในรสชาติ รูปลักษณ์และคุณภาพผลิตภัณฑ์ 2. รูปแบบ ไม่หลากหลาย ส่วนใหญ่เป็นการแปรรูปเบื้องต้น

2.สูตรที่เป็นมาตรฐานที่เป็นสูตรเฉพาะที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นที่ยอมรับ ต้องนำไปปรุงอีกครั้ง
ของผู้บริโภคทั้งในด้านรสชาติและคุณภาพ 3. กำลังการผลิตไม่แน่นอน ขึ้นกับปริมาณวัตถุดิบ และแรงงานคน
4. สินค้าเป็นไปตามฤดูกาล การผลิตไม่ต่อเนื่อง ตลอดปี
3.วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่มีคุณภาพเนื่องจากกลุ่มมีการคัดเลือก
วัตถุดิบและบางกลุ่มอยู่ในพื้นที่ปลอดสารเคมี ผลิตภัณฑ์จะแตกต่างกัน ต้นทุนวัตถุดิบไม่แน่นอน
ในด้านความสะอาดและความสดใหม่ 5. ตราสินค้ายังไม่เป็นที่รู้จัก
6. ขาดสถานที่ อุปกรณ์ในการเก็บ stock สำหรับเก็บวัตถุดิบในช่วง
4. ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีคุณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐานเบื้องต้น
ที่มีปริมาณมาก และเก็บผลิตภัณฑ์รอจำหน่าย
7. สถานที่ผลิตส่วนใหญ่ยังไม่ได้มาตรฐาน

8. ขาดแคลนเงินทุนในการผลิต
9. บรรจุภัณฑ์ยังไม่เป็นที่โดดเด่น ไม่ดึงดูดความสนใจของลูกค้า

10. ขาดการประชาสัมพันธ์ของกลุ่ม

โอกาส(Opportunities) อุปสรรค(Threats)

1. นโยบายรัฐบาลที่ให้การสนับสนุนส่งเสริมการรวมตัวเป็นกลุ่ม 1. ราคาวัตถุดิบหลักไม่คงที่ เนื่องจากเป็นวัตถุดิบจากธรรมชาติ
และการดำเนินธุรกิจของกลุ่ม ไม่สามารถผลิตเองได้ ขึ้นกับสภาพดินฟ้ าอากาศ ที่ส่งผลต่อปริมาณ
วัตถุดิบและราคา
2. อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูปมีแนวโน้มขยายตัว 2. ปัจจุบันมีกฎหมายควบคุมการทำประมงบางประเภท ทำให้ไม่สามารถ
ตลาดมีความต้องการมากขึ้น หาวัตถุดิบได้เนื่องจากเรือหาปลาไม่สามารถทำการประมงได้
3. ธุรกิจมีการแข่งขันสูง มีคู่แข่งที่ผลิตสินค้าลักษณะเดียวกันจำนวนมาก
3. ผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย จะเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น ผลิตภัณฑ์จะแตกต่างกันที่คุณภาพ และราคา
4. เริ่มมีการใช้ตลาดออนไลน์ ขายทาง Facebook Fanpage

กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากสัตว์น้ำ

1. วัตถุดิบ สถานการณ์การผลิต สภาพปั ญหา

- วัตถุดิบหลักสินค้าสัตว์น้ำจะอยู่ในท้องถิ่น เป็ นวัตถุดิบที่มีเฉพาะท้องถิ่น 1. วัตถุดิบในพื้นที่เริ่มขาดแคลน เนื่องจากสภาพดินฟ้ าอากาศ
2. กฎหมายควบคุมการทำประมงบางประเภท ทำให้ขาดวัตถุดิบในการผลิต
- วัตถุดิบหลัก(อาหารทะเล) เป็ นวัตถุดิบจากธรรมชาติ ไม่สามารถผลิตเองได้ จึงขึ้นกับ
เนื่องจากเรือหาปลาไม่สามารถทำการประมงได้
สภาพดินฟ้ าอากาศ ที่ส่งผลต่อปริมาณวัตถุดิบในพื้นที่ และปั จจุบันมีกฎหมายควบคุม 3. ต้นทุนวัตถุดิบไม่คงที่ เป็ นไปตามสภาวะตลาด ผู้ผลิตไม่สามารถจะควบคุมราคา

การทำประมงบางประเภท ทำให้ไม่สามารถหาวัตถุดิบได้เนื่องจากเรือหาปลาไม่สามารถ วัตถุดิบได้ การใช้วัตถุดิบในพื้นที่ จะเป็ นประโยชน์ในฤดูกาลที่วัตถุดิบราคาต่ำ
การแปรรูปจะเป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตที่ล้นตลาด แต่ในขณะเดียวกัน
ทำการประมงได้ หากขาดวัตถุดิบจะทำให้ต้นทุนสูง
4. กำลังการผลิตไม่แน่นอน เนื่องจากการผลิตส่วนใหญ่ใช้แรงงานคน
- ต้นทุนวัตถุดิบไม่คงที ไม่สามารถจะควบคุมราคาวัตถุดิบได้ 5. ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีอายุสั้นทำให้ไม่สามารถขยายตลาดไปตลาดต่างจังหวัด
หรือต่างประเทศ
- วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่มีคุณภาพเนื่องจากกลุ่มมีการคัดเลือกวัตถุดิบ 6. สมาชิกกลุ่มขาดทักษะในการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมีอายุการเก็บ
รักษานานขึ้น
2. กรรมวิธีการผลิต 7. สถานที่ผลิตส่วนใหญ่ยังไม่ได้มาตรฐาน
8. บรรจุภัณฑ์ยังไม่โดดเด่นดึงดูดใจลูกค้า และยังรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ได้ใน
- วิธีการผลิตเป็ นภูมิปั ญญาที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษเฉพาะในท้องถิ่น ระยะเวลาอันสั้น
9. ผลิตภัณฑ์เป็ นแบบเดิม ๆ ซ้ำ ๆ กัน ไม่หลากหลายขาดการพัฒนา
สูตรเป็ นสูตรเฉพาะของกลุ่ม ซึ่งเป็ นที่ยอมรับของผู้บริโภคในเรื่องรสชาติและคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ

- การผลิตส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนในพื้นที่ ใช้เครื่องจักรน้อย

- กำลังการผลิตไม่แน่นอน ขึ้นกับปริมาณวัตถุดิบ

3. ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์

- ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ และได้รับมาตรฐานเบื้องต้น แต่บางกลุ่มอายุ

ของผลิตภัณฑ์สั้น เก็บไว้ไม่ได้นาน

- ผลิตภัณฑ์ไม่หลากหลาย ส่วนใหญ่เป็ นการแปรรูปเบื้องต้น ต้องนำไปปรุงอีกครั้ง

- ผลิตภัณฑ์คล้ายคลึงกันในแต่ละท้องถิ่น เช่นอาหารประมงแปรรูป

- บรรจุภัณฑ์ยังไม่สามารถเก็บรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไว้ได้นาน

กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากสัตว์น้ำ

สถานการณ์การตลาด สภาพปั ญหา

1. การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 1. ผลิตภัณฑ์มีอายุสั้น ทำให้สามารถจำหน่ายได้ในท้องถิ่น
- จำหน่ายในท้องถิ่นและจังหวัดใกล้เคียงมีทั้งขายปลีก ขายส่ง และจังหวัดใกล้เคียง ยังไม่สามารถขยายตลาดได้

เป้ าหมายที่ซื้อสินค้าส่วนใหญ่ เป็ นพ่อค้าในจังหวัด สหกรณ์ต้นสังกัด 2. สินค้าไม่มีตลอดทั้งปี ขึ้นอยู่กับปริมาณวัตถุดิบ อาทิ กลุ่มสตรี
และเยาวชนสหกรณ์ประมงบางจะเกร็ง-บางแก้ว ต้องเปลี่ยน
- มีคู่แข่งจำนวนมาก ปั จจุบันการแปรรูปอาหารทะเลได้มีหลายกลุ่ม ผลิตภัณฑ์หลักเดิม
และหลายที่ซึ่งผลิตและจำหน่ายอาหารทะเลแปรรูป แต่ยังแตกต่างกันใน (ปลาหยอง)เนื่องจากกฎหมายควบคุมการประมงทำให้ขาดวัตถุดิบ
ด้านความสะอาดและความสดใหม่ซึ่งผลิตภัณฑ์ของกลุ่มส่วนใหญ่มีความ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์เป็ นที่ยอมรับของตลาดแล้ว ทำให้เสียโอกาส
สะอาดและสดใหม่ทำให้เป็ นที่ยอมรับของผู้บริโภค ทางการตลาด สูญเสียรายได้จำนวนมาก
3. ตราสินค้ายังไม่เป็ นที่รู้จัก
- ตลาดยังคงมีความต้องการสูง อุตสาหกรรมมีแนวโน้มจะขยายตัว 4. รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ยังไม่ดึงดูดใจลูกค้า
- เริ่มมีการใช้ตลาดออนไลน์ ขายทาง Facebook Fanpage 5. บรรจุภัณฑ์ไม่ทันสมัย ไม่สามารถปกป้ องผลิตภัณฑ์ได้เต็มที่และ
ไม่สามารถเก็บรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไว้ได้นานพอที่จะขยาย
- กลุ่มผู้ผลิตอาหารทะเลแปรรูปบางกลุ่มมีการกำหนดตำแหน่ง ตลาด
ผลิตภัณฑ์ มุ่งเน้นจำหน่ายสินค้าให้กับผู้รักสุขภาพโดยตรงผู้ที่ต้องการ 6. มีการแข่งขันสูง ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน
ความสะอาดและปลอดภัยจากสารเคมี จึงเป็ นสินค้าที่แตกต่างจาก
ผลิตภัณฑ์ทั่วไปในท้องตลาด ทำให้กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายเกิดทางเลือก
2. การตั้งราคาขาย

ราคาต่อหน่วย = ต้นทุน + กำไรที่ต้องการ

(โดยไม่ได้คำนึงถึงราคาของคู่แข่ง)

3. ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
- ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีคุณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐานเบื้องต้น

แล้ว จึงเป็ นที่ต้องการของผู้บริโภค
- ผลิตภัณฑ์มีอายุสั้น ทำให้สามารถจำหน่ายได้ในท้องถิ่น และ

จังหวัดใกล้เคียง ยังไม่สามารถขยายตลาดได้
. - ตราสินค้ายังไม่เป็ นที่รู้จัก บรรจุภัณฑ์ยังไม่น่าสนใจ

จุดแข็ง(Strengths) กลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย จุดอ่อน(Weaknesses)


1. วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็ นวัตถุดิบในประเทศ
1. กลุ่มผ้าทอที่ใช้วัตถุดิบจาการสังเคราะห์ เช่นสีสังเคราะห์ เส้น

2. กลุ่มผ้าทอสีธรรมชาติ จะใช้วัตถุดิบที่ได้ในท้องถิ่น วัสดุธรรมชาติ ไหม ด้าย ซึ่งเป็ นวัตถุดิบนอกท้องถิ่นหรือต้องสั่งจากต่างจังหวัด
ไม่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ และสิ่งแวดล้อม จะมีต้นทุนต่ำกว่า จะมีราคาสูง ทำให้ต้นทุนวัตถุดิบสูง
3. การทอผ้าเป็ นภูมิปั ญญาเฉพาะท้องถิ่นที่ถูกถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ 2. บางกลุ่มยังขาดความรู้ความชำนาญ ด้านเทคนิคการลงสี รูป
บางกลุ่มนำมาพัฒนาต่อยอด สร้างความแตกต่างและจุดเด่นให้กับ แบบรวมทั้งการดึงจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ทำให้สินค้าออกสู่ตลาด
ผลิตภัณฑ์ ยังคงมีปั ญหาด้านการควบคุมคุณภาพให้มีความสม่ำเสมอ
ด้วยลวดลายที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของทางกลุ่ม 3. สมาชิกอายุมาก การทอบางกลุ่มเป็ นลวดลายดั้งเดิม
4. แรงงานคน มีทักษะฝี มือ ส่วนใหญ่ สมาชิกมีความชำนาญ ผลิตภัณฑ์ยังไม่หลากหลายไม่ตรงตามความต้องการตลาด และ
ความสามารถในการทอ ผลิตไม่ทันตามความต้องการลูกค้า
5. ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีคุณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐาน 4. ขาดอุปกรณ์การผลิต อุปกรณ์ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับจำนวน
เป็ นที่ต้องการของตลาด สมาชิกที่มาทำการผลิต
 

โอกาส(Opportunities) อุปสรรค(Threats)

1. อุตสาหกรรมสิ่งทอมีแนวโน้มขยายตัว ส่วนราชการต่าง ๆ 1. วัตถุดิบราคาสูง ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงราคาจำหน่าย
ให้การสนับสนุนให้ใช้ผ้าไทยในการแต่งกายมาทำงาน ของตัวผลิตภัณฑ์สูง
2. เริ่มมีการใช้ตลาดออนไลน์ 0esojkp ทางเว็บไชต์ 2. มีการแข่งขันทางด้านการตลาดค่อนข้างสูง
Facebook Fanpage ทางแอปพลิเคชั่น Line ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในเรื่องคุณภาพ ความสวยงาม ราคา
3. มีการลอกเลียนแบบสินค้า

สถานการณ์การผลิต กลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย สภาพปั ญหา

1.วัตถุดิบ

- วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็ นวัตถุดิบในประเทศ 1. ปั ญหาวัตถุดิบราคาสูง สำหรับกลุ่มที่ใช้วัตถุดิบจาก
- กลุ่มผ้าทอสีธรรมชาติ จะใช้วัตถุดิบที่ได้ในท้องถิ่น วัสดุธรรมชาติ ไม่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ การสารสังเคราะห์ ทำให้ต้นทุนวัตถุดิบค่อนข้างสูงการ
ตั้งราคาขายจากต้นทุนการผลิต ส่งผลให้ราคาจำหน่าย
และสิ่งแวดล้อม จะมีต้นทุนต่ำกว่า ของตัวผลิตภัณฑ์สูง ทำให้ขายได้น้อย
- กลุ่มผ้าทอที่ใช้วัตถุดิบจาการสังเคราะห์ เช่นสีสังเคราะห์ เส้นไหม ด้าย ซึ่งเป็ นวัตถุดิบนอกท้องถิ่น
2. บางกลุ่มยังขาดความรู้ความชำนาญ ด้านเทคนิคการลงสี
หรือต้องสั่งจากต่างจังหวัดจะมีราคาสูง ทำให้ต้นทุนวัตถุดิบสูง รูปแบบ รวมทั้งการดึงจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ทำให้
- การซื้อวัตถุดิบส่วนใหญ่ซื้อเป็ นเงินสด 100 % สินค้าออกสู่ตลาดยังคงมีปั ญหาด้านการควบคุมคุณภาพ
2. กรรมวิธีการผลิต ให้มีความสม่ำเสมอ (กลุ่มอันดาบ่อแร่บาติก)
- การทอผ้าเป็ นภูมิปั ญญาเฉพาะท้องถิ่นที่ถูกถ่ายทอดมาจาก บรรพบุรุษ บางกลุ่มนำมาพัฒนาต่อยอด
3. แถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือสมาชิกที่ผลิตเป็ น
สร้างความแตกต่างและจุดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์ด้วยลวดลายที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของทางกลุ่ม ผู้สูงอายุ มักจะผลิตไม่ทันตามความต้องการลูกค้า
- การผลิตใช้แรงงานคนที่มีทักษะฝี มือ ส่วนใหญ่ สมาชิกมีความชำนาญ ความสามารถในการทอ แต่อายุมาก ลวดลายเป็ นแบบดั้งเดิม ไม่ตรงตามความต้องการตลาด

การทอผลิตภัณฑ์บางกลุ่มเป็ นลวดลายดังเดิมผลิตภัณฑ์ยังไม่หลากหลายไม่ตรงตามความต้องการตลาด 4. ขาดอุปกรณ์การผลิต อุปกรณ์ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับ
- ขาดความรู้ความชำนาญ ด้านเทคนิคการลงสี รูปแบบ รวมทั้งการดึงจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ทำให้สินค้าออก จำนวนสมาชิกที่มาทำการผลิต

สู่ตลาดยังคงมีปั ญหาด้านการควบคุมคุณภาพให้มีความสม่ำเสมอ(กลุ่มอันดาบ่อแร่บาติก)
- สมาชิกที่ผลิตได้จำนวนน้อย จึงผลิตไม่ทันตามความต้องการลูกค้า (สมาชิกผู้สูงอายุ)

3. ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์

- กลุ่มส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์หลากหลาย ทั้งผ้าทอ และ ผลิตภัณฑ์จากผ้า ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ

บางกลุ่มมีลวดลายผ้าเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะในท้องถิ่น สามารถรับทำตามแบบที่ลูกค้าต้องการ

สถานการณ์ตลาด กลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย

สภาพปั ญหา

1. การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 1. สถานการณ์ในปั จจุบัน มีการแข่งขันทางด้าน
- มีการจำหน่ายในท้องถิ่น และต่างจังหวัด กทม. มีลูกค้าประจำ ส่วนใหญ่เป็ นขายปลีก กลุ่มขาย การตลาดค่อนข้างสูง ผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าและ
สินค้าเอง ณ ที่ทำการกลุ่ม หรือขายในงานแสดง และจำหน่ายสินค้าต่าง ๆ หรือส่งร้านค้า กทม. เครื่องแต่งกายที่ผลิตจากผ้า มีผู้ค้าเป็ นจำนวนมาก
ขายส่ง ให้กับ ตลาดจตุจักร กลุ่มเป้ าหมายที่ซื้อสินค้าส่วนใหญ่จะเป็ นหน่วยราชการ
กลุ่มคนทำงาน ประชาชนทั่วไปทั้งคนไทย และชาวต่างชาติ ภายในจังหวัดต่างจังหวัด กทม. 2. มีการลอกเลียนแบบสินค้า
และจังหวัดที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยว 3. บางกลุ่มรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ยังไม่ดึงดูดใจลูกค้า

- มีการส่งเสริมการตลาดในงานแสดงจำหน่ายสินค้า มีแผ่นพับ เอกสารแสดง Story และวิธีการใช้สินค้า การทอผลิตภัณฑ์เป็ นลวดลายดังเดิมผลิตภัณฑ์
- ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มส่วนใหญ่เป็ นที่ต้องการของตลาด และอุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัว ยังไม่หลากหลาย ไม่ตรงตามความต้องการตลาด
ขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาการแปรรูป
ส่วนราชการต่าง ๆ ให้การสนับสนุนให้ใช้ผ้าไทย ผลิตภัณฑ์ให้หลากหลาย
- มีการแข่งขันทางด้านการตลาดค่อนข้างสูงซึ่งจะมีความแตกต่างกันในเรื่องคุณภาพ ความสวยงาม ราคา 4. บางกลุ่มขาดการแสดงถึงวิธีการใช้สินค้าที่ถูกต้อง
- เริ่มมีการใช้ตลาดออนไลน์ ขายทาง เว็บไชต์ Facebook Fanpage ทางแอปพลิเคชั่น Line การรักษาคุณภาพสินค้า และเรื่องราวของสินค้า
2. การตั้งราคาขาย ทำให้ผู้บริโภคไม่เข้าใจวิธีการใช้สินค้าที่ถูกต้อง
กลุ่มส่วนใหญ่กำหนดราคาขาย จากต้นทุนของสินค้า พร้อมทั้งเปรียบเทียบราคากับคู่แข่ง
สินค้าจึงเสื่อมสภาพเร็ว
3. ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
- ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มส่วนใหญ่สวยงาม และเป็ นที่ต้องการของตลาด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในเรื่อง
ลวดลายผ้าเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น ฝี มือการทอการย้อมสีธรรมชาติหรือ สีสังเคราะห์ และ
คุณภาพผลิตภัณฑ์ สีตก ไม่ตก ตัวอย่างเช่น ผ้าปาเต๊ะเพ้นท์ เป็ นที่นิยมอย่างแพร่หลายในพื้นที่จังหวัด
ภูเก็ตและใกล้เคียง เนื่องจากมีความสวยงาม โดดเด่น เป็ นเอกลักษณ์และยังเป็ นการเพิ่มมูลค่า

ผลิตภัณฑ์

- ผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าส่วนใหญ่จะไม่มีบรรจุภัณฑ์ ใช้ถุงพลาสติกใสธรรมดา

แนวทางการพัฒนาการผลิต การตลาด ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารแปรรูปจากพืช

1.พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพ 2.การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อยืด 3.การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 4.เสริมสร้างประสิทธิภาพการ
มาตรฐาน และมีรูปแบบ รสชาติใหม่ อายุผลิตภัณฑ์ให้สามารถ โดยใช้เครื่องจักรเพื่อเพิ่มปริมาณ จัดทำระบบการเงินและบัญชี
ให้หลากหลายมากขึ้น รวมถึงสร้าง ขยายตลาดส่งไปขายได้ไกลขึ้น การผลิตรองรับคำสั่งซื้อที่มากขึ้น และทำบัญชีให้เป็ นปั จจุบัน
คุณค่าเป็ นอัตลักษณ์สร้างการจดจำ
ให้ลูกค้า

5.การเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตเพื่อหา 6.ควรมีการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ความ
แหล่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพ และการวมกันซื้อ ต้องการของผู้บริโภคแล้วนำมาวางแผนการ
วัตถุดิบเพื่อลดต้นทุนการผลิต โดยสหกรณ์ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของ
หรือกลุ่มที่เข้มแข็ง และการเชื่อมโยงเครือ ตลาดทุกรอบ 1 ปี
ข่ายการตลาดโดยให้สหกรณ์หรือกลุ่มที่เข้ม


แข็งเป็ นตัวแทนนำผลิตภัณฑ์ไปจำหน่าย

แนวทางการพัฒนาการผลิต การตลาด ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารแปรรูปจากสัตว์น้ำ

1.อาหารแปรรูปจากสัตว์น้ำมักมี 2.พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้ 3.พัฒนากระบวนการผลิตการ
ต้นทุนการผลิต ปริมาณวัตถุดิบ มาตรฐานถูกสุขลักษณะอาหาร แปรรูป อาจเพิ่มอุปกรณ์ที่ช่วย
ไม่แน่นอนขึ้นกับสภาพดินฟ้ าอากาศ ปลอดภัย ควรใช้วัตถุดิบที่สดใหม่ พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้
จึงควรมีตู้แช่แข็งหรือห้องเย็น ปราศจากสารกันเสีย ไม่ปนเปื้ อนสาร มาตรฐานมีอายุการเก็บรักษานาน
เพื่อรวบรวม รักษาวัตถุดิบเพื่อลด เคมีในกระบวนการผลิต สามารถนำ เพื่อคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
การสูญเสียวัตถุดิบ ระหว่างรอการ มาเป็ นจุดขายของตัวสินค้า เพื่อเจาะ สามารถส่งออกไปจำหน่ายตลาด
แปรรูปเพื่อจำหน่าย ตลาดของคนรักสุขภาพ ซึ่งมีแนวโน้ม ต่างจังหวัดหรือต่างประเทศได้
จะขยายตัวเป็ นตลาดใหญ่ในอนาคต

4 . ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร 5.ควรมีการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์
ผ ลิ ต เ พื่ อ ห า แ ห ล่ ง วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี ความต้องการของผู้บริโภคแล้วนำมา
คุณภาพ และการวมกันซื้อ
วั ต ถุ ดิ บ เ พื่ อ ล ด ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับ
โ ด ย ส ห ก ร ณ์ ห รื อ ก ลุ่ ม ที่ เ ข้ ม แ ข็ ง ความต้องการของตลาดทุกรอบ 1 ปี
แ ล ะ ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร
ต ล า ด โ ด ย ใ ห้ ส ห ก ร ณ์ ห รื อ ก ลุ่ ม ที่ 6.เสริมสร้างประสิทธิภาพการ
จัดทำระบบการเงินและบัญชี
เข้มแข็งเป็ นตัวแทนนำ และทำบัญชีให้เป็ นปั จจุบัน

ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ป จำ ห น่ า ย

แนวทางการพัฒนาการผลิต การตลาด ผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย

1.เนื่องจากต้นทุนการผลิตค่อน 2) ปั จจุบันผ้าฝ้ ายย้อมสีธรรมชาติเป็ นที่ 3) ควรมีการพัฒนารูปแบบ
ข้างสูง จึงควรสร้างการเชื่อม ลวดลายผ้า เพิ่มทักษะการออกแบบ
ต้องการในกลุ่มคนรักสุขภาพ และตลาด การใช้สี รวมทั้งการแปรรูป
โยงเครือข่ายกับกลุ่มสหกรณ์ บน อีกทั้งต้นทุนการผลิตต่ำกว่าการย้อม ผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายตรงต่อ
เพื่อหาแหล่งผลิตวัตถุดิบ ด้วยสีเคมี ดังนั้น ควรมีการจัดฝึ กอบรม ความต้องการของตลาดให้กับ
คุณภาพ และร่วมกันสั่งซื้อ สมาชิกกลุ่ม รวมทั้งการสร้าง
การย้อมฝ้ ายสีธรรมชาติ ให้กับสมาชิก ลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์
วัตถุดิบแหล่งผลิตโดยตรงไม่ กลุ่มผลิตผ้า เพื่อขยายตลาด และลด ให้มีอัตลักษณ์ เป็ นที่จดจำของลูกค้า
ต้นทุนการซื้อฝ้ ายสำเร็จรูปจากโรงงาน
ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง 6) ควรมีการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ความต้องการของผู้
บริโภคแล้วนำมาวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความ
4) การเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิต การตลาด ต้องการของตลาด รวมทั้งควรมีแผนพัฒนาธุรกิจด้านต่าง ๆ
ในกลุ่มผู้ผลิตวัตถุดิบ เส้นด้าย ไหม กลุ่มทอ ทุกรอบ 1 ปี
ไปจนถึงกลุ่มแปรรูปผ้า
7) เสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดทำระบบการเงินและบัญชี
5) ควรมีแผ่นป้ ายติดกับตัวสินค้าหรือบรรจุ และทำบัญชีให้เป็ นปั จจุบัน
ภัณฑ์ เพื่อแสดงถึงวิธีการใช้สินค้าที่ถูกต้อง
การรักษาคุณภาพสินค้า และเรื่องราวของ
สินค้า ทำให้ผู้บริโภคเข้าใจวิธีการใช้สินค้าที่

ถูกต้อง

การส่งเสริมกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

เ ริ่ ม ต้ น ก่ อ น ปี 2 5 3 0 ปี 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ปี 2 5 6 5 ปี 2 5 6 5

ส่งเสริมการรวมกลุ่มสตรี และกลุ่มเยาวชน พัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าของกลุ่ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า สิ น ค้ า
สหกรณ์ (กลุ่มเตรียมสหกรณ์) (จัดเวทีประชุมเพื่อวิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนา ก ลุ่ ม อ า ชี พ ร่ ว ม กั บ ส ห ก ร ณ์
สนับสนุนเงินอุดหนุนในการดำเนินกิจกรรม ธุรกิจเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ต ล า ด
กลุ่ม (เงินทุนหมุนเวียน,โรงเรือนและอุปกรณ์ มาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ติ ด ต า ม ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์
การตลาด/ผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์) อบรมพัฒนาองค์ความรู้ด้านการแปรรูป อุ ป ก ร ณ์ ก า ร ต ล า ด
วิจัยและให้องค์ความรู้ สนับสนุนเงินอุดหนุนอุปกรณ์แปรรูป/
ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายระดับจังหวัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์
ระดับภาค และระดับประเทศ (ปี 60 , 61 และ 63)
ส่งเสริมการตลาด/ผู้ผลิตพบผู้บริโภค/ ส่งเสริมการตลาด (online และมหกรรมสินค้า)
มหกรรมสินค้า

การเชื่อมโยงกับโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)

การดำเนินงานตั้งแต่ปี 2546 – 2549 คณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ.) คณะอนุกรรมการส่งเสริมการผลิต
(งบประมาณจะขออนุมัติจากกองทุน SME)
อดีตรองนายกรัฐมนตรี นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็ นประธาน - ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็ นประธาน
ผลการดำเนินงานภายใต้ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เป็ นเลขาฯ - กรมส่งเสริมสหกรณ์ (ผู้แทน กษ.) เป็ นเลขานุการ
คณะอนุกรรมการส่งเสริมการผลิต และคณะอนุกรรมการภายใต้ กอ.นตผ. ได้แก่ - ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม
1. คณะอนุกรรมการบริหาร กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง
ปี 2546 – 2549 2. คณะอนุกรรมการส่งเสริมการผลิต แรงงาน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็ นกรรมการ
(งบประมาณจะขออนุมัติจากกองทุน SME)
3. คณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับภูมิภาค


4. คณะอนุกรรมการส่งเสริมการตลาด

5. คณะอนุกรรมการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพผลิตภัณฑ์ กรอบการดำเนินงานส่งเสริมการผลิต

1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ - วัตถุดิบ หน่วยงานที่ได้รับงบประมาณ 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์
และเทคโนโลยีการผลิต - การใช้ปั จจัยการผลิต - กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 2. การพัฒนาวัตถุดิบและปั จจัยการผลิต
- วัสดุ อุปกรณ์การผลิต - กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. การพัฒนาองค์ความรู้ให้กลุ่ม
- การพัฒนารูปแบบ - กรมส่งเสริมการเกษตร 4. การพัฒนาการบริหารจัดการกระบวน
- กรมประมง – กรมปศุสัตว์
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ - กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน การผลิตและการติดตามประเมินผล
- การถ่ายทอดเทคโนโลยี - กรมการพัฒนาชุมชน
- องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ ประโยชน์ที่ได้รับ
เสริมสร้างองค์ความรู้ให้ - กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย 1. ด้านผลิตภัณฑ์ กลุ่มผู้ผลิตได้รับการ
แก่กลุ่ม OTOP พัฒนาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่วัตถุดิบ กรรมวิธี
และแพทย์ทางเลือก

2. กิจกรรมการพัฒนาการบริหารจัดการ หน่วยงานที่ได้รับงบประมาณ การผลิต การพัฒนาคุณภาพ รูปแบบ
กระบวนการผลิต การบริหารจัดการ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ ตามลักษณะ
องค์กร การเงิน บัญชี - กรมส่งเสริมสหกรณ์ การใช้งานและความต้องการตลาด

2. ด้านการบริหารจัดการ กลุ่มผู้ผลิต

สามารถมีการบริหารจัดการกระบวนการ

3. การติดตามประเมินผล - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผลิต การตลาด รวมทั้งการบริหารจัดการ
- กรมส่งเสริมสหกรณ์ องค์กรอย่างเป็ นระบบมากขึ้น

การเชื่อมโยงกับโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)

การดำเนินงานตั้งแต่ปี 2551 ถึง ปี 2559 - คณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ.)
(งบประมาณจะเป็ นงบปกติตั้งที่ ประกอบด้วย ทุกกระทรวง โดยมีสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เป็ นเลขานุการ
- ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และอธิบดีกรมส่งเสริมได้เข้าร่วมประชุมใน กอ.นตผ.
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี - ปี 2559 หน่วยงานภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ได้รับงบ OTOP มีกรมส่งเสริม
การเกษตร กรมประมง และกรมปศุสัตว์

การดำเนินงานตั้งแต่ปี 2560 ถึงปั จจุบัน - การตั้งงบประมาณปี 2560 -2561 อยู่ภายใต้แผนบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง
- หน่วยงานที่ได้รับงบประมาณปี 2560 ได้แก่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมประมง

และกรมปศุสัตว์

ปี 2564 กลุ่มอาชีพเข้าร่วมจำหน่ายสินค้าในงาน OTOP
ปี 2565 ร่วมจัดทำแผนแม่บทพัฒนาหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 2566-2570 (เริ่มขับเคลื่อน)

ประชุมคณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ.)
และเพิ่มเติมองค์ประกอบคณะอนุกรรมการ


Click to View FlipBook Version