อารยธรรมจนี
ลุ่มแมน่ าํ ฮวงโห
คํานาํ
หนังสือเลม่ นเี ปนส่วนหนึงของรายวิชา วิชาอารายธรรมโลก (ส33101)
จัดทาํ เพือเปนหนงั สือเพือให้ไดศ้ ึกษาหาความรเู้ กียวกบั อารายธรรมจนี ล่มุ
แม่นาํ ฮวงโห ดิฉนั หวงั ว่าหนงั สือเล่มนีจะเปนประโยชน์ตอ่ ผู้อา่ นและผู้
สนใจอยา่ งยงิ
นางสาว พิมพ์พิศา สงสุรพันธ์
ผ้จู ัดทํา
สารบญั หน้า
เรอื ง 1
ยคุ หนิ ใหม่ 2
อารยธรรมจนี เกดิ ขนึ ครงั แรกทลี มุ่ แมน่ าฮวงโห 5
11
แนวคดิ ของขงจอื เลา่ จดื เมง่ จดื ทมี อี ทิ ธพิ ลตอ่ งสงั คมจนี 13
เศรษฐกจิ สายเเพรไหม 18
ความเจรญิ ทางดา้ นวทิ ยาการตา่ งๆ 20
วรรกรรม
การปกครองระบบกษตั รยิ ์
อารยธรรมจนี เกิดขึนครงั
แรกทีลุ่มแม่นาํ ฮวงโห
คอื ทรี าบตอนปลายของแมน่ าฮวงโหและแมน่ าแยงซี
เกยี ง อารยธรรมจนี เจรญิ โดยไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากภายนอก
น้อยเพราะทศิ ตะวนั ออกตดิ มหาสมทุ รแปซิฟก ทางตะวนั
ตกและทศิ เหนือเปนทงุ่ หญา้ ทะเลทราย และเทอื กเขา จนี
ถอื วา่ ตนเปนศนู ยก์ ลางของโลก เปนแหลง่ กาํ เนิดความ
เจรญิ แหลง่ อารยธรรมยคุ หนิ ใหม่
2
แมน่ าํ ฮวงโห
3
ทพี บ มอี ายปุ ระมาณ 2,000 ปกอ่ นครสิ ตก์ าลทตี าํ บล ยาง
เชา เรยี กวฒั นธรรมยางเชา มณฑลเฮอหนาน และวฒั นธรรม
ลงุ ชาน ทเี มอื งลงุ ชาน มณฑลชานตงุ พบเครอื งมอื เครอื งใช้
ทาํ ดว้ ยหนิ กระดกู สตั วเ์ ครอื งปนดนิ เผา กระดกู ววั กระดองเตา่
เสยี งทาย
จนี เปนชาตทิ มี คี วามเจรญิ มาตงั แตส่ มยั โบราณ มี
อารยธรรมเกา่ แกจ่ นไดช้ ือวา่ เปนออู่ ารยธรรมของชาตติ ะวนั
ตก (ชนชาตใิ นทวปี เอเชีย)
4
แนวคดิ ของขงจือ เลา่ จืด
เมง่ จดื ทีมีอทิ ธพิ ลต่องสังคม
จนี
ขงจอื ไดม้ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ชาวจนี อยา่ งใหญห่ ลวงรอบดา้ น คาํ สอนของ
ขงจอื ถอื เปนแบบอยา่ งในการดาํ เนินชีวติ และเปนมาตรฐานของ
สงั คม ความรสู้ กึ นึกคดิ ของชาวจนี จะแนบแน่นอยกู่ บั ปรชั ญาขงจอื
งานนิพนธข์ องขงจอื ถอื กนั วา่ เปนวรรณกรรมชันสงู และเปน
หลกั สตู รใช้ศกึ ษากนั ในสถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ อกี ทงั เปนวชิ า
สาํ หรบั สอบไลข่ องทางราชการอกี ดว้ ย ปรชั ญาขงจอื ทาํ ใหช้ าวจนี
มวี ฒั นธรรมทเี ปนเอกลกั ษณ์ของตนหลายอยา่ ง
5
ภาพเขียนขงจือโดยจิตรกรสมยั ราชวงศถ์ งั ขงจือ
เกดิ -551 ปกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราชโจว, แควน้ หลวิ
(ปจจบุ นั คอื เมอื งฉีฟู มณฑลซานตง)
เสยี ชีวติ -479 ปกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช แควน้ หลวิ ยคุ
ปรชั ญาโบราณ
แนวทาง ปรชั ญาจนี
สาํ นัก ผกู้ อ่ ตงั สาํ นักขงจอื
ความสนใจหลกั ปรชั ญาศลี ธรรม, ปรชั ญาสงั คม,
บทกวี
แนวคดิ เดน่ ลทั ธขิ งจอื
6
เหล่าจอื
เลา่ จอื ซึงมอี ทิ ธพิ ลตอ่ วฒั นธรรมของประเทศจนี อยา่ งมาก
เทยี บเทา่ ไดก้ บั ขงจอื นักปราชญค์ นสาํ คญั ในยคุ กอ่ นหน้านี โดย
มเี นือหาวา่ ดว้ ยเรอื งปรชั ญาบคุ คล ความกลมกลนื ตอ่ การใช้
ชีวติ กบั ธรรมชาติ จนไปถงึ ปรชั ญาการเมอื งตาํ ราอนั เปน
แบบแผนทางลทั ธเิ ตา๋ ซึงเปนผลงานทยี งั คงตกทอดมาถงึ ยคุ
ปจจบุ นั นี นอกจากนี เลา่ จอื ยงั มคี วามเชียวชาญทาง
ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์ ดาราศาสตร์
7
เหลา่ จอื
เลา่ จอื แปลโดยนัยได้ 2 แบบวา่ "อาจารยผ์ ู้ 8
อาวโุ ส" หรอื "เดก็ ผอู้ าวโุ ส"
เกดิ ทหี มบู่ า้ นชีเหยนิ ลี อาํ เภอขเู่ สยี น แควน้ ฉู่
เมอื วนั ที 15 เดอื นยี กอ่ นค.ศ.ราว 576 ป (กอ่ นพ.ศ.
33 ป)
เลา่ จอื , จาก ไมทแ์ อนดล์ เี จนสอ์ อฟไชน่า,
ค.ศ. 1922 โดย อ.ี ท.ี ซี. เวอรเ์ นอร์
เม่งจือ
1.ด้านการศกึ ษา แนวคิดของเม่งจอื สง่ เสรมใหค้ นมีการศึกษา คือ เชอื วา่ คนมกี ารศึกษาเทา่ นนั จงึ เก็บเอา
ความเจรญของมนุษย์ถา่ ยทอดไปใหล้ กู หลานได้ ในประเทศจนี พยายามส่งเสรมใหบ้ ุตรหลานของตนเข้ารับ
การศึกษา เพือจะไดม้ ีหนา้ ทีการงานทีดี
2.ดา้ นปกครอง ลทั ธิเมง่ จอื เปนแนวคิดพนื ฐานของทังการปกครองแบบประชาธิปไตยและคอมมวิ นิสต์
แนวคิดในส่วนนมี คี วามขดั แยง้ กับลัทธขิ งจือ เนืองจากขงจือให้ความสําคัญกับสถาบนั ครอบครัวมากกวา่
สถาบนั ชาติ
3.ดา้ นเศรษฐกิจ แนวคดิ ของเมง่ จอื มผี ลตอ่ การเปลียนแปลงทางเศรษฐกจิ คือเปนผลใหป้ ระเทศจีนมีระบบ
เศรษฐกิจแบบสังคมนยิ มความเปนอยใู่ นสงั คมทุกคนต้องมคี วามอย่รู อดเสมอกันทีดนิ ทอี ย่ใู นประเทศก็ 9
ถอื วา่ เปนของรัฐ ดังนันทกุ คนต้องทาํ เพอื รัฐและความอยู่รอดของตน
เม่งจือ
เมง่ จือ เม่งจอื หรอในทางตะวนั ตกรู้จักในชอื เมน 10
เชียส ( องั กฤษ : Mencius ) ปเกดิ ทไี ด้รับ
การยอมรับทสี ุดคือประมาณ 372 - 289 กอ่ น
ครสตกาล หรออาจราว 385 - 303/302
ก่อนครสตกาล)
เปนนกั ปรัชญาชาวจนี เปนคนเมืองจทู าง
ตอนใต้ของ มณฑลชานตง เมง่ จือได้รับ
ถา่ ยทอดแนวความคดิ ของ ขงจอื มาจากหลาน
ชายของขงจือเอง จึงถอื วา่ เปนลกู ศษิ ยข์ อง
ขงจอื คนหนงึ
เศรษฐกิจสายเเพรไหม
เปนชุดเสน้ ทางการสง่ การคา้ และวฒั นธรรมซึงเปนศนู ยก์ ลางของอนั ตร 11
กริ ยิ าทางวฒั นธรรมผา่ นภมู ภิ าคของทวปี เอเชียทเี ชือมตะวนั ตกและตะวนั
ออกโดยการโยงพอ่ คา้ วาณิช ผแู้ สวงบญุ นักบวช ทหาร ชนเรร่ อ่ นและผู้
อาศยั ในเมอื งจากจนี และอนิ เดยี ไปยงั ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียน
ระหวา่ งเวลาหลายสมยั เสน้ ทางสายไหมทางทะเลมสี ว่ นสาํ คญั อยา่ งยงิ
ตอ่ การคา้ และเศรษฐกจิ ของจนี โบราณ ดงั นันสมยั ราชวงศถ์ งั ราชวงศซ์ ่ง
ราชวงศห์ ยวน ราชวงศห์ มงิ ไดว้ างระบบการจดั การและกฎระเบยี บการคา้ แก่
พอ่ คา้ ชาวตา่ งประเทศ
สรา้ งรายไดม้ หาศาลจากการคา้ ตา่ งประเทศ รวมถงึ แลกเปลยี นสนิ คา้ กบั
ดนิ แดนอนั หา่ งไกลและยงั มกี ารแลกเปลยี นวฒั นธรรมตา่ งๆ สนิ คา้ สง่ ออกที
สาํ คญั ของจนี ไดแ้ ก่ ผา้ ไหม เครอื งเคลอื บดนิ เผา ชา นาตาล เปนตน้
เส้นทางเเพรสายไหม
ส่วน สินคา้ นาํ เข้ามีความหลากหลาย เช่น อญั มณี สมนุ ไพร เครืองเทศ
งาชา้ ง ผ้คู า้ หลกั ระหวา่ งยคุ โบราณ คือ ชาวจนี เปอรเ์ ซีย กรกี ซเี รีย
โรมัน อาร์มเี นยี อนิ เดียและแบกเตรีย (Bactrian) และตังแต่ครสิ ต์
ศตวรรษที 5 ถึง 8 เปนชาวซอกเดยี (Sogdian) ระหวา่ งการเจรญิ ของ
ศาสนาอิสลาม พ่อคา้ อาหรบั กลายมาโดดเดน่
12
ความเจริญทาง
ด้านวทิ ยาการต่างๆ
ภาพวาดเปนเรองเลา่ ในตาํ ราขงจือ 1.จติ รกรรม มวี วิ ฒั นาการมาจากการเขยี นตวั อกั ษรจนี
พระพุทธศาสนาและภาพธรรมชาติ จารกึ บนกระดกู เสยี งทายเพราะตวั อกั ษรจนี มลี กั ษณะ
เหมอื นรปู ภาพ งานจติ รกรรมจนี รงุ่ เรอื งมากในสมยั
ราชวงศฮ์ นั มกี ารเขยี นภาพและแกะสลกั บนแผน่ หนิ
ภาพวาดเปนเรอื งเลา่ ในตาํ ราขงจอื พระพทุ ธศาสนาและ
ภาพธรรมชาตสิ มยั ราชวงศถ์ งั การพฒั นาการใช้พกู่ นั สี
และกระดาษภาพสว่ นใหญไ่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากพทุ ธ
ศาสนาและลทั ธเิ ตา๋
13
2.ประตมิ ากรรม
สมยั ราชวงศช์ าง มีการแกะสลกั งาช้าง หนิ ออ่ น และหยกตามความเชอื
และความนิยมของชาวจีน ทีเชอื วา่ หยก ทาํ ให้เกดิ ความเปนสิรมงคล
ความสุขสงบ ความรอบรู้ ความกลา้ หาญ สมยั ราชวงศ์ถังมีการพัฒนา
เครองเคลอื บดินเผาเปนเคลอื บ 3 สีคือ เหลือง นาํ เงิน เขียว ส่วนสี
เขียวไข่กามชี ือเสยี งมากในสมัยราชวงศ์ซ้อง
ส่วนพระพุทธรูปนิยมสร้างในสมยั ราชวงศถ์ ัง ทงั งานหลอ่ สํารดและแกะ
สลักจากหิน เปนการผสมผสานระหวา่ งศิลปะอินเดยี และจีนทมี ลี ักษณะ
เปนมนุษย์มากกวา่ เทพเจ้า นอกจากนีมีการปนรูปพระโพธสิ ตั วก์ วนอิม
14
ประติมากรรม
สสุ านของจกั รพรรดิ พระโพธสิ ตั ว์กวนอมิ เครืองลายครามและ
จนิ ซี พระศรีศากยะมุนี ลายสีแดง
15
3.สถาปตยกรรม
1.กําแพงเมอื งจนี สร้างในสมัยราชวงศ์จนิ เพอื ปองกันการรุกรานของ
มองโกล
2.พระราชวงั เมืองปกกงิ สร้างในสมยั ราชวงศ์หงวนโดยกุบไลขา่ น ซงึ ได้
รับการยกย่องทางดา้ นการวางผังเมอื ง สว่ นพระราชวงั ปกกิงสร้างใน
สมยั ราชวงศ์เหมง็
3.พระราชวงั ฤดูร้อนสร้างในสมยั ราชวงศเ์ ชง็ โดยพระนางซสู ไี ทเฮา ซึง
เปนสถาปตยกรรมทผี สมผสานระหวา่ งยุโรปและจนี โบราณวรรณกรรม
วรรณกรรม 16
กาํ แพงเมอื งจนี พระราชวงั ปกกงิ พระราชวังฤดรู ้อน
17
วรรกรรม 18
1.สามกก๊ สนั นิษฐานวา่ เขยี นในครสิ ตศ์ ตวรรษที 14 เปนเรอื งราว
ของความแตกแยกในจนี ตงั แตป่ ลายสมยั ราชวงศจนิ จนถงึ ราชวงศ์
ฮนั
2.ซ้องกงั เปนเรอื งประทว้ งสงั คม เรอื งราวความทกุ ขข์ องผคู้ นใน
มอื ชนชันผปู้ กครอง สะทอ้ นความทกุ ขข์ องชาวจนี ภายใตก้ าร
ปกครองของพวกมองโกล
3.ไซอวิ เปนเรอื งราวการเดนิ ทางไปนําพระสตู รจากสวรรคท์ าง
ตะวนั ตกมายงั ประเทศจนี 4.จนิ ผงิ เหมย หรอื ดอกบวั ทอง แตง่ ขนึ
ในราวครสิ ตศ์ ตวรรษที 16-17 เปนนิยายเกยี วกบั สงั คมและชีวติ
ครอบครวั เปนเรอื งของชีวติ ทรี ารวย มอี าํ นาจขนึ มาดว้ ย
เลห่ เ์ หลยี ม แตด่ ว้ ยการทาํ ชัวและผดิ ศลี ธรรมในทสี ดุ ตอ้ งไดร้ บั
กรรม
สามกก๊ ซอ้ งกงั ไซอิว
19
การปกครองระบบกษตั รยิ ์
โดยมจี นิ ซีฮอ่ งเตเ้ ปนฮอ่ งเตพ้ ระองคแ์ รก กอ่ นสมยั ราชวงศฉ์ ินประเทศจนี ไดถ้ กู แบง่
เปนแวน่ แควน้ ตา่ งๆมากมาย และแตล่ ะแควน้ จะมผี ปู้ กครองเรยี กวา่ "ออ๋ ง" ซึงแปลวา่
พระมหากษตั รยิ ์ แตต่ อ่ มาหลงั จากออ๋ งแหง่ แควน้ ฉินไดร้ วบรวมแวน่ แควน้ ตา่ ง ๆ เปน
หนึงเดยี วจงึ สถาปนาแผน่ ดนิ เปนจกั รวรรดจิ นี และประกาศใช้เปนพระนามคาํ นําหน้า
วา่ จกั รพรรดหิ รอื ฮอ่ งเต้ คอื ฉินซือหวงตี หรอื จนิ ซีฮอ่ งเต้
ตงั แตส่ มยั ราชวงศฉ์ ิน ฮอ่ งเตไ้ ดร้ บั การเคารพในฐานะโอรสแหง่ สวรรค์ คอื เปรยี บ
เสมอื นไดร้ บั อาํ นาจจากสวรรคม์ าใหป้ กครองประชาชน ตามหลกั การ "สงู สดุ โอรส
สวรรค์ ลา่ งสดุ นันประชาราษฎร" การสบื ทอดตาํ แหน่งฮอ่ งเตม้ กั อยใู่ นรปู แบบจาก
บดิ าไปยงั บตุ ร
20
โดยคาํ วา่ ฮอ่ งเต้ หรอื หวงตี ถา้ แปลตรงตวั จะสามารถ ฉินสอื หวงตี
แปลไดว้ า่ "ผปู้ กครองทยี งิ ใหญ"่ โดยนํามาจากพระนาม
ฮอ่ งเตอ้ งคแ์ รกคอื "ฉินซือหวงต"ี หลงั จากนันตาํ แหน่งฮอ่ งเต้ 21
กด็ าํ รงอยมู่ านับพนั ปซึงตงั แตร่ าชวงศฉ์ ิน ราชวงศฮ์ นั ราช
วงศจ์ นิ ราชวงศส์ ยุ ราชวงศถ์ งั ราชวงศซ์ ่ง ราชวงศห์ ยวน
ราชวงศห์ มงิ โดยมาสนิ สดุ ทรี าชวงศช์ ิง
เนืองจากบรหิ ารบา้ นเมอื งลม้ เหลวและยงั ถกู ประเทศ
ตา่ งชาตริ กุ ราน เปนเหตใุ หป้ ระเทศจนี เกดิ การปฏริ ปู การ
ปกครองจากระบอบระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยม์ าเปน
ประชาธปิ ไตยแบบสาธารณรฐั
สมเดจ็ จกั รพรรดิผ่อู ี
ตาํ แหน่งฮอ่ งเตจ้ งึ สนิ สดุ ลงเมอื วนั ที
12 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ. 1912 ฮอ่ งเตพ้ ระองค์
สดุ ทา้ ยของประเทศจนี คอื จกั รพรรดฮิ งเซียน
หรอื หยวน ซือไข่ แตไ่ มไ่ ดร้ บั การยอมรบั จาก
ประชาชน โดยฮอ่ งเตพ้ ระองคส์ ดุ ทา้ ยทไี ดร้ บั
การยอมรบั จากประชาชนคอื สมเดจ็ พระจกั ร
พรรดผิ อู่ แี หง่ ราชวงศช์ ิง
22
นางสาว พมิ พพ์ ิศา สงสรุ พันธ์
ม.6/3 เลขที 37