The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by petchareeip, 2021-09-09 15:25:12

รวม ใบความรุ้ ใบงาน ป.6

โรงเรียนเทศบาล ๕ เทศบาลเมืองป ตตาน ี







㺧ҹ-㺤ÇÒÁà ٌ









ÇÔªÒÇÔ·ÂÒÈÒʵà 






ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 6











â´Â


¤Ø³¤ÃÙྪÃÃÕÂ ¹ÃÔ¹·ÃÃѵ¹ 

ใบความรู้



ี่
วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
เรื่อง ประโยชน์ของสารอาหาร


สารอาหาร หมายถึง สารที่มีอยู่ในอาหาร ซึ่งร่างกายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตได้

แบ่งออกเป็น ๖ ประเภท คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้ำ โดยใน ๑ วัน เราควร
รับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบทั้ง ๖ ประเภท

ถ้าต้องการจำแนกสารอาหารตามเกณฑ์การได้รับพลังงานจากสารอาหาร สามารถแบ่งสารอาหาร
ออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ

๑. สารอาหารที่ให้พลังงาน ได้แก่ ไขมัน โปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต

๒. สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน เกลือแร่ และน้ำ


โดยสารอาหารแต่ละกลุ่มจะให้ประโยชน์ที่แตกต่างกันดังนี้
กลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงาน ได้แก่ ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต


๑. ไขมัน
ไขมัน พบในน้ำมันและไขมันจากพืชและสัตว์ ให้พลังงานแก่ร่างกาย ๙ กิโลแคลอรีต่อกรัม ช่วยให้

ร่างกายอบอุ่นและควบคุมการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ ถ้าขาดสารอาหารประเภทไขมนจะทำให้ร่างกาย

ชุบผอม ผิวหนังเหี่ยวย่น

2. โปรตีน
โปรตีน พบในเนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว เมล็ดแห้ง และงา ให้พลังงานแก่ร่างกาย ๔ กิโลแคลอรีต่อกรัม ทำ

ให้ร่างกายเจริญเติบโต มีสุขภาพดี เสริมสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยควบคุมการทำงานของร่างกาย

ให้เป็นปกติ ถ้าขาดสารอาหารประเภทโปรตีนจะทำให้ร่างกายซูบผอม ตัวซีด เหนื่อยง่าย ผมร่วง อ่อนเพลีย
เลือดจาง

๓. คาร์โบไฮเดรต

คาร์โบไฮเดรต พบในข้าว แป้ง เผือก มันและน้ำตาล ให้พลังงานแก่ร่างกาย ๔ กิโลแคลอรีต่อกรัม ช่วย

ควบคุมการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ ถ้าขาดสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตจะทำให้ร่างกายอ่อนแอ
ไม่มีแรง ซูบผอม ความต้านทานโรคมีน้อย อาจเกิดโรคแทรกได้ง่าย



กลุ่มสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน เกลือแร่ และน้ำ

๑. วิตามิน

วิตามิน พบในผลไม้ พืช ผัก ช่วยเสริมสร้างการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ ทำให้ร่างกาย
เจริญเติบโต มีสุขภาพดี ถ้าขาดวิตามินอาจทำให้เป็นโรคต่าง ๆ เช่น ขาดวิตามินเอทำให้เกิดโรคตาฟาง ตาบอด

กลางคืน ป้องกันโดยการรับประทานอาหารประเภทไขมัน ผักใบเขียวและใบเหลือง เช่น มะละกอ คะน้า ตำลึง

ไข่ นม มะม่วงสุก ผักบุ้ง ขาดวิตามินบีหนึ่งทำให้ใจสั่น เกิดโรคหัวใจโตและเต้นเร็ว หอบ เหนื่อย โรคเหน็บชา

ป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารที่มีวิตามินบีหนึ่งเป็นประจำ เช่น ข้าวซ้อมมือ ถั่วเมล็ดแห้ง

๒. เกลือแร่
เกลือแร่ พบในผลไม้ พืช ผัก ช่วยเสริมสร้างการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ ทำให้ร่างกาย


เจริญเติบโต มีสุขภาพดี ตลอดจนเป็นส่วนประกอบหลักของอวัยวะ เช่น กระดูกและฟน ร่างกายต้องการเกลือ
แร่ในปริมาณน้อย แต่ขาดไม่ได้เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน เหล็ก
แมกนีเซียมและโซเดียม

โรคขาดเกลือแร่
ถ้าร่างกายขาดเกลือแร่ก็จะทำให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น

▪ ถ้าขาดธาตุแคลเซียม จะเป็นโรคกระดูกอ่อน กระดูกไม่แข็งแรง อาการของโรคจะทำให้ข้อต่อ

กระดูกบวม ขาโค้งโก่ง กล้ามเนื้อหย่อน กระดูกซี่โครงด้านหน้ารอยต่อนูนทำให้อกเป็นสัน
เรียกว่าอกไก่ ป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารประเภท นมสุด ปลาที่กินได้ทั้งกระดูก

กระดูกอ่อน ผักสีเขียว และควรเสริมด้วยน้ำมันตับปลา

▪ ถ้าขาดธาตุเหล็ก จะเป็นโรคโลหิตจาง ร่างกายอ่อนแอ เบื่ออาหาร ความต้านทานโรคต่ำ
เปลือกตาขาวซีด ลิ้นอักเสบ เล็บเปราะ ป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารจำพวกเครื่องใน

เช่น ตับ หัวใจ เลือด เนื้อสัตว์ ผักใบเขียว

▪ ถ้าขาดธาตุไอโอดีน ได้แก่ โรคคอหอยพอก ต่อมไทรอยด์บวม และถ้าเป็นในเด็กจะทำให้
ร่างกายแคระ สติปัญญาเสื่อม หรือที่เรียกว่าโรคเอ๋อ ป้องกันได้โดยการรับประทานอาหาร

ทะเล ของเค็ม เกลือสมุทร (เกลือที่มาจากทะเล)

๓. น้ำ

ร่างกายมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบประมาณ ๖๐ เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว น้ำทำหน้าที่ลำเลียง

อาหารและสารต่าง ๆ ไปทั่วร่างกาย ถ้าร่างกายขาดน้ำจะทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูง เกิดตะคริว หมดแรง
หน้ามืด วิงเวียน จนเสียชีวิตได้ดังนั้นในแต่ละวันเราจึงควรดื่มน้ำอย่างน้อย ๖-๘ แก้ว หรือรับประทานผัก

ผลไม้ที่มีน้ำสะสมอยู่มาก เช่น แตงโม ส้ม สับปะรด แตงกวา โดยทั่วไปมนุษย์จะขาดน้ำได้ไม่กิน ๗ วัน ปริมาณ
น้ำที่จำเป็นต้องดื่มต่อวันขึ้นอยู่กับความร้อนของอากาศและกิจกรรมของมนุษย์ ในวันที่อากาศร้อนจัดร่างกาย

อาจสูญเสียน้ำถึง ๒ ลิตรต่อชั่วโมง หรือนักกีฬาที่ต้องออกกำลังมากเป็นระยะเวลานาน เช่น นักวิ่งมาราธอน

จะต้องดื่มน้ำเพิ่มมากกว่าปกติ เพราะร่างกายสูญเสียน้ำไปมากทั้งทางเหงื่อและลมหายใจออกเนื่องจากต้อง
หายใจเร็วและแรงมากกว่าปกติ นักวิ่งอาจจะสูญเสียน้ำ ๑-๒ ลิตรต่อชั่วโมง

ในแต่ละวัน เราควรรับประทานอาหารให้ได้รับสารอาหารครบทั้ง ๖ ประเภท เพื่อให้ร่างกายได้รับ
ประโยชน์จากสารอาหาร และทำให้เรามีการเจริญเติบโตและดำรงชีวิตได้เหมาะสมตามเพศและวัย

ใบงานที่ 1.1 อาหารกับสารอาหาร

จุดประสงค์
๑. รวบรวมข้อมูล บอกความหมายและประโยชน์ของสารอาหาร
วิธีทำ

๑. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่พบในอาหารหลัก ๕ หมู่ และประโยชน์ของสารอาหารจากใบ
ความรู้เรื่องประโยชน์ของสารอาหาร และจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ นำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ






สารอาหารที่พบในอาหารหลัก ๕ หมู่และประโยชน์ของสารอาหาร

ใบงานที่ 1.2 สารอาหารที่ได้จากการรับประทานอาหาร 1 มื้อ

จุดประสงค์
1. จำแนกประเภทของสารอาหาร
วิธีทำ

1. สำรวจสารอาหารในอาหารที่ตนเองรับประทานใน ๑ มื้อ บันทึกผล ตรวจสอบความถูกต้องในการ
จำแนกประเภทของสารอาหารในอาหารที่รับประทาน และอภิปรายประโยชน์ที่ได้รับจากสารอาหาร


ตาราง สารอาหารที่ได้จากการรับประทานอาหาร ๑ มื้อ
สารอาหาร


ชื่ออาหาร ส่วนประกอบในอาหาร คาร์โบไฮเดรต ประโยชน์ที่ได้รับ
โปรตีน ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ น้ำ




…………………….... ..................................... ……………………......
…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................


…………………….... ..................................... ……………………......
…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ……………………......

…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ……………………......

…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................

…………………….... ..................................... ..............................
…………………….... ..................................... ..............................

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่

ใบงานที่ 1.3 ตอบคำถามจากใบความรู้ เรื่องประโยชน์ของสารอาหาร

คำชี้แจง จากการอ่านใบความรู้ เรื่องประโยชน์ของสารอาหาร นักเรียนสามารถสรุปใจความสำคัญและนำมา

ตอบคำถามต่อไปนี้


1) สารอาหารหมายถึงอะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) สารอาหารที่ให้พลังงาน ได้แก่อะไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


3) สารอาหารที่ไมให้พลังงาน ได้แก่อะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4) นักเรียนรับประทานก๋วยเตี๋ยวราดหน้าทะเล นักเรียนจะได้ประโยชน์จากอาหารที่รับประทานอะไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ื้
ั้
5) ถ้าใน ๑ วันเราควรรับประทานอาหารให้ครบทง 6 ประเภท ให้นักเรียนออกแบบมออาหารใน ๑ วัน ว่า
ควรรับประทานอาหารอะไรบ้าง ยกตัวอย่างอาหาร

มื้อเช้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

มื้อเที่ยง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

มื้อเย็น

………………………………………………………………………………………………………………………………………………










ชื่อ...............................................................................................................เลขที่.............ชั้น...................

ใบงานที่ 1.4

ี่
วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามลงในชิ้นงานให้ถูกต้อง พร้อมตกแต่งให้สวยงาม

หน้า 1


ใบความรู้ 1.5

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ไม่ต้องส่งครูประจำชั้น)

เรื่อง ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน



การรับประทานอาหารในแต่ละวัน นอกจากเราต้องรับประทานอาหารให้ได้ครบทั้ง 6 ประเภทแล้ว
ยังต้องรับประทานอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ซึ่งปริมาณพลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่

ละวันจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเพศ วัย และกิจกรรมที่ทำ ดังตาราง ถ้าใน 1 วัน ร่างกายได้รับพลังงานจาก

อาหารมากเกินไป ร่างกายจะสะสมพลังงานส่วนที่เกินนั้นไว้ในรูปของไขมัน ส่งผลให้มีรูปร่างไม่ได้สัดส่วน
หรืออ้วน แต่ถ้าร่างกายได้รับพลังงานจากอาหารน้อยเกินไปจะส่งผลให้ร่างกายมีรูปร่างผอม และอาจ

อ่อนเพลีย ซึ่งการได้รับพลังงานมากหรือน้อยเกนไป อาจทำให้เป็นโรคต่างๆ ได้

หน่วยที่ใช้วัดพลังงานในอาหารเรียกว่า แคลอรี (Calorie) โดย 1,000 แคลอรี เท่ากับ 1 กิโลแคลอรี


ตาราง แสดงปริมาณพลังงานที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน



ปริมาณพลังงาน (กิโลแคลอรี)

อายุ เรียนหรือทำงานปกติ ออกกำลังกายหรือใช้แรงงาน


หญิง ชาย หญิง ชาย


1 – 3 ปี 1,000 1,000 1,000 – 1,400 1,000 – 1,400

4 – 5 ปี 1,300 1,300 1,400 – 1,800 1,600 – 2,000


6 – 8 ปี 1,400 1,400 1,400 – 1,800 1,600 – 2,000

9 – 12 ปี 1,500 1,700 1,800 – 2,200 2,000 – 2,600


13 – 15 ปี 1,800 2,100 2,400 2,800 – 3,200


16 – 50 ปี 1,750 – 1,850 2,100 – 2,300 2,200 – 2,400 2,800 – 3,000

51 ปี ขึ้นไป 1,550 – 1,750 1,750 – 2,100 2,000 – 2,200 2,400 – 2,800



ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1
ื้

หน้า 2


ใบความรู้ 1.5


วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ไม่ต้องส่งครูประจำชั้น)


ตาราง แสดงปริมาณพลังงานที่ได้จากการรับประทานอาหารแต่ละชนิด

ชื่ออาหาร ปริมาณ ปริมาณพลังงาน (กิโลแคลอรี)

ข้าว สตูว์ไก่ 1 จาน 465
ข้าวกุ้งทอดกระเทียมพริกไทย 1 จาน 495

ข้าวไก่อบ 1 จาน 490


ข้าวขาวว 1 จาน 690
ข้าวไข่เจียว 1 จาน 445

ข้าวผัดน้ำพริกกุ้งสด 1 จาน 460

ข้าวผัดอเมริกัน 1 จาน 790
ข้าวราดผัดเผ็ดปลาดุก 1 จาน 544

ข้าวมันไก่ 1 จาน 585

ข้าวมันไก่ทอด 1 จาน 695
ข้าวมันส้มตำ เนื้อผัดหวาน 1 จาน 590

ก๋วยเตี๋ยวต้มยำกุ้ง 1 จาน 320

ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กต้มยำทะเล 1 จาน 335

ก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่ผัดชีอวใส่ไข่ 1 จาน 520
ิ้
บะหมี่กรอบราดหน้า 1 จาน 515

ผัดไทยวุ้นเส้น กุ้งสด 1 จาน 520

แฮมเบอร์เกอร์ไก่ชีส 1 ชิ้น 280
แฮมเบอร์เกอร์ปลา 1 ชิ้น 245

โดนัท 1 ชิ้น 270

โรตีสายไหม 1 ชิ้น 145
ไอศกรีมกะทิ 1 ก้อน 108

น้ำมะนาว 1 แก้ว 100

น้ำมะพร้าว 1 แก้ว 120
น้ำลำไย 1 แก้ว 100

น้ำส้มคั้น 1 แก้ว 160

หน้า 3


ใบงานที่ 1.5

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

คำชี้แจง : นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.5 วิเคราะห์ และนำมาตอบคำถามต่อไปนี้


ข้อมลของตัวฉัน

ฉันอายุ .............ปี ฉันเป็นเพศ ....................

ปริมาณพลังงานที่ควรได้รับ จากการรับประทานอาหารใน 1 วันเท่ากับ .................... กิโลแคลอรี



ตัวอย่าง อาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อใน ๑ วัน (ใช้ข้อมลจากตารางที่กำหนดให้)
อาหารเช้า

ชื่ออาหาร ปริมาณพลังงาน (กิโลแคลอรี)
ผัดไทยวุ้นเส้น กุ้งสด 520 กิโลแคลอรี

โดนัท 270 กิโลแคลอรี

น้ำมะพร้าว 120 กิโลแคลอรี
รวม 910 กิโลแคลอรี



อาหารที่นักเรียนรับประทานในแต่ละมื้อใน ๑ วัน

อาหารเช้า
ชื่ออาหาร ปริมาณพลังงาน (กิโลแคลอรี)








รวม



อาหารกลางวัน

ชื่ออาหาร ปริมาณพลังงาน (กิโลแคลอรี)







รวม

หน้า 4


อาหารเย็น

ชื่ออาหาร ปริมาณพลังงาน (กิโลแคลอรี)







รวม



ปริมาณพลังงานที่นักเรียนได้รับจากอาหารที่รับประทานใน 1 วัน เท่ากับ


1. อาหารเช้า = .............................................. กิโลแคลอรี


2. อาหารกลางวัน = .............................................. กิโลแคลอรี


3. อาหารเย็น = .............................................. กิโลแคลอรี


รวมปริมาณพลังงานทั้งหมดเท่ากับ .............................................. กิโลแคลอรี




สรุป นักเรียนได้รับปริมาณพลังงานที่ได้รับจากอาหารที่รับประทานใน 1 วัน


 มากเกินไป  พอดี  น้อยเกินไป






















ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ใบงานที่ 1.6

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง การรับประทานอาหารให้ได้สัดส่วนตามธงโภชนาการ



ตอนที่ 1 ให้นักเรียนสำรวจการรับประทานอาหารของตนเอง และเติมตัวเลขสัดส่วนของอาหารที่
รับประทานใน ๑ วัน เทียบกับธงโภชนาการ






































































(ที่มา: สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2558. คู่มือการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการในวัยเรียน สำหรับบุคลากร
สาธารณสุข. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.)

ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ตอนที่ 2 จากธงโภชนาการข้างต้น นักเรียนวิเคราะห์สัดส่วนของอาหารที่รับประทานอาหาร ใน ๑ วัน

เป็นดังนี้



ข้าว - แป้ง  เหมาะสม  มากเกินไป  น้อยเกินไป



ผัก  เหมาะสม  มากเกินไป  น้อยเกินไป



ผลไม้  เหมาะสม  มากเกินไป  น้อยเกินไป



เนื้อสัตว์  เหมาะสม  มากเกินไป  น้อยเกินไป



นม  เหมาะสม  มากเกินไป  น้อยเกินไป



น้ำมัน น้ำตาล เกลือ  เหมาะสม  มากเกินไป  น้อยเกินไป


ตอนที่ 3 นักเรียนตอบคำถาม ดังนี้

1) การรับประทานอาหารใน ๑ วัน ให้เหมาะสม ต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง

............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................


2) จากการสำรวจการรับประทานอาหารใน ๑ วัน เราควรรับประทานอาหารตามที่สำรวจได้นี้

ต่อไปหรือไม่ เพราะเหตุใด
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................



3) ถ้าปริมาณพลังงานที่ได้รับจากอาหารที่รับประทานมากกว่าปริมาณพลังงานที่ร่างกายต้องการ
ใน ๑ วัน จะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกายตนเอง

............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................




ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

หน้า 1


ใบความรู้ 1.7 (ไม่ต้องส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง แนวทางการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี

ปัญหาโภชนาการของคนไทย เกิดจากหลากหลายสาเหตุ แต่หนึ่งในสาเหตุที่สำคัญคือ คนไทยส่วนมากยัง

ไม่ได้รับการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมการกินอาหารที่ถูกต้อง ทำให้ขาดความรู้และเจตคติที่ดีต่อการกินอาหารที่นำไปสู่
การมีภาวะโภชนาการและสุขอนามัยที่ดี ตามโภชนบัญญัติ 9 ข้อ เพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย

1. กินอาหารให้ครบ 5 หม
ู่
แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว พยายามกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และกินแต่ละหมู่ให้มีความ
หลากหลาย ไม่จำเจอยู่เพียงอาหารไม่กี่ชนิด เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารต่างๆ ครบในปริมาณที่เพียงพอกับความ

ต้องการ
2. กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ

ข้าว เป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญในการให้พลังงาน สารอาหารที่มีมากในข้าว ได้แก่
คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน โดยเฉพาะข้าวกล้อง หรือข้าวซ้อมมือ ซึ่งเป็นข้าวที่ขัดสีน้อย และเป็นข้าวที่มีประโยชน์

มากกว่าข้าวที่ขัดสีจนขาว ดังนั้น ถ้าเป็นไปได้ ควรเลือกกนข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือ เพราะมีวิตามิน แร่ธาตุ โปรตีน

และใยอาหารมากกว่าข้าวที่ขัดสีจนขาว ส่วนอาหารแป้ง เช่น ขนมปัง ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ให้กินเป็นบางมื้อ อาหาร
ื่
แป้งเป็นอาหารที่ผ่านการแปรรูป ใยอาหารจะมีน้อยกว่าในข้าว แต่เหนือสิ่งอนใดการกินหารแต่ละประเภทก็ควรกิน
ในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป เพราะถ้ากินข้าวและแป้งมากเกินความต้องการ สิ่งเหล่านั้นก็จะถูก

เปลี่ยนเป็นไขมัน เก็บไว้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เมื่อสะสมมากขึ้นเรื่อยๆ จะทำให้เกิดโรคอ้วนได้
3. กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจำ

พืชผักและผลไม้ เป็นแหล่งสำคัญของวิตามินและแร่ธาตุ รวมทั้งสารอื่นๆ เช่น สารแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วย

ไม่ให้อนุมูลอิสระทำลายเนื้อเยื่อและผนังเซลล์ ช่วยชะลอการเสื่อมสลายของเซลล์ ทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ดูสดใส
ไม่แก่เกินวัย นอกจากนี้ใยอาหารที่ได้จากการกินผักและผลไม้ยังช่วยในการขับถ่าย พร้อมนำโคเลสเตอรอลและ

สารพิษที่ก่อโรคมะเร็งบางชนิดออกจากร่างกาย ทำให้ลดการสะสมของสารเหล่านั้น ผักและผลไม้หลายอย่างให้
พลังงานต่ำ ดังนั้นหากกินให้หลากหลายและเป็นประจำจะไม่ทำให้เกิดโรคอ้วน และไขมันอุดตันในเส้นเลือด


4. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ
ปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไขและถั่วเมล็ดแห้ง เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี โปรตีนเป็นสารอาหารที่ร่างกายจำเป็นต้อง

ได้รับอย่างเพียงพอ ทั้งคุณภาพและปริมาณ เพื่อนำไปเสริมสร้างร่างกายให้เจริญเติบโต และซ่อมแซมเนื้อเยื่อซึ่งเสื่อม

สลายให้อยู่ในสภาพปกติ
ปลา : เป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ดี ย่อยง่าย มีไขมันต่ำ หากกินปลาแทนเนื้อสัตว์เป็นประจำ จะช่วยลด

ปริมาณไขมันในโลหิต เนื้อปลามีฟอสฟอรัสและไอโอดีน ทำให้กระดูกแข็งแรง และป้องกันไม่ให้เป็นโรคขาดสาร

ไอโอดีน
เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน : การกินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน จะช่วยลดการสะสมไขมันในร่างกาย

ไข่ : เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง มีแร่ธาตุและวิตามินที่จำเป็น ไข่หาซื้อง่ายปรุงและกินง่าย เด็กควรกินวันละ 1

ฟอง ผู้ใหญ่ภาวะปกติควรกินสัปดาห์ละ 2-3 ฟอง ส่วนคนที่มีปัญหาภาวะโคเลสเตอรอลสูงควรลดปริมาณลง

หน้า 2


ถั่วเมล็ดแห้ง : เป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ดี หาง่าย ราคาถกและมีหลากหลายชนิด เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่ว

ดำ ถั่วแดง ถั่วลิสง เป็นต้น หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากถั่วเมล็ดแห้ง เช่น เต้าหู้ เต้าเจี้ยว น้ำนมถั่วเหลืองหรือน้ำเต้าหู้ ฯลฯ

5. ดื่มนมให้เหมาะสมตามวย
น้ำนม เป็นอาหารที่มีประโยชน์ และเป็นแหล่งอาหารที่ประกอบไปด้วยแร่ธาตุที่สำคัญ คือ แคลเซียม

ฟอสฟอรัส นอกจากนั้นยังมีโปรตีน วิตามินบี 2 น้ำตาลแลคโตส ช่วยให้ร่ากายเจริญเติบโต จึงเป็นอาหารที่เหมาะ
สำหรับคนทุกวัย สำหรับกรณีที่ห่วงว่า การดื่มนมมากๆ อาจทำให้อ้วนได้ เราก็สามารถเลือกดื่มนมพร่องไขมัน


ได้ และในเวลาเดียวกันควรควบคุมปริมาณไขมนในอาหารชนิดอื่นด้วย เพราะเพียงไขมันจากนมอย่างเดียวไม่น่าที่จะ
ทำให้เกิดโรคอ้วน
ปริมาณการดื่มนมที่แนะนำ คือ เด็ก 1-2 แก้วต่อวัน ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 แก้วต่อวัน และก่อนซื้อนมทุก

ครั้ง ควรสังเกต วัน เดือน ปี ที่ข้างกล่องว่าหมดอายุหรือไม่ รวมทั้งควรเลือกเฉพาะนมที่บรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท
6. กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร

ถึงแม้ไขมันจะเกี่ยวข้องกับปัญหาโภชนาการ เช่น โรคอ้วน ภาวะไขมันในเลือดสูงที่นำไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด
ได้ แต่ร่างกายก็ต้องการไขมันเพื่อสุขภาพด้วยเช่นกัน เพียงแต่จะต้องควบคุมปริมาณและชนิดของไขมันที่จะบริโภค

ให้เหมาะสม ลดอาหารที่มีไขมันมาก เช่น หมูสามชั้น ขาหมูพะโล้ และอาหารที่ใช้น้ำมันจำนวนมากในการประกอบ

อาหาร เช่น อาหารทอด ผัด และอาหารที่มีกะทิเป็นส่วนประกอบ ถือว่าเป็นอาหารที่มีไขมันสูง จึงควรกินในปริมาณที่
เหมาะสม

7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด

ส่วนประกอบสำคัญของอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ได้แก น้ำตาล และเกลือ ซึ่งส่วนประกอบทั้ง 2 ชนิด

เมื่อบริโภคมากเกินไป จะเป็นสาเหตุที่สำคัญของการเกิดโรคอ้วน และโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งวิธีปฏิบัตินอกจากการ

หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัดและเค็มจัดแล้ว เราควรพยายามรับประทานอาหารที่มีรสธรรมดา หรือปรุงรสชาติ

เพิ่มเติมให้น้อยที่สุด
8. กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน

การกินอาหารที่สะอาดนับเป็นเรื่องสำคัญ เพราะจะช่วยลดอันตรายจากสิ่งปนเปื้อนต่างๆ ซึ่งอาจเป็นเชื้อ
โรค พยาธิ สารพิษ สิ่งแปลกปลอมต่างๆ และควรเลือกซื้ออาหารจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ มีการผลิตที่ถูกต้อง มีการ

เก็บรักษาที่เหมาะสม อาหารสำเร็จรูปควรบรรจุในภาชนะที่เหมาะสม สะอาด มีฉลากที่ถูกต้อง บอกวันหมดอายุ

ส่วนประกอบ ชื่ออาหาร สถานที่ผลิต นอกจากนี้ควรมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร เช่น การล้างมือก่อน
รับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลาง หรือใช้อุปกรณ์หยิบจับอาหารมากกว่าการใช้มือ

9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
เมื่อดื่มมาก จะมีผลทำให้การทำงานของระบบสมองและประสาทช้าลง ทำให้เกิดการขาดสติได้ง่าย และ

นำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ เสียทรัพย์ เสียสุขภาพ ก่อให้เกิดโรคตับแข็งและการขาดสารอาหารที่สำคัญหลาย

ชนิด ดังนั้นควรลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือควรหลีกเลี่ยงให้มากที่สุด

หน้า 3


ใบงานที่ 1.7 (ส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง แนวทางการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านใบความรู้ที่ 1.7 จากนั้นสรุปเป็นแผนภาพ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม


















แนวทางการ บริโภคอาหาร


เพื่อสุข ภาพที่ดี


























ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ใบความรู้ 1.8 (ไม่ต้องส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่

เรื่อง ระบบยอยอาหาร




ระบบย่อยอาหาร หมายถึง การทำให้สารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่กลายเป็นสารอาหารที่มี
โมเลกุลเล็กลงจนร่างกายสามารถดูดซึมเข้าสู่เลือดและนำไปใช้ประโยชน์ได้ ส่วนกากอาหารจะถูกขับออก

จากร่างกายทางทวารหนัก



แผนภาพแสดงลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ในระบบยอยอาหาร




























































ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ใบงาน 1.8 (ส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง ระบบยอยอาหาร


คำชี้แจง ให้นักเรียนบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ถูกต้อง



ระบบยอยอาหาร หมายถึง ...........................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................




แผนภาพแสดงลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ในระบบยอยอาหาร



























































ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ใบความรู้ 1.9 (ไม่ต้องส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง การย่อยเชิงกล/การย่อยเชิงเคม ี

ระบบย่อยอาหาร หมายถึง การทำให้สารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่กลายเป็นสารอาหารที่มี

โมเลกุลเล็กลงจนร่างกายสามารถดูดซึมเข้าสู่เลือดและนำไปใช้ประโยชน์ได้ ส่วนกากอาหารจะถูกขับออก

จากร่างกายทางทวารหนัก รูปแบบการย่อยอาหารในร่างกายมี 2 รูปแบบ คือ
การย่อยเชิงกล คือ การบดเคี้ยวอาหารโดยฟัน เป็นการเปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลทำให้

สารอาหารมีขนาดเล็กลง

การย่อยเชิงเคม คือ การเปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลของสารอาหารโดยใช้เอนไซม์ทเกี่ยวข้องทำให้
ี่
โมเลกุลของสารอาหารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ได้โมเลกุลที่มีขนาดเล็กลง



อวยวะที่เป็นทางเดินอาหารทำหน้าที่ในการรับและส่งอาหารโดยเริ่มจาก

ปาก -> หลอดอาหาร -> กระเพาะอาหาร -> ลำไส้เล็ก -> ลำไส้ใหญ่ -> ทวารหนัก



อวยวะที่มส่วนเกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร

ปาก

- มีการย่อยเชิงกล มีลิ้นทำหน้าที่รับรสอาหาร มีฟันทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้เล็กลง
- มีการย่อยทางเคมี โดยเอนไซม์อะไมเลสหรือไทยาลีนช่วยย่อยอาหารพวกแป้ง มีต่อมน้ำลายช่วยในการ

คลุกเคล้าอาหาร ได้แก ต่อมน้ำลายใต้ลิ้น 1 คู่ ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกรล่าง 1 คู่ ต่อมน้ำลายใต้กกหู 1 คู่ ต่อม

น้ำลายจะผลิตน้ำลายได้วันละ 1–1.5 ลิตร



หลอดอาหาร
มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบ เป็นท่อ

- มีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อทางเดินอาหารเป็นช่วงๆ เรียกว่า “เพอริสตัสซิส” เพื่อให้
อาหารเคลื่อนที่ลงสู่กระเพาะอาหาร



กระเพาะอาหาร

เป็นถุงรูปตัวเจ J ผนังด้านในมีลักษณะเป็นคลื่น
- มีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อทางเดินอาหาร

- มีการย่อยทางเคมี โดยเอนไซม์เพปซินซึ่งจะทำงานได้ดีในสภาพที่เป็นกรด เอนไซม์เพปซินจะย่อยโปรตีน

ในกระเพาะอาหารนี้ยังมีเอนไซม์อยู่อีกชนิดหนึ่งชื่อว่า“เรนนิน'' ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนในน้ำนม ในขณะที่ไม่มอาหาร
กระเพาะอาหารจะมีขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่เมื่อมีอาหารจะมีการขยายได้อีก 10–40 เท่า

ลำไส้เล็ก
เป็นท่อยาวขดไปขดมา ที่ผนังด้านในของลำไส้เล็กซึ่งมีลักษณะยื่นออกมาคล้ายนิ้วมือจำนวนมาก เป็นบริเวณ

ที่มีการย่อยและการดูดซึมมากที่สุด โดยเอนไซม์ในลำไส้เล็กจะทำงานได้ดีในสภาพที่เป็นเบส ซึ่งเอนไซม์ที่ลำไส้เล็ก

สร้างขึ้น ได้แก่ มอลเทส ซูเครส แล็กเทส ทริปซิน อะไมเลส ไลเปส เป็นต้น
อาหารเมื่อถูกย่อยเป็นโมเลกุลเล็กที่สุดแล้ว จะถูกดูดซึมที่ลำไส้เล็ก โดยโครงสร้างที่เรียกว่า วิลลัส



ตับ

ื่
มีหน้าที่สร้างน้ำดีส่งไปเก็บที่ถงน้ำดี เพอส่งให้ลำไส้เล็กช่วยให้ไขมันแตกตัว



ตับอ่อน


มีหน้าที่สร้างเอนไซม์ทริปซินส่งไปย่อยโปรตีน สร้างเอนไซม์ไลเปสไปย่อยไขมัน สร้างเอนไซมอะไมเลสไปย่อย
คาร์โบไฮเดรตที่อยู่ในลำไส้เล็ก



ม้าม
มีหน้าที่ในการควบคุมปริมาณของเลือดในร่างกายให้คงที่ ดึงเอาฮีโมโกลบินของเซลล์เม็ดเลือดแดงออกมาใช้

ในร่างกาย



ลำไส้ใหญ่
เป็นท่อ ไม่มีการย่อย มีการดูดซึมน้ำและเกลือแร่จากการอาหารและบีบตัว ส่งกากอาหารที่ย่อยไม่ได้หรือ

ย่อยไม่หมดไปยังทวารหนัก



ทวารหนัก
เป็นช่องเปิดที่อยู่ส่วนท้ายสุดของทางเดินอาหาร ทำหน้าที่ขับกากอาหารออกสู่ภายนอกร่างกาย














ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ใบความรู้ 1.9 (ส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง การย่อยเชิงกล/การย่อยเชิงเคม ี



คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.9 จากนั้นตอบคำถามต่อไปนี้

1) กระบวนการย่อยอาหาร หมายถึง..................................................................................................................


............................................................................................................................................................................
2) การบดเคี้ยวของฟัน เพื่อทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เรียกว่า การย่อยอาหารเชิง...........................................


3) การสร้างเอนไซม์ช่วยย่อย เพื่อทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เรียกว่า การย่อยอาหารเชิง.................................

4) ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะสำคัญ เรียงตามลำดับขั้นตอนได้คือ

ลำไส้เล็ก กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร ลำไส้ใหญ่ ปาก



.......................... .......................... .......................... .......................... ..........................


5) ................ ทำหน้าที่ มีฟันไว้บดเคี้ยวอาหาร มีน้ำลายช่วยในการคลุกเคล้าอาหาร


6) ในปากมีน้ำย่อยอะไมเลส ช่วยในการย่อยสารอาหารประเภท..................................................................

7) ................ ทำหน้าที่ เป็นทางลำเลียงอาหารโดยบีบรัดอาหารให้เคลื่อนที่ลงสู่กระเพาะอาหาร

8) ................ ทำหน้าที่ ปล่อยน้ำย่อยออกมาย่อยอาหารประเภทโปรตีนและบีบตัวเพื่อย่อยต่อ

9) ................ ทำหน้าที่ ย่อยอาหารทุกประเภทและดูดซึมสารอาหารเข้าสู่กระแสเลือด เป็นจุดสิ้นสุดของการ

ย่อยอาหาร

10) .............. ทำหน้าที่ ดูดซึมน้ำและเกลือแร่ออกจากกากอาหารกลับเข้าสู่กระแสเลือด และขับออกมาในรูปของ

อุจจาระ











ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

ใบความรู้ 1.10 (ส่งครูประจำชั้น)

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่

เรื่อง แบบจำลองระบบยอยอาหาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนตัดภาพอวัยวะจากหน้าถัดไป นำมาติดในแบบจำลอง พร้อมทั้งระบุอวัยวะให้ถูกต้อง








































































ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

(ตัดภาพอวัยวะและข้อความ)

















































ปาก กระเพาะอาหาร






ล าไส้ใหญ่ ฟัน





ล าไส้เล็ก ทวารหนัก





หลอดอาหาร ไต

เลขที่.........


ใบความรู้ 2.1

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง ทบทวนสถานะของสาร


สารต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีอยู่มากมายหลายชนิด สารแต่ละชนิดอาจอยู่ในสถานะที่แตกต่างกัน ซึ่ง

ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส และมีสมบัติบางประการที่แตกต่างกัน
ของแข็ง


รูปร่าง แน่นอน เปลี่ยนรูปร่างได้ยาก
มีมวล ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ คงที่ ไม่สามารถกดหรือบีบให้มีปริมาตร
ปริมาตร
ลดลงได้

อนุภาคของของแข็ง เรียงชิดติดกันแน่น ทำให้ไม่สามารถ
เคลื่อนที่ได้






ของเหลว

รูปร่าง ไม่แน่นอน เปลี่ยนรูปร่างไปตามภาชนะท ี่

มีมวล ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ บรรจุ
ปริมาตร คงที่ ไม่สามารถกดหรือบีบให้มีปริมาตร

ลดลงได้

อนุภาคของของเหลว อยู่ชิดกัน แต่มีช่องว่างระหว่างอนุภาค

ทำให้เคลื่อนที่ได้บ้าง






แก๊ส


รูปร่าง ไม่แน่นอน เปลี่ยนรูปร่างไปตามภาชนะท ี่
มีมวล ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ บรรจุ

ปริมาตร ไม่คงที่ สามารถกดหรือบีบให้มีปริมาตร
ลดลงได้

อนุภาคของของแก๊ส อยู่ห่างกัน ทำให้อนุภาคเคลื่อนที่อิสระ

จึงฟุ้งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุเสมอ





ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

เลขที่.........


ใบงานที่ 2.1

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง ทบทวนสถานะของสาร

คำชี้แจง นักเรียนศึกษาใบความรู้ จากนั้นจำแนกสารที่กำหนดให้ว่าอยู่ในสถานะใด

โดยทำเครื่องหมาย ✓ ลงในตาราง

สถานะของสาร
ชนิดของสาร
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (ก๊าซ)

1. เกลือ

2. น้ำเชื่อม

3. สารส้ม


4. ไอน้ำ

5. น้ำปลา

6. น้ำตาลทราย

7. ผงซักฟอก

8. น้ำมันพืช


9. อากาศ

10. น้ำเกลือ

11. ควันไฟ

12. น้ำส้มสายชู

13. แป้งมัน


14. น้ำยาล้างจาน

15. ออกซิเจน

16. พิมเสน

17. นมข้นหวาน

18. น้ำอัดลม


19. นมสด

20. ลูกเหม็น




ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

เลขที่.........


ใบความรู้ 2.2

ี่
วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
เรื่อง การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ ์



1. สารเนื้อเดียว


เมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า เราจะมองเห็นสารเนื้อเดียวมีลักษณะของเนื้อสารกลมกลืนกันไปเป็นเนื้อเดียว

แบ่งออกได้เป็น สารบริสุทธิ์ และสารละลาย

1.1 สารบริสุทธิ์ เป็นสารที่ไม่สามารถแยกอออกจากกันได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เช่น การกรอง นอกจากนี้ยังมี

องค์ประกอบทางเคมีตายตัวและมีสมบัติชัดเจน แบ่งออกได้เป็นธาตุและสารประกอบ

ตัวอย่างธาตุ ได้แก่ ซิลิกอน ตะกั่ว ทองคำ เงิน เหล็ก อะลูมิเนียม


ตัวอย่างของสารประกอบ ได้แก
- เกลือ ซึ่งประกอบด้วยธาตุโซเดียมกับคลอไรด์

- น้ำตาลทราย ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน

- น้ำ ประกอบด้วย ไฮโดรเจนกับออกซิเจน
1.2 สารละลาย สารละลายเป็นสารที่สามารถแยกองค์ประกอบออกจากกันได้มากกว่าสองชนิดขึ้นไปโดย

กระบวนการทางกายภาพ เช่น การกลั่น การกรอง การต้ม ประกอบไปด้วยตัวทำละลายและตัวละลาย ซึ่งไม่ทำปฏิกิริยา
ทางเคมีต่อกัน มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงที่


ตัวอย่างของสารละลาย ได้แก น้ำเชื่อม โดยมีน้ำเป็นตัวทำละลาย และมีน้ำตาลเป็นตัวละลาย
- น้ำเกลือ โดยมีน้ำเป็นตัวทำละลาย และมีเกลือเป็นตัวละลาย

- น้ำอัดลม ประกอบด้วยน้ำเป็นตัวทำละลาย และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวละลาย

2. สารเนื้อผสม

สารเนื้อผสมประกอบด้วยอะตอมหรือโมเลกุลมากกว่า 2 ชนิดขึ้นไปรวมกันอยู่ และสามารถแยกออกจาก


กันได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เมื่อสังเกตด้วยตาเปล่าจะเห็นว่าเนื้อสารไมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น คอนกรีต ดิน
น้ำโคลน ฝุ่นละอองในอากาศ น้ำจิ้มไก่

2.1 สารแขวนลอย เป็นสารเนื้อผสมที่มีอนุภาคของแข็ง และสามารถตกตะกอนได้เมื่อตั้งทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง

ไม่สามารถผ่านได้ทั้งกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน

ตัวอย่างของสารแขวนลอย ได้แก่ น้ำโคลน น้ำอบไทย น้ำคลอง

2.2 สารคอลลอยด์ คือ ของผสมที่ประกอบด้วยสาร 2 ชนิด โดยจะมีโมเลกุลเล็กกว่าสารแขวนลอย แต่ใหญ่
กว่าโมเลกุลของสารละลาย บางอย่างมองดูแล้วจะมีลักษณะคล้ายกับสารเนื้อเดีย สารคอลลอยด์ไม่ตกตะกอน เรา

สามารถแยกอนุภาคในคอลลอยด์ได้โดยใช้กระดาษแก้ว (กระดาษเซลโลโฟน)
แต่ไม่สามารถแยกอนุภาคได้ด้วยกระดาษกรอง

ตัวอย่างของคอลลอยด์ เช่น นมสด ควัน น้ำสลัด น้ำกะทิ สบู่เหลว แชมพูสระผม


ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............

เลขที่.........


ใบงานที่ 2.2

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท 6
ี่
เรื่อง การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ ์


คำชี้แจง พิจารณาเกี่ยวกับสารที่กำหนด จากนั้นจำแนกประเภทของสาร โดยทำเครื่องหมาย ✓ ลงในตาราง



ประเภทของสาร
ชนิดของสาร
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม


1. พิมเสนกับเกลือ

2. น้ำคลอง


3. น้ำทะเล


4. สาคูกับถั่วดำ

5. น้ำผสมกับดิน


6. ทรายก่อสร้าง


7. น้ำเกลือ

8. ลูกบัวกับถั่วแดง


9. น้ำอบ


10. น้ำเชื่อม

11. นมสด


12. น้ำมันพืช


13. น้ำจิ้มไก่

14. น้ำ


15. เหล็ก

















ชื่อ...................................................................................................เลขที่.......................ชั้น...............







ใบงานที 2 . 5



วชาวทยาศาสตร ์




ช นประถมศกษาป ท 6


เร อง การแยกสารเน อผสม


การรอน การหยบออก การตกตะกอน


การระเหด การระเหยแหง การรนออก







แมเหลกดด การกรอง







คําช แจง ใหนกเรยนจบควธการแยกสารใหถกตอง
ู่






1 . วิธีแยกสารทเปนของแข็งขนาดใหญออกจากของเหลว


. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

2 . วิธีแยกสารทเปนของแข็งละลายอย่ในของเหลว


. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .




3 . วิธีแยกสารทเปนของแข็งผสมกนแตไม่สามารถหยิบออกได้
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .



4 . วิธีแยกสารทเปนของแข็งขนาดเลกออกจากของเหลว

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


5 . วิธีแยกสารทเปนของแข็งแขวนลอยออกจากของเหลว


. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


6 . วิธีแยกสารในภาพเปนวิธีใด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .




7 . วิธีแยกสารในภาพเปนวิธีใด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .




8 . วิธีแยกสารในภาพเปนวิธีใด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .



ชื อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .เลขท . . . . . .

ใบงานที 2 . 4



วชาวทยาศาสตร ์




ช นประถมศกษาป ท 6




เร อง การแยกสารเน อผสม




คําช แจง ใหนกเรยนพจารณาสถานการณตอไปน แลวระบวาเป น








วธการแยกสารผสมทเหมาะสมหรอไม ่





1 . แยกนาตาลทละลายในนําด้วยการหยิบออก


ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


2 . แยกผงแม่เหลกออกจากทราย โดยใช้แม่เหลกดูดออก
ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


3 . แยกดนทละลายอย่ในนํา โดยการตกตะกอน แลวรินนําออก




ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .



4 . แยกข้าวสารกบข้าวเปลอกดวยวิธีการระเหิด
ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

5 . แยกเกลอออกจากนาเกลอด้วยวิธีการระเหยแห้ง



ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .



6 . แยกนาออกจากนามันด้วยวิธีการร่อน

ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
7 . แยกทรายออกจากกอนกรวดโดยใช้แม่เหลกดูด



ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

8 . แยกทรายออกจากเมลดข้าวโดยการหยิบออก
ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

9 . แยกนากระทกบกากมะพร้าวโดยการระเหิด




ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
1 0 . แยกเหรียญสิบออกจากเหรียญบาทโดยใช้การหยิบออก



ตอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .




ชื อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .ชั น . . . . . . . . . .เลขท . . . . . .


Click to View FlipBook Version