The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thammasat Business School, 2023-11-28 21:47:43

TBS Annual Report 2020

TBS Annual Report 2020

TBS BREAKTHROUGH ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR


ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR


สารบัญ TBS Breakthrough ภาพรวมผลการดําเนินงาน ประจําปการศึกษา 2563 ขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน ภาค/สาขา/หลักสูตรควบตรี-โท ทางการบัญชีและบริหารธุรกิจ (IBMP) ผลการดําเนินงานโครงการ ผลการดําเนินงานหนวยงาน ทําเนียบนาม 04 สารจากนายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 06 สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 08 สารจากคณบดี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี 10 สารจากนายกสมาคมนักศึกษาเก‹าพาณิชยศาสตรและการบัญชี 12 สารจากประธานคณะกรรมการนักศึกษา 16 TBS Breakthrough 18 Digitalization 20 Sustainability 22 The Role of Business in a Democracy 26 Future of Business Education 32 รายนามผูŒบริหาร 34 รายนามคณะกรรมการผูŒทรงคุณวุฒิประจําคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี 35 คณะกรรมการประจําคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี 36 รายนามหัวหนŒาภาค/สาขา 37 รายนามผูŒอํานวยการโครงการ/ศูนย 38 ผลการดําเนินงานที่สําคัญในรอบป‚การศึกษา 2563 44 ประวัติความเปšนมา 48 โครงสรŒางการบริหารงานคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชีประจําป‚ 2563 50 โครงสรŒางการบริหารวิชาการประจําป‚การศึกษา 2563 51 ขŒอมูลพื้นฐานสําคัญของคณะฯ ป‚การศึกษา 2563 56 ภาควิชาการบัญชี 62 ภาควิชาการเงิน 66 ภาควิชาการตลาด 68 ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 70 ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารองคการ การประกอบการ และทรัพยากรมนุษย 74 ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาบริหารการปฏิบัติการ 78 ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว‹างประเทศ โลจิสติกสและการขนส‹ง 80 ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย 82 หลักสูตรควบตรี-โท ทางการบัญชีและบริหารธุรกิจ 88 โครงการปริญญาตรีบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) (BBA) 94 โครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจ (MBA) 98 โครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ เนŒนการบริหารทรัพยากรมนุษยและองคการ (MBA-HRM) 100 โครงการปริญญาโทสําหรับผูŒบริหาร (XMBA) 102 โครงการธุรกิจอสังหาริมทรัพย (MRE) 106 โครงการปริญญาโททางการบัญชี (MAP) 110 โครงการปริญญาโท สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MSMIS) 114 โครงการปริญญาโททางการตลาด (หลักสูตรนานาชาติ) (MIM) 116 โครงการปริญญาโททางการเงิน (หลักสูตรนานาชาติ) (MIF) 120 โครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสากล (หลักสูตรนานาชาติ) (GEMBA) 122 โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) (Ph.D.) 126 หน‹วยวิเทศสัมพันธ และ ACCREDITATION (CIA) 132 หน‹วยวิจัยและส‹งเสริมวิชาการ (BRC) 140 วารสารบริหารธุรกิจ (JBA) 142 วารสารวิชาชีพบัญชี (JAP) 144 วารสารระบบสารสนเทศดŒานธุรกิจ (JISB) 146 หน‹วยกิจการนักศึกษาและใหŒคําปรึกษาทางวิชาชีพ (CCC) 154 ศูนยใหŒคําปรึกษาและพัฒนาผูŒบริหารทางธุรกิจแห‹งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (CONC) 158 ศูนยทดสอบสมรรถนะแห‹งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TCTC) 162 หŒองสมุดศาสตราจารยสังเวียน อินทรวิชัย 170 รายนามผูŒทรงคุณวุฒิดŒานวิชาการประจําภาค/สาขาวิชา ประจําป‚การศึกษา 2563 172 รายนามอาจารยประจําป‚การศึกษา 2563 174 รายนามกรรมการสมาคมนักศึกษาเก‹าพาณิชยศาสตรและการบัญชี ประจําป‚การศึกษา 2563 175 รายนามผูŒบริจาคเงิน 175 รายนามผูŒจัดทํารายงานประจําป‚การศึกษา 2563


คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีก่อตั้งมาเมื่อปีพ.ศ. 2481 จนถึงปัจจุบัน ครบปีที่ 83 ได้สร้างชื่อเสียงเคียงคู่กับมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์มาอย่างยาวนาน เป็นสถาบันที่ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ สร้างผู้น�ำองค์กรให้เป็นที่รู้จักทั้งในและต่างประเทศ และยังเป็นสถาบันที่มีการพัฒนาและรักษามาตรฐานคุณภาพการศึกษา จาก 3 สถาบันระดับโลก ไม่ว่าจะเป็น EQUIS จากยุโรป AACSB จากสหรัฐอเมริกา และ AMBA จากสหราชอาณาจักร ในปีที่ผ ่านมา คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีได้พิสูจน์ ให้เห็นถึงความสามารถในการเปลี่ยนแปลง และปรับตัวให้ทันต ่อ สถานการณ์ในวิกฤตต ่าง ๆ ได้อย ่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนา องค์ความรู้ด้านบริหารธุรกิจ การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ความส�ำเร็จของคณะฯ มีผลงานความก้าวหน้าต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ด้านวิชาการ ด้านวิจัย ด้านการบริการสังคม และด้านความเป็น นานาชาตินับว่าเป็นผลจากความร่วมมือร่วมใจของผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาของคณะพาณิชย์ฯ ในโอกาสครบปีที่ 83 ผมในฐานะนายกสภามหาวิทยาลัธรรมศาสตร์ ขอร่วมแสดงความยินดีและภูมิใจกับความส�ำเร็จท่ามกลางสถานการณ์ ในครั้งนี้และขอให้คณบดีและผู้บริหารคณะ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ประสบแต่ความสุข ความเจริญ โดยเฉพาะนักศึกษาให้ ส�ำเร็จการศึกษา มีความรู้ความสามารถ และคุณธรรมไปท�ำงาน อันยังประโยชน์กับครอบครัว และสังคมโดยรวมต่อไป สมดังเจตนา ของมหาวิทยาลัย Ever since Thammasat Business School was first founded in the year 1983 until the present time, celebrating its 83rd anniversary. Together with Thammasat University, the faculty has a long history of building a distinguished reputation adjacently. The institute has been producing quality graduates with cognitively and abilities. The faculty has created leaders of both national and international organizations. Moreover, the institution develops and maintains high academic standards. The faculty has standard accreditation from 3 respective institutes - EQUIS from Europe, AACSB from theUnitedStatesofAmericaandAMBAfromtheUnitedKingdom. In the past year, Thammasat Business School has significantly proved itself for the challenge of adapting and adjusting during the crises.It academically continues to develop the business management’s cognitive and the learning management system. These are clearly the evidence of the faculty remarkable achievement in academic, researching, social services and international standard. The result of this is because the corroborating among management team, staff members andstudents inthe faculty itself. On the auspicious 83rd anniversary celebration, as the President of The Thammasat University Council, I am honored and delighted on the success through the challenging situations. I wish the dean and management team, faculty members, staff members, and students a happiness and prosperity especially for the students to graduate and bring all the knowledge, abilities and virtues to workand be beneficial to family andsociety as the University intention. สารจากนายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรMessage from President of the Thammasat Unศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร AdjunctProfessor NoranitSetabutr นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ President of theThammasat University Council PAGE 4รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ร์ niversity Council PAGE 5 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


PAGE 6รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Message from the Rector of Thammasat University คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Business School) เป็นสถาบันการศึกษาที่ได้มี การพัฒนาคุณภาพและผ่านการรับรองมาตรฐานทางการศึกษาระดับโลก ด้านบริหารธุรกิจ 3 สถาบัน ได้แก่ EQUIS, AACSB และ AMBA โดยมหาวิทยาลัยทั่วโลกที่เปิดสอนทางด้านบริหารธุรกิจมีไม่ถึง 1% ที่ได้การรับรองมาตรฐานครบทั้ง 3 สถาบัน จึงท�ำให้Thammasat Business School (TBS) ได้เป็นหนึ่งเดียวของประเทศไทยที่ครอบครอง “Triple Crown” และยังเป็นสถาบันที่ผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคคล ที่สร้างชื่อเสียงในระดับชาติและนานาชาติ จากสถานการณ์ที่ผ่านมาเราเผชิญหน้ากับความท้าทายไม่ว่าจะเป็น เรื่องการเรียนการสอน การบริหารงานด้านต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย รวมถึงสถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งคณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชีได้ด�ำเนินการตามนโยบาย อาทิเช่น มาตรการป้องกันและ ควบคุม มีการจัดการเรียนการสอนและการท�ำงานในรูปแบบออนไลน์ ดูแลด้านสาธารณสุข และสุขภาพ มีการมอบทุนการศึกษาเพื่อช่วยเหลือ นักศึกษาที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ให้กับนักศึกษา และบุคลากรทุกคน นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนงานวิจัยและการแข่งขัน ไปสู่ระดับ นานาชาติพร้อมปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และฝ่าฟันอุปสรรค จนบรรลุเป้าหมาย น�ำพาคณะฯ ก้าวสู่ความส�ำเร็จอย่างภาคภูมิใจ และสร้างเครือข่ายที่กว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่งผล ให้คณะฯ เป็นสถาบันที่เป็นต้นแบบการศึกษาด้านบริหารธุรกิจของ ประเทศอย่างต่อเนื่องและยาวนาน เนื่องในโอกาสครบปีที่ 83 ของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดิฉันในนามอธิการบดีมหาวิทยาลัธรรมศาสตร์ ขอแสดงความชื่นชมกับคณะฯ ที่ข้ามผ่านวิกฤต และได้สร้างชื่อเสียงต่าง ๆ ให้กับมหาวิทยาลัยของเราอย่างต่อเนื่องเสมอมา Thammasat Business School, Thammasat University is an educational institution that has developed quality and certified the world-class educational standards in business administration from three institutions, which are EQUIS, AACSB and AMBA. There are less than 1% of the universities around the world offering coursesinbusinessadministration,whichareaccreditedbyallthree institutions. Therefore, Thammasat Business School (TBS) is the only one inThailand that owns “TheTriple Crown„. We also produce many quality graduates who have made national and international reputation. From the previous situations, we have encountered many challenges such as learning, teaching, administrations in various aspects on campus, and many crisis, therefore Thammasat Business School has implemented in accordance with policies such as prevention and control measures, online learning, work online, taking care of public health and wellness, and providing scholarship to help students affected by the circumstances. Moreover, we support research and competition into the international level. We are ready to adapt to the environment and overcome the obstacles to achieve goals. These lead the faculty to the proud success. We also have built a wide network both domestically and internationally, as a result, Thammasat business school becomes an educational institution which is a model of business administration school in the country continuously and for a long time. On the occasion of the 83rd anniversary of the Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University, I am on behalf of the Rector of Thammasat University, would like to express my appreciation to the faculty, which have overcome the crisis and have continued to build on the reputation to our university. รองศาสตราจาย เกศินี วิฑูรชาติ รองศาสตราจารย์เกศินี วิฑูรชาติ AssociateProfessor Gasinee Witoonchat อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Rector ofThammasat University PAGE 7 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


ดูเหมือนว ่าเวลาจะเดินไปด้วยความเร็วที่ต ่างกัน ในบาง สถานการณ์เวลาดูเหมือนจะผ ่านไปอย ่างเชื่องช้า ขณะที่ในบาง สถานการณ์เวลากลับเดินไปอย ่างรวดเร็ว แต ่มีสิ่งหนึ่งที่ยังคง เหมือนเดิม นั่นก็คือ เวลาไม ่เคยหยุดนิ่งอยู ่กับที่ เช ่นเดียวกับ คณาจารย์ในคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีของเราที่ก�ำลัง ก้าวเข้าสู่ปีพ.ศ. 2565 ด้วยความคาดหวังและความมุ่งมั่นที่จะ เฉลิมฉลองความส�ำเร็จครั้งใหม่ของเรา ในปีพ.ศ. 2564 ที่ผ ่านมา ได้มีเหตุการณ์ส�ำคัญเกิดขึ้น นั่นก็คือการระบาดอย ่างต ่อเนื่องของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเราสามารถกล่าวได้ว่าในปีที่ผ่านมาถือเป็น ปีที่กิจกรรมต่าง ๆ เกือบทั้งหมดของคณะฯ ต้องด�ำเนินการผ่าน ช่องทางออนไลน์ดังนั้น การฟื้นฟู (Resilience) จึงถือเป็นกุญแจ ส�ำคัญส�ำหรับคณะฯ ของเรา และเป็นสิ่งกระตุ้นให้เราทุกคนต้อง มองไปในอนาคตข้างหน้าและปีต่อ ๆ ไปด้วยความทะเยอทะยาน และมุ่งมั่นเพื่อการฟื้นฟูอย่างจริงจัง การระบาดในครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบและท้าทายต่อการด�ำเนินงาน ของคณะฯและการจัดกิจกรรมต่างๆร่วมกับนักศึกษาและบุคลากร ทุกคนเป็นอย่างมาก กระผมในฐานะคณบดีของคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชีมีความยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่จะขอสรุปภารกิจหลัก ที่ส�ำคัญต่าง ๆ ของปีนี้รวมถึงผลงานและความส�ำเร็จต่าง ๆ ของคณะฯ ที่จะน�ำเสนอผ่านรายงานประจ�ำปีฉบับนี้ ในฐานะของสถาบันการศึกษา หน้าที่ของเรามิได้มีเพียง การให้ความรู้และสร้างองค์ความรู้ถ่ายทอดผ่านทางงานวิจัยเท่านั้น แต ่ต้องเป็นการท�ำงานที่ควรส ่งผลกระทบในทางที่ดีต ่อสังคม ด้วยเช ่นกัน ซึ่งสิ่งเหล ่านี้จะไม ่สามารถเกิดขึ้นได้เลยหากขาด การสนับสนุนจากคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง อาทิบริษัทพันธมิตรและศิษย์เก่าของเรา โดยใน ปีที่ผ่านมา ทางคณะฯ ได้มีการจัดตั้งโครงการให้ค�ำปรึกษาภายใต้ ชื่อ TBS-AIM เพื่อให้ศิษย์เก่าของคณะฯ ได้มีส่วนร่วมในการท�ำ กิจกรรมที่เป็นประโยชน์กับศิษย์ปัจจุบันมากขึ้น สารจากคณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัMessage from the Dean of Thammasat Business ดังจะเห็นได้ว่า ศิษย์เก่าของคณะฯ ได้เป็นที่ต้องการของตลาด เป็นอย่างมากภายหลังจากส�ำเร็จการศึกษาไปแล้วไม่ว่าจะเป็นตลาด ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชีย จากผลงานความส�ำเร็จ ที่หลากหลายของโครงการปริญญาตรีและปริญญาโทของคณะฯ ซึ่งนับว ่าเป็นหนึ่งในหลักสูตรที่ดีที่สุดของประเทศไทยและมี ความโดดเด่นกว่าที่อื่น ๆ ในขณะที่คณาจารย์ของเราก็ยังคงท�ำหน้าที่ ได้อย ่างยอดเยี่ยมและมีความเชี่ยวชาญทั้งในด้านการสอนและ การท�ำงานวิจัย รวมถึงมีคณาจารย์หลายท่านก็ได้มีโอกาสเข้าไป เป็นที่ปรึกษาและช่วยสนับสนุนให้แก่ภาคธุรกิจ ซึ่งถือว่าเป็นการสร้าง ความเชื่อมโยงและสร้างเสริมประสบการณ์ใน “โลกธุรกิจที่แท้จริง” อีกด้วย ดังนั้น เราจึงมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งต่อคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชีของเราในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาด้าบริหารธุรกิจ ที่ดีที่สุดในประเทศ แต่เราเองก็ไม่สามารถที่จะหยุดนิ่งได้เนื่องจาก เราได้ตระหนักว่าจะต้องท�ำตามค�ำมั่นสัญญาที่มีต่อมหาวิทยาลัย อย่างไม่ย่อท้อ เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก้าวสู ่การเป็น “มหาวิทยาลัยระดับโลกเพื่อประชาชน” ซึ่งการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่ดีขึ้น ทดแทนสิ่งเดิม (Disruption) และการพัฒนาสิ่งที่มีอยู ่ให้ดีขึ้น (Innovation)จึงเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่ง (Dynamic) ที่เราจะสามารถพบเจอได้ในทุก ๆ วัน สุดท้ายนี้ในปีพ.ศ. 2565 และเป็นการครบรอบปีที่ 84 ของการก่อตั้งคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีซึ่งจะยังคงเป็น อีกปีที่เราจะต้องเผชิญกับความท้าทายและภารกิจที่หนักหนา แต่กระผมเองก็มีความเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าเราจะสามารถผ่านมัน ไปได้ด้วยดีอย่างแน่นอน PAGE 8รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


บัญชี School It seems that time flies at different speed, in certain instances time can be slow or fast. However, time cannot be stopped and our faculty is moving towards 2022 with hope andambitionas we celebrate ournew milestone. The year 2021 has been eventful with the continued spread of the COVID-19 pandemic. We can define the past year as a year were almost of all of our activities were conducted online. Resilience has been a key trait for the faculty and we look forward to the year to come with high aspiration. The pandemic have pervaded every aspect of our operations, from our activities to our people. It is my pleasure to briefly go through the major milestones of the year and give a taste of the school’s achievements that the reader will encounter throughout our annual report. As a business school, our role is not just to educate or conduct research but to have a meaningful impact on society. This cannot be done without the support from our faculty staff, support staff, students and our other stakeholders such as our corporate partners and alumni. The past year has seen the establishment of our first mentorship programme known as TBS-AIM that enabled our alumni to become more engaged with current students. Our students are highly sought after, not just in Thailand but also around Asia. Our broad portfolio of programmes in both the undergraduate and the graduate are among the best in Thailand and remains highly competitive. Our faculty members excels both at research and teaching with many of them having “real world„ business experience. ศาสตราจารย์ ดร.รุธิร์ พนมยงค์ Professor Dr.RuthBanomyong คณบดี Dean ลายเซ็นคณบดี รศ.ดร.รุธิร พนมยงค We pride ourselves as being the best business school in the country but we cannot rest on our laurels as we need to continuously deliver on Thammasat University’s promise as a “World Class University for the People„. Disruption and innovation are part of the dynamic environment that we encounter onadailybasis. Finally, 2022 will mark the eighty-fourth anniversary ofThammasatBusinessSchool, Anotherbusy year ahead! PAGE 9 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


สารMessaPAGE 10รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ของเราครบรอบปีที่ 83 นับว่าเป็นคณะที่ก ่อตั้งมานานเกือบจะ พร้อมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งมหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี2477 อายุ 87 ปีดังนั้น คณะของเราจึงมีบทบาทที่ส�ำคัญในการสร้าง บุคลากรที่มีคุณค ่าต ่อสังคมและเศรษฐกิจไทยมาอย ่างมาก เพราะบุคลากรหรือนักศึกษาที่ส�ำเร็จการศึกษาไปแล้วนั้น ได้ร่วมกัน สร้างและพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทยให้เจริญรุ่งเรืองจนถึงทุกวันนี้ ด้วยคุณภาพของการศึกษาของคณะพาณิชย์ฯ อย่างแท้จริง ผมจึงอยากให้ทุกคนไม ่ว ่าจะเป็นศิษย์เก ่าหรือศิษย์ปัจจุบัน จงภาคภูมิใจว่าเราได้มาศึกษาที่คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี แห ่งนี้ซึ่งผมเองก็ถือว ่าโชคดีที่ได้รับโอกาสนี้เช ่นกัน ผมได้รับ การประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้จากคณะพาณิชย์ฯ จนท�ำให้ผม ประสบความส�ำเร็จในหน้าที่การงานและมีบทบาทที่ได้ช่วยเหลือ สังคมไทยมาตลอดชีวิตการท�ำงาน จึงรู้สึกส�ำนึกในบุญคุณที่ คณาจารย์ของเราได้บ่มเพาะพวกเรามาให้ได้มีโอกาสมากกว่าคนอื่น ๆ ในสังคมไทย ในโอกาสนี้ผมจึงขอให้พวกเราทุกคนตอบแทนบุญคุณของ คณะพาณิชย์ฯ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ของเราด้วยการช่วยกัน สร้างสังคมไทยให้มีคุณภาพและฟันฝ ่าอุปสรรคต ่าง ๆ ในภาวะ วิกฤตนี้ไปให้ได้อีกทั้งร�ำลึกถึงคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ของเราตลอดไป Our faculty celebrates its 83rd anniversary of establishing. The faculty was first founded almost at the same time as Thammasat University. The University was established in the year 1934. It has been founded for 87 years. Our faculty has played the vital role in producing the numerous of value professional human resources for our society and Thai economy. The reason for this is that our graduated personnel and students have taken part in driving and developing Thai economy to reach its prosperity up until the present time. It is truly the result from the high educational quality provided by Thammasat Business School, Thammasat University. Therefore, I have a strong desire to request everyone, both alumni and current students, to be proud that we have been educated from this faculty as I consider myself very lucky to have such a great opportunity. Being educated from Thammasat Business School strengthens me to success in my career and to contribute to Thai social and community throughout my work life. I am more than grateful to all our faculty members who have cultivated us. We have hadgreaterdeal of obligations thanothers inThai society. In this auspicious occasion, I would like to ask everyone, let us pay the highest tribute to our faculty and our Thammasat University by building the strong quality society and helping break through various obstacles in this time of crisis. Moreover, we shall commemorate our ThammasatBusinessSchool forever. ดร.ชาติชาย พยุหนาวีชัย Dr.ChatchaiPayuhanaveechai นายกสมาคมนักศึกษาเก่าพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Presidency ofThammasatBusinessSchool Alumni ดร.ชาติชาย พยุหนาวีชัย รจากนายกสมาคมนักศึกษาเก่าพาณิชยศาสตร์และการบัญชี age from the Presidency of Thammasat Business School Alumni PAGE 11 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


“สิ่งที่วิเศษที่สุดส�ำหรับการศึกษาเรียนรู้ คือไม ่มีใครสามารถพรากมันไปจากคุณได้” ค�ำกล่าวข้างต้นไม่เกินความเป็นจริงนักหากมอง ไปยังโลกของเราในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา การศึกษาและการเรียนรู้เป็นสอง ปัจจัยส�ำคัญของรากฐานที่เข้มแข็งอันน�ำไปสู่ การพัฒนาตนของมนุษย์เพื่อให้พร้อมก้าวทัน สังคมรอบข้างในฐานะพลเมืองของโลก ดังนั้น แล้วการศึกษาเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาที่ดี และมีคุณภาพจึงเป็นกุญแจส�ำคัญสู ่ความ ส�ำเร็จนั้น เพื่อเป็นพื้นที่ส�ำหรับบ ่มเพาะ บุคลากรที่มีความรู้คุณธรรม และจริยธรรม ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมให้สามารถ พัฒนาและเติบโตเพื่อเป็นก�ำลังส�ำคัญของ ประเทศชาติต่อไป ตลอดระยะเวลากว่า 83 ปีที่ผ ่านมา คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้ผ่านการเดินทางที่ยาวนาน ในการพิสูจน์คุณภาพของการเรียนการสอน ด้านการบริหารธุรกิจและมุ่งพัฒนาหลักสูตร ให้มีความเป็นเลิศ สิ่งเหล ่านี้การันตีได้จาก การที่Thammasat Business School เป็น สถาบันแห่งแรกและหนึ่งเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับรองสถานะ“Triple Crown”กล่าวคือ การผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาระดับ นานาชาติจาก 3 สถาบันหลักด้านการ บริหารธุรกิจของโลก ได้แก่ AACSB EQUIS และ AMBA ความส�ำเร็จดังกล ่าวสะท้อน ให้เห็นผ ่านกระบวนการบูรณาการด้าน การเรียนการสอนของคณะฯ ตั้งแต่การปลูกฝัง อุปนิสัยของนักศึกษาทุกคนให้มีความตื่นตัวใน การเรียนรู้การให้ความส�ำคัญกับกระบวนการคิด และวิเคราะห์ผ ่านการมีส ่วนร ่วมและการ อภิปรายความคิดเห็นในชั้นเรียน การพัฒนา หลักสูตรการศึกษาอย ่างสม�่ำเสมอเพื่อให้ สอดรับกับมาตรฐานที่พึงมีการสนับสนุนให้ นักศึกษาได้เรียนรู้ทักษะที่ส�ำคัญต่อการด�ำเนิน ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในอนาคต การเปิดโอกาสให้ นักศึกษาได้แสดงศักยภาพและความสามารถ ของตนอยู ่เสมอทั้งในห้องเรียนและในการ ท�ำกิจกรรมนอกเวลา อย่างการส่งเสริมการ แข ่งขันกรณีศึกษา หรือการจัดเสวนาทาง วิชาการที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เข้าร ่วม ตลอดจนการตระหนักถึงความส�ำคัญของ ผู้มีส ่วนได้เสียอื่นที่เกี่ยวข้อง อย ่างการจัด กิจกรรมค่ายอาสาเพื่อพัฒนาสังคมและชนบท เพื่อส่งต่อความรู้และคุณค่าแก่สังคมรอบข้าง สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยส�ำคัญที่หล่อหลอม ให้นักศึกษาเติบโตขึ้นมาในฐานะบัณฑิตที่มี คุณภาพ และก้าวออกไปเพื่อสร้างประโยชน์ อันทรงคุณค ่าต ่อสังคมยุคโลกาภิวัตน์เช ่นนี้ ในฐานะพลเมืองของโลกที่มีความเพียบพร้อม และความสมบูรณ์ในที่สุด ในฐานะนักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะ พาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ดิฉันรู้สึกภาคภูมิใจที่ได้ร่วมเป็น ส ่วนหนึ่งของสถาบันอันทรงเกียรติแห ่งนี้ และขอขอบพระคุณ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ศิษย์เก่า รวมถึงบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ที่ได้ร่วมสร้างสรรค์สถาบันแห่งนี้ให้มีความพร้อม ในการผลิตบัณฑิตที่สมบูรณ์และเพียบพร้อม สู่สังคม เพื่อสร้างประโยชน์และพัฒนาประเทศ ชาติสืบต่อไป “Themostwonderfulthingabouteducation isno one cantake it away from you„.This statement is not exaggerated if we look at our current world which is constantly changing. Education and learning are two cornerstones of the strong foundation for human development, and can make us to be ready to keep pace with the surrounding society.Therefore, education in good and high quality educational institutions is like a key to success. The good and high quality educational institution is a place to produce educates with knowledge, morality and ethics, along with making preparation for graduates to be able to develop and grow up to become an important force of thenation. Throughout the past 83 years, Thammasat Business School has gone to a long journey in proving the quality of teaching in business administration and aiming to develop courses to be excellence. These are guaranteed by Thammasat Business School is the first and the only educational institution in Thailand that achieves “Triple Crown„ status.Thammasat Business School get the accreditation of international educational standards from the world’s three main business administration institutions, which are AACSB, EQUIS and AMBA. These success is reflected through the Faculty’s integration process of teaching and learning, from cultivating the character of every student to bealert inlearning, focusingontheprocessof thinking and analyzing through participation and discussion in the classroom, regular สารจากประธานคณะกรรมการนักศึกษา Message from Student Council Chairman PAGE 12รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ธารา อุดมอิทธิพงศ development of educational programs to meet the required standards, encouraging students to learn essential skills for living with others in the future, always giving students the opportunity to show their potential and abilities both in the classroom and in leisure activities such as encouraging a case study competition, organizing academic forums that allow students to participate, as well as realizing the important of other stakeholders involved, for example organizing volunteer camp activities for social and rural development in order to pass on knowledge and value to surrounding communities. These are all important factors that shape students to grow up with quality and potential, and they will step out to our globalized society as well-equipped citizen of the world to make valuable contribution. As an undergraduate student of the Thammasat Business School, Thammasat University, Iamsoproudtobeapartof this prestigious institution and would like to thank the teachers, staff, alumni and all relevant personnel that has dedicated together tocreatethis institutionproducing quality graduates into society and these quality graduates will have capabilities to dousefulthingsforthebenefitofthenation. ธารา อุดมอิทธิพงศ์ Tara Udom-ittipong ประธานคณะกรรมการนักศึกษา Student Council Chairman PAGE 13 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


TBS Breakthrough นุชนาถ จันทราวุฒิกร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการนักศึกษา ในโลกธุรกิจที่ความไม่แน่นอน กลายเป็นความแน่นอนอย่างหาที่สุดมิได้ปีค.ศ. 2020 ได้ถูกจดจ�ำในฐานะปีแห่งความท้าทาย จากวิกฤตการณ์ใหญ่ระดับโลก จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ถือเป็นโรคระบาดที่ส่งผลกระทบไม่ใช่เพียงแค่ การสั่นคลอนระบบสาธารณสุขของทั้งโลก แต่ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจที่ต้องหยุดชะงักจากนโยบายของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ขณะที่การก้าวกระโดดของเทคโนโลยีจากบริษัทใหญ่ระดับโลกยังคงรุดหน้าไม่ได้ชะลอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามสถานการณ์ ที่โลกเหมือนจะหยุดชะงักงัน ภาวะเหล่านี้จึงกลายเป็นความท้าทายต่อธุรกิจจ�ำนวนมาก ภายใต้สถานการณ์ที่คลุมเครือและไม ่ชัดเจนไม ่แน ่นอนและซับซ้อน ไม ่ต ่างจากการแล ่นเรืออยู ่ในมหาสมุทรที่คลื่น โหมกระหน�่ำเหมือนดั่งทะเลก�ำลังพิโรธโกรธแค้นนั้น การปรับเข็มทิศและตั้งหางเสือให้ชัดเจนของคณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะเรือแถวหน้าที่มีพันธกิจในการน�ำพาเรือล�ำอื่นฟันฝ่าวิกฤต ไปให้ถึงฝั่งจึงเป็นหน้าที่ และภารกิจส�ำคัญ PAGE 16 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้ก�ำหนดเป้าหมายส�ำคัญในการฟันฝ่าวิกฤตด้วยการปรับเข็มทิศ ให้สอดคล้องกับอนาคตของการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ (Future of business education) ไปในทิศทางการสร้างและส่งเสริมความรอบรู้ ตลอดจนทักษะดิจิทัล (Digitalization) ภายใต้การผลักดันระบอบ ประชาธิปไตยกับภาคธุรกิจ (Democracy for business) โดยยัง ค�ำนึงถึงความยั่งยืนของธุรกิจ (Sustainability) ที่ไม่ใช่เพียงการคาดหวังว่า ธุรกิจจะกลับมายั่งยืนหลังวิกฤตการณ์ แต ่จะยั่งยืนอย ่างไร ในสถานการณ์ที่ความไม ่แน ่นอนทั้งหลายเหล ่านี้คือความปกติใหม ่ (New normal) ที่ภาคธุรกิจต้องโอบรับ อนาคตทางการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ ได้ก้าวข้ามการพัฒนา เพียงนักคิดอย่างเดียวที่รู้ว่า“What to do-ต้องท�ำอะไร”แต่การศึกษา ด้านบริหารธุรกิจ ยังต้องเน้นให้ผู้เรียนที่ต้องไปปฏิบัติงาน กลายเป็น นักปฏิบัติที่ให้ความส�ำคัญกับ “How andWhento doit - ท�ำอย่างไร และเมื่อไร” ซึ่งการจะท�ำเช่นนั้น การปรับบทบาทของอาจารย์จาก ที่เป็น Lecturer หรือ Instructor ที่มุ่งสอนเนื้อหาและทฤษฎีต่าง ๆ ที่มีอยู่ในต�ำราอยู่แล้วมาเป็น Facilitator หรือ Coach แทน จึงเป็น กระบวนการส�ำคัญในการน�ำพาการศึกษาไปสู่อนาคต เพราะความรู้ ทางทฤษฎีสามารถเข้าถึงได้แต่การน�ำไปปรับประยุกต์ใช้อย่างไรและ ท�ำเมื่อไรคือหัวใจส�ำคัญ ขณะที่เฟซบุ๊กก�ำลังขับเคลื่อนโลกไปสู่Metaverse นั้น เทคโนโลยี ที่อยู ่เบื้องหลัง ไม่ว่าจะเป็น วิทยาการข้อมูล คลาวด์ และไอโอที ก็ได้รับการยอมรับและน�ำไปใช้กันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น ทั้งใน ภาคธุรกิจ และหน่วยงานรัฐ ที่เริ่มเห็นความส�ำคัญของการมีข้อมูล (Data) และศักยภาพในการวิเคราะห์ (Analytics) ข้อมูลที่มีอยู ่ การปรับเนื้อหาหลักสูตรการสอน การท�ำวิจัย ให้สอดรับกับอนาคต ด้าน Digitalizationจึงเป็นอีกหนึ่งทิศทางที่คณะฯก�ำลังขับเคลื่อนไป แนวคิดเรื่องความยั่งยืน (Sustainability) ก็เป็นอีกเรื่องที่คณะฯ ให้ความส�ำคัญเป็นพื้นฐานผ ่านการจัดการเรียนการสอนในด้าน การจัดการความยั่งยืนในธุรกิจผ ่านหลากหลายมุมมอง เพื่อให้ สอดคล้องกับเป้าหมายของสหประชาชาติที่ได้ก�ำหนดเป้าหมายเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งหมด17ข้อ ที่มุ่งหวังจะช่วยแก้ปัญหาที่โลกก�ำลัง เผชิญแบบไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง และเพื่อพัฒนาภาคธุรกิจเอกชนไทยให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น สิ่งส�ำคัญคือการสร้างหลักประกันในสี่เสาหลักเพื่อให้ตลาดในประเทศ มีความเป็น “เสรี” โดยเสาหลักสี่ประการนี้ประกอบด้วย การแข่งขัน อย่างเสรีและเป็นธรรม ระบบยุติธรรมที่เป็นกลาง ราคาที่สะท้อนต้นทุน ที่แท้จริง และเสรีภาพทางโอกาส คณะฯ ในฐานะสถาบันที่มีส่วนส�ำคัญ ในการผลักดันบุคลากรที่มีความสามารถสู่วงการธุรกิจของประเทศ จึงให้ความส�ำคัญกับการเพิ่มศักยภาพของประเทศ ผ่านการผลักดัน ให้เกิดระบอบประชาธิปไตยในภาคธุรกิจ ที่จะสนับสนุนและส่งเสริม ให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับที่เพิ่มสูงขึ้น ด้วยทิศทางทั้ง 4 เรื่อง ไม ่ว ่าจะเป็นการปรับตัวของอนาคต ทางการศึกษา เพื่อรับมือกับ Digitalization ภายใต้แนวคิดที่ยังให้ ความส�ำคัญกับความยั่งยืนและการผลักดันระบอบประชาธิปไตย ในภาคธุรกิจ คือแนวทางที่คณะฯ ยึดถือเป็นประหนึ่งเข็มทิศและ หางเสือที่จะน�ำพาคณะฯ และธุรกิจฝ่าฟันวิกฤตการณ์ที่ไม่แน่นอนและ คลุมเครือทั้งหลาย ด้วยความชัดเจนในทิศทางจะมุ่งไปให้สมกับจุดยืน ของการเป็น TBS Breakthrough PAGE17 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


Digitalization คืออะไร Digitalization เมื่อพูดถึงค�ำว่า Digitalizationอาจจะขยายความไปถึงเทคโนโลยี ต่าง ๆ ที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในยุคธุรกิจดิจิทัล ก็คือ (1) สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) (2) โทรศัพท์มือถือ (Smart Phone) (3) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) (4) เทคโนโลยีคลาวด์ (Cloud Computing) และ (5) อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งหรือไอโอที (Internet of Things; IoT) หรือที่เรียกย่อกันทั่วไปว่า SMACI ซึ่ง เมื่อเร็วๆ นี้บริษัทที่ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลกอย่างเฟซบุ๊ก (Facebook) ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นเมต้า (Meta) เพื่อเปลี่ยนผ ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มีการใช้งานกันอย ่างแพร ่หลาย ผ่านโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน ให้กลายไปเสมือนโลกคู่ขนาน (Metaverse) กับชีวิตจริงโดยใช้ศักยภาพของเทคโนโลยีเสมือนจริง (VR/AR) ในขณะที่เฟซบุ๊กก�ำลังขับเคลื่อนโลกไปสู ่ Metaverse นั้น เทคโนโลยีที่อยู่เบื้องหลัง ไม่ว่าจะเป็นวิทยาการข้อมูล คลาวด์และ ไอโอทีก็ได้รับการยอมรับและน�ำไปใช้กันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น ทั้งในภาคธุรกิจและหน่วยงานรัฐ ที่เริ่มเห็นความส�ำคัญของการมีข้อมูล (Data) และศักยภาพในการวิเคราะห์ (Analytics) ในข้อมูลที่มีอยู่ พฤติกรรมการจัดเก็บข้อมูลทั้งในส ่วนขององค์กรและส ่วนบุคคล เริ่มหันมาใช้บริการคลาวด์กันมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากความต้องการ แบ ่งปันข้อมูลระหว ่างกันที่เพิ่มมากขึ้น และความสะดวกรวดเร็ว ในการเชื่อมโยงกับบริการอื่น ๆ ที่มีให้บริการในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้เทคโนโลยีไอโอทีเริ่มถูกน�ำมาใช้งานในชีวิตประจ�ำวัน มากยิ่งขึ้น ผ่านผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์พกติดตัวฯลฯซึ่งมีมากขึ้นจากเดิมที่แค่ถูกใช้ภาคธุรกิจเป็นหลัก ซึ่งปัจจัยที่ท�ำให้เทคโนโลยีต่าง ๆ เหล่านี้แพร่กระจายไปสู่ทุกภาคส่วน ในสังคม จนถึงขั้นท�ำให้คนเหล่านั้นเปลี่ยนพฤติกรรมการด�ำเนินชีวิต น�ำไปสู่การเกิดธุรกิจใหม่ และท�ำให้ธุรกิจที่ปรับตัวไม่ทันนั้นหายไป นั่นก็คือ เทคโนโลยีเหล่านั้น “ราคาถูก (Cheap)” ในปัจจุบันผู้บริโภค สามารถหาซื้อโทรศัพท์มือถือพร้อมอินเทอร์เน็ตได้ในราคาที่จับต้องได้ จ่ายเพิ่มอีกนิดก็ได้พื้นที่เก็บข้อมูลบนคลาวด์เพิ่มเพื่อใช้ในการส�ำรอง ข้อมูล แพลตฟอร์มสินค้าออนไลน์หลาย ๆ ยี่ห้อได้น�ำสินค้าเทคโนโลยี ราคาถูกมากมายจากสาธารณรัฐประชาชนจีนออกสู่ตลาด ท�ำให้หลาย ๆ รองศาสตราจารย์ ดร.ปีเตอร์ รักธรรม รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ อาจารย์ ดร.วินัย นาดี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ครัวเรือนในยุคปัจจุบันนั้นมีผลิตภัณฑ์ไอโอทีใช้งาน กล่าวโดยสรุป คือ “ราคาถูก” นอกจากจะท�ำให้มีเทคโนโลยีมาใช้งานได้ง่ายแล้ว ยังท�ำให้ มีการแพร่กระจายการใช้งานในสังคมได้กว้างมากยิ่งขึ้น ปรากฏการณ์ Digitalization นี้เป็นแรงผลักดันที่มีส่วนส�ำคัญในเปลี่ยนผ่านโลกใบนี้ ไปสู่ความท้าทายใหม่ๆ ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าในด้านการศึกษา ภาคธุรกิจ และสังคม PAGE 18 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ภาคการศึกษานั้นได้รับโจทย์ส�ำคัญ ในฐานะที่เป็นแกนหลักในการพัฒนาศักยภาพของคนรุ่นใหม่เพื่อให้มีทักษะที่จ�ำเป็นต่าง ๆ รวมไปถึง พัฒนาองค์ความรู้เดิมให้มีความผสมผสานกับเทคโนโลยีดังที่กล่าวมาในตอนต้น จะเห็นได้ว่าวิชาในสายวิทยาการข้อมูล (Data science) นั้นได้รับความนิยม และถูกน�ำไปผนวกเข้ากับสาขาวิชาเดิมกันอย่างแพร่หลาย ทักษะด้านการเขียนโปรแกรม (Coding) ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญ ก็ได้รับความสนใจ มีการให้คนรุ่นใหม่เริ่มสัมผัสและศึกษากันตั้งแต่ระดับประถมศึกษา ในส่วนของรูปแบบการเรียน สถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 นั้น เป็นสิ่งที่ผลักดันให้ภาคการศึกษามีความ Digitalization อย่างก้าวกระโดด ด้วยพื้นฐานโครงข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีให้บริการมีความเร็วเพียงพอ และแพลตฟอร์มที่ให้บริการเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่ภาคการศึกษามีความจ�ำเป็น ต้องใช้นั้น มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ณ วันนี้เรามีแพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการห้องเรียน การประชุมออนไลน์ระบบการจัดสอบ ฯลฯ ในเมื่อเรามีการใช้งานเทคโนโลยีดังกล่าว ในขณะที่ภัยโรคระบาดผ่านพ้นไป สิ่งที่ยังต้องคอยดูต่อไปก็คงเป็นเพียงว่า ภาคการศึกษา จะเดินต่อไปข้างหน้ากับเทคโนโลยีที่เราเรียนรู้ทักษะที่เราฝึกฝน และประสบการณ์จากการถูกบังคับให้เชื่อมต่อกับโลกภายนอกในบริบทของ กิจกรรมด้านการศึกษาผ่านเทคโนโลยีต่าง ๆ ดังนั้นโลกอนาคตที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นจึงมีโอกาสที่ปรัชญาและการเรียนรู้ท�ำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ในชั้นเรียนนั้น จะถูกแทนที่ด้วยการเชื่อมต่อผ่านเทคโนโลยีแทน Digitalization ในภาคการศึกษา Digitalization ในธุรกิจ ภาคธุรกิจจัดเป็นผู้บุกเบิกในเรื่อง Digitalization อยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นในฐานะผู้สร้างนวัตกรรม (Innovators) หรือผู้ที่น�ำเทคโนโลยี มาสร้างเป็นสินค้าหรือบริการ เพื่อตอบโจทย์ลูกค้าของแต่ละภาคธุรกิจ หากมองเรื่อง Digitalization ในธุรกิจอาจจะต้องมีการวัดระดับ ความดิจิทัลกันก่อน ซึ่งอาจจะเริ่มต้นจากตัวสินค้าหรือบริการของแต่ละธุรกิจว่าสามารถส่งไปถึงลูกค้าได้โดยใช้ช่องทางดิจิทัลเป็นหลักได้หรือไม่ ถ้าท�ำไม่ได้แล้วสามารถที่จะสร้างกลไกอะไรได้บ้างเพื่อที่จะส่งสินค้าหรือบริการเหล่านั้นไปให้ถึงมือลูกค้า ธุรกิจที่พอจะเป็นกรณีศึกษาที่ดี ในการเปรียบเทียบถึงระดับความดิจิทัล เช่น ธุรกิจโรงภาพยนตร์และธุรกิจออนไลน์สตรีมมิ่ง ในยุคเริ่มแรกธุรกิจโรงภาพยนตร์ก็มีวิวัฒนาการ ในด้าน Digitalization อยู่ก่อนแล้วไม่ว่าจะเป็นการจองรอบเข้าชมผ่านช่องทางออนไลน์เพียงแต่ว่าในขั้นตอนท้ายสุดนั้นลูกค้าจะต้องเข้ามาใช้ บริการในโรงภาพยนตร์ในขณะที่บริการออนไลน์สตรีมมิ่งนั้น ไม่มีส่วนไหนเลยที่ลูกค้าจ�ำเป็นจะต้องพึ่งพาบริการทางกายภาพจากผู้ให้บริการ นอกเหนือจากตัวสินค้าหรือบริการแล้ว ทรัพยากรบุคคลในภาคธุรกิจนั้นก็เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ถึงขั้นเป็นตัวชี้ขาดว่าธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งนั้น จะได้ไปต่อหรือไม่สืบเนื่องมาจากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ที่มีกระแสในเรื่องของการท�ำเอาต์ซอร์ส(Outsourcing) เพื่อลดต้นทุนในการบริหาร งานทรัพยากรบุคคล ท�ำให้หลาย ๆ องค์กรธุรกิจนั้นมีเพียงบุคลากรที่เชี่ยวชาญในทักษะที่ตัวธุรกิจเหล่านั้นให้ความส�ำคัญเป็นเป้าหมายหลัก เมื่อถึงคราวที่ต้องเสริมศักยภาพทางด้านดิจิทัลให้กับตัวธุรกิจ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาสินค้าหรือบริการที่ตอบโจทย์ลูกค้า ตัวบุคลากรที่มีอยู่ ก็ไม่เพียงพอจะรอจ้างธุรกิจเอาต์ซอร์สก็ไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างคล่องตัว ไม่ว่าจะเป็นข้อจ�ำกัดในเรื่องของความลับทางการค้า หรือทักษะ ที่ผู้รับจ้างมีก็อาจจะไม่ตรงกับโจทย์ของธุรกิจ ณ เวลานั้น หลายองค์กรธุรกิจจึงได้มีการปรับแผนบุคลากร มีการให้ความส�ำคัญกับการจ้างงานบุคลากรที่มีความช�ำนาญทางด้านเทคโนโลยีมีโครงการ พัฒนาบุคลากรเดิมให้เพิ่มพูนความรู้ด้านดิจิทัล ซึ่งเปรียบได้กับความพยายามที่จะปลูกถ่ายดีเอ็นเอขององค์กรธุรกิจให้ข้ามสายพันธุ์จาก แบบธุรกิจเดิม ไปสู่ธุรกิจใหม่ผ่าน Digitalization และ Lifelong Learning ในยุคโลกาภิวัตน์ที่แทบจะทุกสิ่งอย่างในโลกนี้มีความเชื่อมโยงถึงกันผ่านเทคโนโลยีการมีเทคโนโลยีใดเทคโนโลยีหนึ่ง ซึ่งมีผู้ใช้งานมาก เมื่อเทียบกับสัดส่วนของประชากรโลก อยู่ในความครอบครองขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง หรือประเทศใดประเทศหนึ่งนั้น ย่อมท�ำให้เกิดความหวาดกลัว กลไกต่าง ๆ ก็ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการที่จะก�ำกับดูแล ไม่ให้เทคโนโลยีหรือองค์กรธุรกิจเจ้าของเทคโนโลยีเหล่านั้น มีอิทธิพลมากเกินไป อีกทั้งยังเพิ่มความอุ่นใจให้กับพลเมืองโลกว่าข้อมูลความเป็นส่วนตัวของพลเมืองแต่ละคนนั้นจะได้รับการปกป้องดูแล หากมองอีกนัยหนึ่ง ก็อาจจะเป็นการคานอ�ำนาจกันระหว่างเจ้าของนวัตกรรมและผู้บริโภค กลไกเหล่านี้ เช่น การปกป้องคุ้มครองความเป็นส่วนตัว ถูกน�ำไปสร้างเป็นเครื่องมือในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมาย ข้อตกลง ทางการค้า ฯลฯ ซึ่งแน่นอน ในโลกนี้ไม่ได้มีเพียงสองบทบาทที่กล่าวในข้างต้น ซึ่งปรากฏการณ์หาจุดดุลยภาพระหว่างเจ้าของนวัตกรรมและ การปกป้องผู้บริโภคนั้น กลายเป็นแรงกระเพื่อมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย รวมไปถึงพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัดในประเทศไทย คือ พฤติกรรมการใช้แพลตฟอร์มต่าง ๆ ซึ่งแพลตฟอร์มเหล่านั้นได้มีการปรับแต่งบริการปฏิบัติตามกฎหมาย หรือข้อตกลงทางการค้าที่แพลตฟอร์มเหล่านั้นตั้งอยู่ หรือมีลูกค้าในประเทศที่มีการบังคับใช้กฎหมายนั้น ๆ จะเห็นได้ว่า Digitalization นั้นเชื่อมโยงกับชีวิตเราในทุกมิติตั้งแต่ของใช้ประจ�ำวัน ไปถึงความเชื่อมโยงของผู้คน ภาคธุรกิจและทุกสิ่งในยุค โลกาภิวัตน์นี้ในบริบทของ Digitalization หากมองผิวเผินจะเป็นเพียงการประดิษฐ์ น�ำไปใช้แบ่งกันใช้หรือแม้กระทั่งสร้างกติกาการใช้ร่วมกัน แต่ไม่ควรลืมสิ่งที่ส�ำคัญกว่า ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสังคมที่ดีธุรกิจที่ดูแลสิ่งแวดล้อม และสิ่งที่ขาดไม่ได้คือครอบครัวที่มีความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น Digitalization กับยุคโลกาภิวัตน์ PAGE19 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมน์ พันธรักษ์ ผู้อำนวยการศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผู้บริหารทางธุรกิจแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Sustainability แนวคิดเรื่องความยั่งยืน (Sustainability) เป็นแนวคิดใน “การที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของคนในยุคปัจจุบัน ในขณะที่ไม ่ท�ำให้ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของ คนรุ่นหลังลดน้อยลง” (Bruntland Report, 1987) ซึ่งมุ่งเน้นการด�ำเนินการเพื่อให้สิ่งต่าง ๆ ให้ยังคงสามารถด�ำรงสภาพอยู ่ได้ต ่อไปถึงอนาคต ภายใต้เงื่อนไขและข้อจ�ำกัดตามวงจร การเปลี่ยนแปลงทั้งหลาย ทั้งภายในและภายนอก ซึ่งหากจะอธิบายลักษณะส�ำคัญของ การพัฒนาอย ่างยั่งยืนได้สามประเด็นหลัก คือ (1) ให้ความส�ำคัญกับความเท ่าเทียม และ ความยุติธรรม (2) มีมุมมองระยะยาวภายใต้หลักความรอบคอบที่คนปัจจุบันคิดถึงคนรุ่นหลัง อย่างน้อยอีก 50 ปีซึ่งหมายความว่าคนทุกรุ่นจะได้รับการดูแล (3) คิดแบบเป็นระบบ เข้าใจใน ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ในปัจจุบันความยั่งยืน เป็นกระแสหลักของสังคม ที่น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ท�ำให้เกิดการมุ ่งพัฒนาองค์กรอย ่างยั่งยืน โดยผ ่านการจัดท�ำดัชนีความยั่งยืน ไม่ว่าจะเป็น ดัชนีDow Jones Sustainability Indices (DJSI), FTSE4Good Index, MSCI ESG Index ในต่างประเทศ เป็นต้น หรือในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้มีการจัดตั้งเกณฑ์และรายชื่อ หุ้นยั่งยืน หรือ (Thailand Sustainability Investment: THSI) และดัชนีSETTHSI โดย บริษัทจ�ำกัดที่ได้รับคะแนนผ่านการประเมินทั้ง 3 มิติได้แก่ ความรับผิดชอบ 3 ด้านหลัก คือ สิ่งแวดล้อม สังคม และการก�ำกับดูแล(ESG) ในด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) เป็นหลักเกณฑ์ ที่ค�ำนึงถึงในด้านความรับผิดชอบของบริษัทต ่อสิ่งแวดล้อม ในด้านสังคม (Social) เป็นหลักเกณฑ์ที่ใช้วัดว่าบริษัทมีการจัดการความสัมพันธ์และมีการสื่อสาร กับ ลูกจ้าง คู่ค้า (Suppliers) ลูกค้า หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) อย่างไร และด้านการก�ำกับดูแล (Governance) หมายถึงหลักการในการประเมินว ่าบริษัทมีการจัดการบริหารความสัมพันธ์ ในเชิงการก�ำกับดูแลอย่างไร ในการจัดการที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส ตรวจสอบได้และค�ำนึงถึง ผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งนี้แนวคิดความยั่งยืนด้วยมิติESG ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ธุรกิจ ด้วยการสะท้อน บทบาทความรับผิดชอบของธุรกิจที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน ให้เติบโตอย่างยั่งยืน โดยในปี2563 มีบริษัทจดทะเบียนจ�ำนวน 124 แห่ง ที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม หุ้นยั่งยืน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี2562 มากถึง 51 บริษัท การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนบริษัทที่อยู่ในกลุ่ม หุ้นยั่งยืน ย่อมแสดงให้เห็นว่าภาคธุรกิจมีความสนใจมากขึ้นในเรื่องการด�ำเนินธุรกิจตามแนวคิด เรื่องความยั่งยืน PAGE 20 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


การทำธุรกิจตามปกติไม่ใช่ทางเลือก (Business as usual is not an options) การศึกษาการจัดการความยั่งยืนในธุรกิจ (Business Sustainability Management) ในด้านการปรับเปลี่ยนธุรกิจ (Breakthrough) เพื่อไปสู่ความยั่งยืน องค์กรจะต้องมุ่งมั่นในการสร้างคุณค่าให้กับลูกค้า พนักงาน คู่ค้า และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยมีเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่ไม่ใช่เพียงผลก�ำไร แต่เป็นการสร้างผลประโยชน์ระยะยาวร่วมกันตลอดโซ่อุปทาน เริ่มตั้งแต่ การรับรู้ความต้องการของลูกค้าเพื่อออกแบบสินค้าและบริการเพื่อ ความยั่งยืน การผลิต ขนส ่งและจัดจ�ำหน ่ายด้วยความยั่งยืนไปถึง มือลูกค้า จนกระทั่งการน�ำสินค้าที่หมดอายุแล้วกลับมาใช้ในกระบวนการ รีไซเคิล เช่น น�้ำดื่มเนสท์เล่ เพียวไลฟ์ใช้เทคโนโลยีเพื่อผลิตขวดให้ใช้ พลาสติกผลิตใหม่น้อยลง แต่ยังคงความแข็งแรงเหมือนเดิม จับขวดแล้ว ก็ไม่ยวบมือ ขวดน�้ำดื่มเนสท์เล่ที่ใช้พลาสติกน้อยลง มีส่วนช่วยลด ก๊าซเรือนกระจกได้เป็นมิตรต ่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากลดการผลิต เม็ดพลาสติกใหม่ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ท�ำให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจกส�ำหรับปริมาณการใช้พลาสติกในการผลิตขวดน�้ำดื่มในปี 2563 สามารถช่วยลดปริมาณการใช้พลาสติกผลิตใหม่ไปได้ทั้งหมด 370ตัน เมื่อเทียบกับปี2562 ทั้งนี้เพื่อเดินหน้าสู่เป้าหมายที่จะลดการ ใช้พลาสติกผลิตใหม่ลง 1 ใน 3 ภายในปี2568 (https://www.nestle.co.th/th/stories/recyclable-packaging) ในแง่ของการด�ำเนินธุรกิจที่มีคุณธรรมสร้างความเข้มแข็งให้สังคม องค์กรมุ่งให้ความช่วยเหลือในการยกระดับความสามารถในการแข่งขัน ให้กับสมาชิกในสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตราสินค้า ส่งผลให้ลูกค้าเกิดความไว้วางใจมีความเชื่อใจว่าธุรกิจที่ก�ำลังท�ำเพื่อ สังคมส่วนรวม ตัวอย่างเช่น โครงการเพื่อสังคมโดยกลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ได้ท�ำโครงการ ‘คิง เพาเวอร์ ไทย เพาเวอร์ พลังคนไทย’ ที่ช่วยใน การพัฒนา SMEs ให้เข้มแข็ง ซึ่งไม่เพียงสะท้อนความส�ำเร็จจากการพัฒนา และยกระดับสังคมให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืนเท่านั้น ยังมีรางวัลระดับนานาชาติ เป็นเครื่องการันตีโดยคว้ารางวัลด้าน Social Empowerment หรือการสร้างความเข้มแข็งให้สังคมจากงานประกาศรางวัล “Asia Responsible Enterprise Awards” หรือ AREA ถึง 2 ปีติดต่อกัน คือ ปี2019-2020 ซึ่งรางวัลนี้Enterprise Asia องค์กรอิสระที่สนับสนุน ในคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการจัดการเรียนการสอนในด้านการจัดการความยั่งยืนในธุรกิจ ในหลากหลายมุมมอง เป็นกลุ่มวิชาด้านความยั่งยืนของคณะฯ อาทิเช่น วิชากผ.321 ทักษะการเป็นผู้ประกอบการและผู้ประกอบการเพื่อสังคม กต.411 การตลาดเพื่อความยั่งยืน บช.331 การบัญชีเพื่อความรับผิดชอบ ต ่อสิ่งแวดล้อมและสังคม และ ธร.433 ประเด็นทางจริยธรรมใน การด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้นักศึกษาสามารถศึกษาวิชาที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน ที่จัดการเรียนการสอนในคณะอื่น ๆ ได้อีก อาทิเช่น คณะนิติศาสตร์ วิชา น.305 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค น.443 กฎหมายว่าด้วยการแข่งขัน ทางการค้าคณะเศรษฐศาสตร์วิชาศ.375เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชา วล.266 สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นต้น นักศึกษาจะได้เรียนรู้แนวความคิดในด้านการจัดการความยั่งยืน และ เรียนรู้การน�ำแนวคิดความยั่งยืนไปปฏิบัติในการท�ำงานในอนาคต ซึ่ง สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์การสหประชาชาติที่ได้ก�ำหนดเป้าหมาย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals-SDGs) ทั้งหมด 17 ข้อ ที่มุ่งหวังจะช่วยแก้ปัญหาที่โลกก�ำลังเผชิญอยู่ เช่น ความยากจน ความไม่เท่าเทียม สภาวะโลกร้อน และสันติสุขเพื่อเสริม แนวคิด “ไม่เป็นการทิ้งใครไว้ข้างหลัง” และองค์การสหประชาชาติ คาดว่าจะท�ำส�ำเร็จได้ภายในปีค.ศ. 2030 อีกด้วย การพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจ และสังคมแบบองค์รวมในเอเชีย และมุ่งส่งเสริมการพัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรต่าง ๆ ในภูมิภาคเป็นผู้จัดขึ้น โดยแต ่ละปีมีโครงการส ่งเข้าร ่วมกว ่า 200 โครงการ จาก 19 ประเทศในภูมิภาคเอเชีย และรางวัลจากเวทีดีเอฟ เอ็นไอ-ฟรอนเทียร์ เอเชีย แปซิฟิก อวอร์ด (DFNI-Frontier Asia Pacific Awards) สาขาผู้ประกอบการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างยั่งยืน (CSR or Sustainability Initiative of the Year) ความยั่งยืนในด้านการรับผิดชอบต ่อสิ่งแวดล้อม เป็นอีกเรื่อง ที่องค์กรให้ความส�ำคัญและกลับมาสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการท�ำธุรกิจที่อยู่ในโมเดลธุรกิจใหม่เพื่อสิ่งแวดล้อม เช่น ธุรกิจพลังงานทางเลือก หรือธุรกิจเดิมที่สร้างระบบนิเวศทางธุรกิจ (Ecosystems) ในรูปแบบใหม่ที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มร่วมกันอย่างต่อเนื่องและก่อให้เกิดประสบการณ์ใหม่ต่อลูกค้า เช่น Alexa ของ Amazon เป็นระบบซอฟต์แวร์ควบคุมด้วยเสียง ใช้ร่วมกับ Hardware ของ Amazon โดยพัฒนาทักษะ ให้Alexa สามารถหาข้อมูลและจองแพ็กเกจท่องเที่ยวกับ Expedia ลูกค้าที่มี อุปกรณ์ที่ติดตั้ง Alexa เอาไว้ก็สามารถติดตั้งความสามารถนี้เพิ่มเติมได้ Amazon เปิดให้นักพัฒนาสามารถพัฒนาทักษะความสามารถในการ โต้ตอบเรื่องอะไรก็ได้ลงไปในตัว Alexa ซึ่งตอนนี้มีมากกว่า 5,000 ทักษะ และยังขยายพันธมิตรกับผู้ผลิตอุปกรณ์อัจฉริยะในบ้านหลาย ๆ ราย เช่น GE Appliances ท�ำให้ทุก ๆ อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้านเชื่อม เข้ากับ Alexa ผ่านระบบ Wi-Fi อุปกรณ์ทุกอย่างล้วนแต่เป็นอุปกรณ์ ที่หมดอายุแล้วสามารถน�ำกลับมารีไซเคิลได้ทั้งหมด PAGE21 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


The Role of Business in a Democracy เหตุใดประชาธิปไตยจึงมีความสำคัญกับภาคธุรกิจ? ไม่บ่อยครั้งนักที่ค�ำว่า “ธุรกิจ” และ “ประชาธิปไตย” จะถูกน�ำมาใช้ ร่วมกันในประโยคเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม มันก็มีความเชื่อมโยงที่แน่นแฟ้น ระหว ่างทั้งสองค�ำนี้ซึ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วส ่วนใหญ ่มักจะมีธุรกิจของ ภาคเอกชนที่ด�ำเนินงานอย ่างเข้มแข็ง ในขณะที่ประเทศที่ด้อยพัฒนากว ่า มักจะประสบปัญหาจากภาคเอกชนที่อ่อนแอและการผูกขาดจากหน่วยงาน ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ จึงได้เกิดมีงานวิจัยที่มีความน ่าสนใจเป็นอย ่างยิ่ง และก�ำลังท�ำการศึกษาอยู่โดยมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard Business School) ที่ได้พิจารณาถึงความสัมพันธ์หว่างภาคธุรกิจและแนวคิดระบอบ ประชาธิปไตย โดยมีข้อสังเกตว่าในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา โดยเฉลี่ยแล้วพบว่า ระบอบประชาธิปไตยจะสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในระดับที่เพิ่มสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีตัวอย่างจากทางประเทศที่ไม่ได้เป็นประเทศในระบอบ ประชาธิปไตย แต่ก็สามารถประสบความส�ำเร็จได้เช่นกัน โดยตัวอย่างของ ประเทศจีนที่มักจะถูกน�ำมาอ้างอิงบ่อยครั้ง แต่หากพิจารณาในระยะยาวแล้ว จะพบว ่ายังมีข้อสงสัยอยู ่ว ่าการเติบโตของประเทศจีนเช ่นนี้มีความยั่งยืน อย ่างแท้จริง หรือเป็นเพียงการรายงานอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ให้อยู ่ในระดับที่สูงเกินความเป็นจริง ซึ่งเป็นค�ำถามที่ไม ่มีผู้ใดจะสามารถ ตอบค�ำถามเหล่านี้ได้ ประชาธิปไตยนั้นสามารถปกป้องเสรีภาพในการพูดและเสรีภาพ ของพลเมืองอื่น ๆ ได้ซึ่งจะช ่วยให้เกิดความโปร ่งใส เกิดการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในวงกว้าง และเกิดการอภิปรายอย ่างเปิดเผย ท�ำให้ง่ายต่อ การระบุนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศในภาพรวม จึงเป็นที่มีของค�ำถาม ที่ว ่า “แล้วภาคธุรกิจไทยสามารถช ่วยพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศ ได้หรือไม่?” ซึ่งหลายท่านอาจมองว่าค�ำถามนี้ตอบได้ยาก แต่หากมองให้ดีๆ ก็จะเห็นว ่าภาคธุรกิจของไทยนั้นมีบทบาทในการพัฒนาประชาธิปไตย ของประเทศเป็นอย่างมาก ดังนั้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำเสนอ ให้เห็นความสัมพันธ์ร่วมกัน (Symbiotic relationship) ระหว่างภาคธุรกิจ เอกชนกับระบอบประชาธิปไตย ซึ่งความสัมพันธ์นี้มีความลึกซึ้งมากกว ่า การที่จะเข้าใจเพียงแค ่ว ่า ภาคธุรกิจเอกชนและระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ได้มีอะไรที่เกี่ยวข้องกันมากนัก ศาสตราจารย์ ดร.รุธิร์ พนมยงค์ คณบดี PAGE 22 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ความสำคัญของตลาด “เสรี” เพื่อพัฒนาภาคธุรกิจเอกชนไทยให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น สิ่งส�ำคัญคือ ตลาดในประเทศต้องมีความเป็น “เสรี”ซึ่งหมายความว่าหน่วยงานภาครัฐของไทย จะต้องมีการสร้างความมั่นใจและมีการสร้างหลักประกันในสี่เสาหลักที่ส�ำคัญเพื่อ ให้เกิดตลาดเสรีและการแข่งขันอย่างเป็นธรรม โดยเสาหลักสี่ประการนี้ประกอบด้วย (1) การแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม (2) ระบบยุติธรรมที่เป็นกลาง (3) ราคาที่ สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง และ (4) เสรีภาพทางโอกาส ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถเกิดขึ้น ได้ด้วยระบบการเมืองที่เหมาะสมเท ่านั้น คือ ระบอบประชาธิปไตย หากไม ่มี ประชาธิปไตย เสาหลักส�ำคัญสี่ประการเหล ่านี้ก็อาจอยู ่ภายใต้อิทธิพลและ ถูกครอบง�ำจากภายนอกได้ เสาหลักที่ 1 การแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม สืบเนื่องจากความจ�ำเป็นที่จะต้องมีมาตรการป้องกันการแข่งขัน โดยในช่วง หลายปีที่ผ่านมาพบว่า ประเทศไทยเองก็มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ดังจะเห็น ได้จากที่มีการจัดตั้งคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า (Trade Competition Commission; TCC) ขึ้นมา เพื่อเป็นกลไกหลักในการก�ำกับดูแลและบังคับใช้ กฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้าของไทย อย่างไรก็ตาม กลับพบว่ายังมี การตัดสินใจของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า บ่อยครั้งที่ส่งผลให้สาธารณชน เกิดความสงสัยว่าคณะกรรมการนี้สามารถด�ำเนินการได้จริงหรือไม่ ซึ่งประเด็น ข้อสงสัยดังกล ่าวอาจเป็นปัญหาในส ่วนของการตีความหรือการด�ำเนินการ ตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้แต่ในกรณีที่หากไม่มีกฎระเบียบเพื่อป้องกันการแข่งขัน การพัฒนาด้านนวัตกรรมก็จะไม่มีความก้าวหน้า ส่งผลให้ประสิทธิภาพลดลงและ ราคาสินค้าก็จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกัน ธุรกิจที่ด�ำเนินการอยู่ในตลาดก็ควรที่จะต้องได้รับการปกป้องจาก การสมรู้ร ่วมคิดและควรที่จะต้องมีการประเมินบทบาทของรัฐวิสาหกิจอีกครั้ง เนื่องจากรัฐวิสาหกิจอาจบิดเบือนตลาดเสรีและเป็นธรรมจากการได้รับเอกสิทธิ์ ในการผูกขาดการมีตลาดเสรีและยุติธรรมจะส่งผลให้เกิดการเติบโตทางการแข่งขัน และจะสนับสนุนให้บริษัทต่าง ๆ ต้องคิดค้นและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อ ให้สามารถแข่งขันได้ซึ่งบริษัทที่ไม่สามารถพัฒนาและแข่งขันได้ก็จะต้องออกไป จากตลาดและไม่ควรด�ำเนินกิจการต่อไปเนื่องจากจะกลายเป็นภาระให้แก่สังคม โดยรวม ดังนั้น บทบาทที่ส�ำคัญของรัฐบาลไทยคือการท�ำให้แน ่ใจว ่ามีการแข ่งขัน กันอย ่างแท้จริง เมื่อมีกลุ ่มบริษัทขนาดใหญ ่ของไทยเข้ามาเกี่ยวข้อง และไม ่มี ความล�ำเอียงในการสนับสนุนรัฐวิสาหกิจที่อยู่ในตลาดเนื่องจากขนาดธุรกิจของธุรกิจ เหล่านั้นมีความได้เปรียบในการแข่งขันกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอยู่แล้ว PAGE23 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


เสาหลักที่ 2 ระบบยุติธรรมที่เป็นกลาง หลักนิติธรรมเป็นหลักการที่บุคคล สถาบัน และหน ่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด จะต้องท�ำตามกฎหมายที่มีการประกาศใช้ ต่อสาธารณะ มีการบังคับใช้อย่างเท่าเทียมกัน มีการวินิจฉัยโดยอิสระและมีความสอดคล้อง กับหลักสิทธิมนุษยชนระหว ่างประเทศ ซึ่งตลาดเสรีและตลาดที่มีการแข่งขันที่ยุติธรรม ก็จ�ำเป็นที่จะต้องมีสิทธิ์ในทรัพย์สินและสัญญา ที่จะสามารถปกป้องทุกอย ่างได้ตั้งแต ่ ที่ดินไปจนถึงความคิดและข้อมูล นอกจากนี้ หลักนิติธรรมยังรวมถึงการที่ธุรกิจในตลาด จะต้องรักษาสัญญาในขณะที่รัฐวิสาหกิจ จะต้องไม่อยู่เหนือกฎหมายเช่นกัน การไม่มี หลักนิติธรรมหรือไม ่ปฏิบัติตามกฎหมาย ก็จะท�ำให้การทุจริตมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจากการสังเกตก็พบได้ว่า ประเทศที่รัฐบาล มีความรับผิดชอบตามระบอบประชาธิปไตย และสามารถถูกตรวจสอบได้มักจะมีระบบ เสาหลักที่ 3 ราคาที่สะท้อน ต้นทุนที่แท้จริง การก�ำหนดราคาสินค้าและบริการจะต้อง ไม่มีการสมรู้ร่วมคิดกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรจะต้อง เกิดขึ้นเมื่อตลาดมีเสรีและมีความยุติธรรม ราคาจะต้องสะท้อนจุดตัดระหว ่างต้นทุน ที่แท้จริงของผู้ขายในขณะที่ผู้ซื้อก็มีความเต็มใจ ที่จะจ่าย อย่างไรก็ตาม การแทรกแซงของ รัฐบาลเพื่อครอบง�ำระบบโซ่อุปทานสามารถ ก ่อให้เกิดการบิดเบือนของกลไกตลาดและ เกิดการสร้างข้อได้เปรียบที่ไม ่เป็นธรรมแก ่ ธุรกิจหนึ่ง ๆ ซึ่งการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ ในประเทศไทยมักถูกมองว ่ามีความเคลือบ แคลงสงสัย ท�ำให้ประชาชนที่เสียภาษี มักจะมีข้อสงสัยอยู ่เสมอว ่าการใช้เงินภาษี มีความคุ้มค่าหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับ โครงการขนาดใหญ ่ของรัฐบาลที่มีประเด็น เรื่องของความไม่โปร่งใสในการด�ำเนินงาน ตุลาการที่เข้มแข็งกว ่าและมีการทุจริต น้อยกว่ามาก ขณะที่ประเทศไทยในปัจจุบัน มีรัฐบาลที่ไม ่มีความรับผิดชอบตามระบอบ ประชาธิปไตยและไม ่สามารถตรวจสอบได้ การใช้หลักนิติธรรมดูเหมือนจะเป็นเพียง เหตุบังเอิญเท ่านั้น ซึ่งถือเป็นภัยคุกคาม ต่อสภาพแวดล้อมที่มั่นคงส�ำหรับภาคธุรกิจได้ สิ่งนี้ไม่ใช่สิ่งที่ภาคธุรกิจเอกชนต้องการ แต่ ธุรกิจเหล ่านั้นต้องการให้ระบบยุติธรรม โดยรวมมีความเป็นกลางเพื่อสร้างความรู้สึก ถึงความยุติธรรมและการได้รับการปกป้อง ดังนั้น เพื่อให้ภาคธุรกิจเอกชนสามารถเติบโตได้ ธุรกิจจึงจ�ำเป็นที่จะต้องรู้ว ่าผลประโยชน์ ของตนจะได้รับการคุ้มครองและจะได้รับ การปฏิบัติเช ่นเดียวกันทั้งหมด ดังที่มี การกล่าวกันว่า ความยุติธรรมจะต้องตาบอด หรือปราศจากอคติเพื่อที่จะสามารถปกป้อง ทุกคน PAGE 24 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ท้ายที่สุดแล้ว ภาคธุรกิจสามารถทำอะไรได้บ้าง? มีความจริงที่ทราบกันดีว่า ภาคธุรกิจส่วนใหญ่ไม่ได้นิยมในรัฐบาลเท่าไรนักแต่เป็นหน้าที่ ของรัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบต่อระบอบประชาธิปไตย เพื่อให้ประเทศเติบโตอย่างยั่งยืน รัฐบาลจะต้องแลกมาด้วยการให้เสรีภาพแก่สื่อและให้โอกาสภาคเอกชนได้เติบโตอย่างเสรี ภาคธุรกิจของไทยควรจะต้องเริ่มพิจารณาแล้วว่า นโยบายการบริจาคเงินทุนให้แก่ พรรคการเมืองเป็นการท�ำลายหลักการประชาธิปไตยหรือไม ่ ซึ่งจากการที่มีเงินทุน จ�ำนวนมากเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเมืองและสร้างความประทับใจว่า ระบบการเมือง มีการเอื้ออ�ำนวยให้แก ่คนรวยและมีอ�ำนาจ ในขณะที่เสียงของประชาชนทั่วไป กลับไม่มีผลอะไรเลย แม้ว ่าการสนับสนุนทางการเงินจะไม ่ถือว ่าขัดต ่อกฎหมายก็ตาม และยังสามารถ ท�ำให้ฐานะของผู้บริจาคเหล ่านั้นแข็งแกร ่งในระยะสั้น แต ่หากมองกันในระยะยาว อาจมีผลในทางลบโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล ดังนั้น ความโปร่งใส จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นมากและควรจะต้องมีการติดตามและตรวจสอบแหล่งที่มาของเงินทั้งหมด ที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมืองได้เช่นกัน แต่สิ่งที่แตกต่างไป ก็คือ ภาคธุรกิจไทย จ�ำเป็นที่จะต้องสามารถแยกแยะให้ได้ระหว่างความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองกับวาระ ทางการเมือง ความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง หมายถึง การมีส ่วนร ่วมอย ่างแข็งขันในพื้นที่ สาธารณะและชุมชนในลักษณะของการได้รับข้อมูล ความมุ่งมั่น และความสร้างสรรค์ โดยที่มุ่งเน้นไปที่การท�ำความดีและการมีส่วนร่วม ขณะที่วาระทางการเมือง จะหมายถึง หัวข้อหรือประเด็นปัญหาที่เจ้าหน้าที่รัฐและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจะให้ความสนใจ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ดังนั้น แทนที่ภาคธุรกิจจะสร้างความใกล้ชิดสนิทสนมหรือใช้จ่ายเงินให้แก่พรรคการเมือง หรือนโยบายทางการเมืองที่เฉพาะเจาะจง ภาคธุรกิจไทยควรมุ่งเน้นไปที่กระบวนการก�ำหนด นโยบายของรัฐ รวมถึงการให้การสนับสนุนอย ่างเข้มแข็งต ่อระบอบประชาธิปไตย ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้มีส ่วนได้ส ่วนเสียและชุมชนทุกภาคส ่วนสามารถมีส ่วนร่วม ในการอภิปรายเชิงรุกเกี่ยวกับนโยบายรัฐเหล่านั้นว่าควรเป็นอย่างไร กรณีศึกษาหนึ่งที่ชัดเจน คือ การด�ำเนินงานร่วมกันของภาคธุรกิจซึ่งจะเห็นได้ว่า มีการด�ำเนินการร ่วมกันอยู ่ตลอดเวลาอยู ่แล้ว ดังจะเห็นได้จากสมาคมการค้าต ่าง ๆ ที่ได้มีการกดดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่จะเป็นประโยชน์ต ่ออุตสาหกรรม โดยรวม เช่นเดียวกันกับหอการค้าไทยที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการเป็นหัวหอกในการต่อต้าน การทุจริต ดังนั้น สมาคมธุรกิจต่าง ๆ จึงอยู่ในสถานะที่สามารถที่จะสร้างความแตกต่าง อย่างมากมาย สมาคมเหล่านี้เองก็สามารถตัดสินใจที่จะให้น�้ำหนักหรือให้ความส�ำคัญ กับการปฏิรูปทางการเมืองได้อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ธุรกิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะมีสมาคมขนาดใหญ่แค่ไหนก็จะสามารถสร้าง แรงผลักดันได้เพียงระดับหนึ่งเท่านั้น จึงจ�ำเป็นที่จะต้องมีตัวแบบที่มีความครอบคลุม มากกว่าโดยที่จะต้องสามารถไปยึดโยงกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆในประเทศไทยได้ทั้งหมด การที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้มามีส่วนร่วมจะท�ำให้ประเทศเริ่มพิจารณาถึงความต้องการ และความปรารถนาของทุกคนที่มีส ่วนได้เสียกับประเทศ และยังช ่วยส ่งเสริมให้เกิด การเชื่อมโยง ความไว้วางใจ ความมั่นใจ และการริเริ่มที่ส�ำคัญของประเทศต่อไป สุดท้ายนี้ถ้าหากต้องการให้ระบอบประชาธิปไตยก้าวหน้าและรุ่งเรือง ภาคธุรกิจ ของไทยไม่ควรที่จะด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่จ�ำเป็นต้องพิจารณา วิธีด�ำเนินการหรือรูปแบบการด�ำเนินงานใหม่ๆเพื่อเข้าไปมีส่วนร่วมกับนโยบายของรัฐบาล อย่างโปร่งใสสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน เสรีภาพในโอกาสจะไม่มีทางเกิดขึ้นหากระบบ เศรษฐกิจถูกควบคุมโดยภาครัฐหรือชนชั้นสูง ทางการเมือง ดังนั้น ระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง จะต้องถูกก�ำจัดให้หมดไปเพื่อส ่งเสริมเสรีภาพ ทางโอกาสและการหางาน ซึ่งการเข้าถึงโอกาส ไม่ควรเป็นเฉพาะส�ำหรับคนที่ใกล้ชิดกับคนรวย หรือคนมีอ�ำนาจเท่านั้น ในตลาดที่เสรีและยุติธรรม จะต้องไม ่มีการเลือกปฏิบัติตามเชื้อชาติเพศ สถานะทางสังคม หรือภูมิหลังทางการศึกษา ซึ่งความสัมพันธ์ทางสังคม (คุณรู้จักใคร) เป็นอีก ปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทั้งใน ด้านเศรษฐกิจและการเมือง รัฐบาลควรจะต้องจัดหาบริการสาธารณะ ที่จะรับประกันเสรีภาพทางโอกาส อาทิการศึกษา ขั้นพื้นฐานและการประกันสุขภาพให้แก่ประชาชน โดยที่อ�ำนาจของตลาดเสรีและยุติธรรมนั้น มีความสมดุลด้วยอ�ำนาจของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาล จะสามารถถูกตรวจสอบได้ถ้าหากมีระบอบ ประชาธิปไตยที่เติบโตก้าวหน้าเท่านั้น หากสังคมไทยไม่สามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ ความเหลื่อมล�้ำก็จะเพิ่มมากขึ้น และจะเป็นตัวเร่ง ให้เกิดผลกระทบต่อบรรยากาศการท�ำธุรกิจ และ ยิ่งในสภาวะโลกร้อนในตอนนี้การพัฒนาระบบ เศรษฐกิจที่ยั่งยืนก็จะท�ำได้ยากขึ้น เราต้องไม่ลืม ว ่าประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 10 ประเทศทั่วโลก ที่มีการกระจายความมั่งคั่งมีความไม่เท่าเทียมกัน เสาหลักที่ 4 เสรีภาพทางโอกาส PAGE25 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


แม้กระทั่งการสืบค้นวิทยานิพนธ์ของ นักศึกษาปริญญาเอกในต่างประเทศหรือการดู คลิปวิดีโอการสอนวิชาต่างๆจากมหาวิทยาลัย ชั้นน�ำของโลกที่สามารถท�ำได้อย่างง่ายดาย เพียงปลายนิ้วสัมผัสไปที่อุปกรณ์สื่อสารในมือ รวมไปถึงความสามารถในการค�ำนวณสูตรต่าง ๆ อาทิการถอดรากที่สองของตัวเลขที่คนส่วนใหญ่ ไม่จ�ำเป็นต้องสามารถท�ำได้เองด้วยการค�ำนวณ มืออีกแล้ว เพราะทุกวันนี้ทุกคนสามารถใช้ เครื่องคิดเลขในสมาร์ทโฟนที่มีอยู ่ติดตัว ตลอดเวลา ไปจนถึงการค�ำนวณชั้นสูงที่มี ความซับซ้อนมาก ๆ ซึ่งก็มีการพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์/แอปพลิเคชันเพื่อมารองรับ การด�ำเนินการเฉพาะทางอยู่มากมาย โลกธุรกิจทุกวันนี้ต้องเผชิญกับความท้าทาย ที่มาจากความก้าวหน้าที่รวดเร็วของเทคโนโลยี และพลวัตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาจนแทบจะท�ำให้แผนการด�ำเนิน ธุรกิจรายปีดูเหมือนจะเป็นแผนที่ไม ่ทัน ต่อเหตุการณ์หากไม่มีการทบทวนและปรับแผน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์อยู่เสมอ ไม่เว้น แม้แต่วงการการศึกษาที่ในอดีตไม่ได้มีพัฒนาการ ที่รวดเร็วมากอย่างปัจจุบันนี้เนื่องจากในอดีต องค์ความรู้ต่าง ๆ จะมีอยู่เฉพาะในต�ำราที่มีอยู่ อย ่างจ�ำกัดภายในห้องสมุดหรือโดยการ ถ่ายทอดจากอาจารย์ผ่านการเรียนการสอน ในห้องเรียนเท่านั้น จึงท�ำให้รูปแบบการศึกษา ต้องมุ ่งเน้นไปที่การท ่องจ�ำค�ำนิยาม ทฤษฎี กระบวนการและสูตรค�ำนวณซึ่งมีอยู่มากมาย เพราะหากผู้เรียนลืมเนื้อหาเหล ่านั้นไปแล้ว หรือไม่ได้มีต�ำราอยู่ใกล้ตัว สิ่งที่ได้ร�่ำเรียนมา ทั้งหมดก็แทบจะสูญเปล ่าเพราะไม ่สามารถ ที่จะรื้อฟื้นความรู้เพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ทัน ในเวลาที่ต้องการ Future of Business Education การมาถึงของสมาร์ทโฟน และ Internet of Things ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษาไป อย่างสิ้นเชิง โดยทำ ให้การหาความรู้ด้วยตนเอง ไม่มีขีดจำกัด และไม่ถูกจำกัดด้วยเวลาและ สถานที่อีกต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร.สถาพร โอภาสานนท์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร Future of Business Education PAGE 26 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ทักษะที่จำ เป็นต่อการทำธุรกิจในอนาคต เนื่องจากในปัจจุบันความรู้(Knowledge) สามารถเข้าถึงได้ง่ายในทุกที่ทุกเวลาเพียงแค่ มีอินเทอร์เน็ตตามที่ได้กล ่าวมาข้างต้น การศึกษาด้านบริหารธุรกิจในยุคใหม่จึงไม่ได้ มุ่งเน้นไปที่การถ่ายทอดองค์ความรู้หากแต่ เป็นการพัฒนาทักษะ (Skill) ที่จ�ำเป็นต่อ การด�ำเนินธุรกิจ โดยการพัฒนาทักษะ ในด้านต่าง ๆ จ�ำเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนให้ ช�ำนาญจนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญ ซึ่งใน ขณะที่โลกของการศึกษาก�ำลังมุ่งไปสู่การเตรียม ความพร้อมของผู้เรียนเพื่อรองรับการมาถึง ของยุคดิจิทัล เช่น ทักษะในการเขียนโปรแกรม (Coding) และการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ (AI) แต่ส�ำหรับการศึกษาด้านบริหารธุรกิจแล้ว ทักษะในเรื่องดังกล ่าวอาจไม ่ใช ่เรื่องหลัก ที่ผู้เรียนทุกคนต้องมีเนื่องจากผู้ที่ท�ำงาน ในสายบริหารธุรกิจไม ่มีความจ�ำเป็นต้อง สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาระบบหรือ แอปพลิเคชันเองได้แต่ต้องเข้าใจในเทคโนโลยี ดิจิทัลเหล่านั้นว่าใช้งานอย่างไร และรู้ถึงลักษณะ ของข้อมูลและประโยชน์ที่จะได้รับจนสามารถ หาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เหล่านั้นในการด�ำเนินธุรกิจได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพสูงสุดนั่นเอง หนึ่งในทักษ ะที่มีค ว ามส�ำคัญม าก ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจ คือ ทักษะการ แก้ปัญหา หรือ Problem Solving ซึ่ง ต้องไม่ใช่เป็นนักคิดเพียงอย่างเดียวที่รู้ “What to do” แต่ยังต้องเป็นนักปฏิบัติที่ให้ความสำคัญกับ “How and When to do it” โดยสามารถแปลง สิ่งที่คิดให้ออกมาเป็นรูปปฏิบัติได้ด้วย กล่าว คือ คิดแล้วก็ต้องสามารถลงมือปฏิบัติ ได้ด้วย ดังนั้นการเรียนด้านบริหารธุรกิจจึง ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการคิด อย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) คิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking) และ คิดในเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) รวมถึงมีสนามฝึกซ้อมให้ผู้เรียนได้ทดลอง แก้ปัญหาทางธุรกิจด้วยตัวเองได้ ในขณะที่หุ่นยนต์ (Robot) และปัญญา ประดิษฐ์ (AI) ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการจ้างงาน ที่มีลักษณะเป็นกิจวัตร (Routine) หรือเป็น แบบขั้นตอน (Procedural) ความก้าวหน้าใน เทคโนโลยีดังกล่าวก็ยังไม่สามารถมาทดแทน การท�ำงานที่ต้องอาศัยสัมผัสมนุษย์ (Human Touch) ได้ดังนั้นการเรียนการสอนด้าน บริหารธุรกิจจึงต้องมีการสอดแทรกกระบวนการ พัฒนาทักษะในการท�ำงานร่วมกับคนอื่นและ ทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาที่ 1, 2 หรือ 3 ซึ่งแม้ว่าปัจจุบันการใช้ภาษาที่ 2 จะมีเครื่องมือ แปลภาษาช ่วยเหลือให้สามารถสื่อสาร กันได้ง่ายขึ้น แต่การสื่อสารในภาษาเดียวกับ ผู้ที่ติดต ่อธุรกิจก็ยังคงมีความส�ำคัญ เพราะ การสื่อสารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ หากไป ติดต ่อธุรกิจแล้วใช้แต ่อุปกรณ์แปลภาษา การปฏิสัมพันธ์กับคู ่สนทนาก็จะไม ่เกิดขึ้น เท่ากับที่เราพูดเอง PAGE27 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


โจทย์แรกของการศึกษาด้านบริหารธุรกิจในปัจจุบันและอนาคต คือการปรับบทบาทของอาจารย์จากที่เป็น Lecturer หรือ Instructor ที่มุ่งสอนเนื้อหาและทฤษฎีต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตำราอยู่แล้วมาเป็น Facilitator หรือ Coach แทน เนื่องจากมีช ่องทางในการเข้าถึง แหล่งความรู้มากมายทั้งในรูปแบบของ E-book ไปจนถึงคลิปวิดีโอ ที่มีการสอนฟรีอยู่ในโลกอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนจึงสามารถศึกษาเนื้อหา ในส ่วนที่เป็นความรู้เบื้องต้นได้ด้วยตนเองโดยไม ่ต้องเสียเวลาและ ทรัพยากรเพื่อมาเรียนในห้องเรียน บทบาทของอาจารย์จึงปรับไปสู่ การเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกที่จะท�ำหน้าที่ในการคลายข้อสงสัย แก ่ผู้เรียนในส ่วนของเนื้อหาที่มีความซับซ้อนและยากต ่อการ ท�ำความเข้าใจด้วยตนเอง ซึ่งจ�ำเป็นต้องอาศัยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ในการชี้แนะเพิ่มเติม ตลอดจนเป็นผู้กระตุ้นและชักน�ำให้ผู้เรียนสามารถ น�ำองค์ความรู้และทฤษฎีมาต ่อยอดหรือน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ แก้ปัญหาทางธุรกิจผ ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการใช้กรณีศึกษา (Case Studies) และเกมจ�ำลองสถานการณ์ (Simulation Game) ประกอบการเรียนการสอนเพื่อสร้างประสบการณ์ในการแก้ปัญหา ในบรรยากาศเสมือนจริง ซึ่งการประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจไม่ได้ มีสูตรส�ำเร็จเพียงหนึ่งเดียวและแนวทางการแก้ปัญหาทางธุรกิจหนึ่งๆ ก็ไม ่สามารถน�ำมาใช้ได้กับสถานการณ์อื่นที่มีสภาพแวดล้อม แตกต่างกันได้ดังนั้นผู้เรียนจึงต้องได้รับโอกาสในการพัฒนาทักษะ การแก้ปัญหา (Problem-solving Skill) ในหลากหลายสถานการณ์ ตลอดจนฝึกฝนการสื่อสารและการท�ำงานเป็นทีมในชั้นเรียนให้ได้ มากที่สุด ในขณะที่ผู้เรียนก็ต้องมีการปรับบทบาทใหม ่ให้สอดคล้อง ตามไปด้วยเพื่อให้การศึกษาเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด โดยผู้เรียนต้อง เตรียมตัวท�ำความเข้าใจในส ่วนเนื้อหาความรู้มาก ่อนเข้าชั้นเรียน ซึ่งการจะท�ำได้นั้นต้องอาศัยค�ำแนะน�ำด้านการเลือกแหล่งข้อมูลที่ดี จากอาจารย์ผู้สอน ตลอดจนการพัฒนาทักษะของตัวผู้เรียนเอง ในการคัดกรองข้อมูล เนื่องจากความท้าทายที่ตามมาจากการค้นหา ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ตที่ให้ทั้งคุณและโทษคือ ภาวะข้อมูลท่วมท้น หรือ Information Overload ที่ท�ำให้ผู้เรียนมีโอกาสที่จะได้รับ ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือข้อมูลล้าสมัย นอกจากความสามารถในการคัดเลือกแหล่งข้อมูลและการคัดกรอง ข้อมูลแล้ว ผู้เรียนยังต้องสามารถที่จะเปรียบเทียบ วิเคราะห์และ สังเคราะห์ข้อมูลที่ตนได้ท�ำการศึกษามาก่อนเข้าชั้นเรียน เนื่องจาก ผู้เรียนจะต้องปรับบทบาทของตนเองจากการเป็น Student ที่มาชั้นเรียน เพื่อมาฟังสิ่งที่ผู้สอนบรรยายตามตำราเหมือนในอดีต มาเป็น Participant ที่จะต้องมาด้วยความพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตั้งแต่การอภิปรายและการตั้งค�ำถามในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาล่วงหน้า ไปจนถึงการถกเถียงในประเด็นต่าง ๆ กับอาจารย์ผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้น เพื่อให้เกิดการตกผลึกทางความคิดและการสร้างสรรค์มุมมองใหม่ ๆ ทางด้านบริหารธุรกิจ เปลี่ยนจาก Lecturer เป็น Facilitator ไม่ใช่ Student แต่เป็น Participant PAGE 28 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ปรับเปลี่ยนอย ่างรวดเร็ว และการปรับตัวของภาคธุรกิจให้สอดรับกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น สถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจจึงต้องเป็นผู้นำทางความคิด ที่รู้เท่าทันต่อกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจได้ด้วยวิสัยทัศน์ ที่ผ่านกระบวนการขัดเกลาจากการทำงานวิจัยและการให้คำปรึกษาทาง วิชาการอย่างใกล้ชิดกับภาคธุรกิจ ดังนั้นการพัฒนาและปรับปรุง หลักสูตรในแต ่ละครั้งจึงไม ่เพียงแค ่ใช้การส�ำรวจความต้องการ ของตลาดแรงงานในปัจจุบันผ่านการท�ำ survey และ focus group กับผู้ว่าจ้างในภาคธุรกิจเท่านั้น แต่สถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ ยังต้องสามารถคาดการณ์ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของภาคธุรกิจ ในอนาคตที่ได้รับอิทธิพลจากเทคโนโลยีดิจิทัลได้ด้วย เพื่อให้หลักสูตร ที่ถูกออกแบบมาไม่ใช่แค่เพียงทันสมัยต่อสภาวการณ์ปัจจุบันเท่านั้น แต่ต้องก้าวล�้ำเพียงพอที่จะสามารถรองรับการท�ำงานจริงเมื่อผู้เรียน จบการศึกษาไปแล้ว โดยยังสามารถน�ำความรู้หรือทฤษฎีที่เรียนไปใช้ ในการท�ำงานได้อยู่ ไม่ใช่กว่าผู้เรียนจะจบการศึกษา ความรู้ที่ได้ศึกษามา ก็ล้าสมัยไปเสียแล้ว จะเห็นได้ว่าการศึกษาด้านบริหารธุรกิจสมัยใหม่ต้องอาศัยการปรับตัว ในทุกด้านทั้งบทบาทของผู้เรียน ผู้สอน และโครงสร้างหลักสูตร โดยเป็น การศึกษาแบบ “น้อยแต่มาก” โดยลดชั่วโมงการเรียน ในชั้นเรียนให้น้อยลง แต่เพิ่มความเข้มข้นในการพัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินธุรกิจให้มากขึ้น เพราะปัจจุบันทุกคนมีต้นทุน ทางความรู้ที่เท่าเทียมกันตามข้อมูลที่มีอยู่มากมายในโลกของอินเทอร์เน็ต แต่ทักษะต้องอาศัยเวลาในการพัฒนาและต้องมีผู้ชี้แนะที่มีประสบการณ์ และรู้จริงเท่านั้นจึงจะประสบความส�ำเร็จได้ ด้วยบริบทของการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยที่ได้กล่าวมา ข้างต้นท�ำให้การปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานที่แท้จริงจึงเป็นสิ่ง ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการศึกษาด้านบริหารธุรกิจยุคใหม่ โดยการออกแบบ โครงสร้างหลักสูตรต้องเน้นให้มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวเพื่อเอื้อ ให้สามารถทำการปรับปรุงหลักสูตรได้รวดเร็วและบ่อยครั้งมากขึ้น เพื่อให้หลักสูตรคงความทันสมัยและทันตามกระแสการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมอยู ่เสมอ ทั้งนี้ หลักสูตรจะมี ความยืดหยุ่นและคล่องตัวต่อการปรับปรุงได้ก็ต่อเมื่อมีจ�ำนวนวิชา และจ�ำนวนหน่วยกิตไม่มากจนเกินไป การลดจ�ำนวนวิชาในหลักสูตรสามารถท�ำได้โดยการลดจ�ำนวน วิชาที่เน้นการจดจ�ำเนื้อหา ทฤษฎีหรือวิธีการค�ำนวณที่ผู้เรียน สามารถศึกษาได้ด้วยตนเองนอกชั้นเรียน ร ่วมกับการจัดกลุ ่มวิชา แบบมีจุดมุ่งหมาย (Purpose) ตามที่หลักสูตรนั้นต้องการสร้างจุดแข็ง ให้แก ่ผู้เรียน โดยเน้นการสร้างความเข้าใจในหลักการ ตลอดจน สถานการณ์และบริบทที่เหมาะสมต ่อการน�ำความรู้และแนวคิด ทางธุรกิจมาใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจได้จริง หรือการลดจ�ำนวน หน ่วยกิตต ่อวิชาลงที่สามารถท�ำได้โดยการลดจ�ำนวนชั่วโมงเรียน ในชั้นเรียนลงให้เหลือแต่เฉพาะส่วนที่ผู้สอนท�ำหน้าที่เป็น Facilitator เพื่อการพัฒนาทักษะและการต่อยอดองค์ความรู้ด้วยการท�ำกิจกรรม และการอภิปรายในชั้นเรียน หรือการแบ ่งหน ่วยกิตเป็น Online ผสม Onsite โดยที่ Online 1.5 หน ่วยกิต จะเป็นส ่วนที่ผู้สอน จัดท�ำเป็นคลิปวิดีโอที่เป็นภาคการบรรยายเนื้อหาแบบ Lecture ที่ให้ผู้เรียนไปศึกษานอกเวลาผ่านแอปพลิเคชัน และ Onsite อีก 1.5 หน ่วยกิต ซึ่งเป็นส ่วนที่ผู้สอนจะท�ำหน้าที่เป็น Facilitator ซึ่ง แนวทางดังกล่าวนอกจากจะท�ำให้โครงสร้างหลักสูตรมีความกระชับ และเกิดความคล ่องตัวต ่อการจัดการหลักสูตรมากขึ้นแล้ว ยังเป็น การลดความสิ้นเปลืองทั้งด้านเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในชั้นเรียน ทั้งส่วนของผู้เรียนและผู้สอนอีกด้วย ไม่ใช่แค่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน แต่ต้องล ้ ำหน้ากว่า โครงสร้างหลักสูตร ที่มีความยืดหยุ่น PAGE29 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


ภาควิชาการบัญชี Department of Accounting (AC) ภาควิชาการเงิน Department of Finance (FN) ภาควิชาการตลาด Department of Marketing (MK) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Department of Management Information Systems (MIS) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารองค์การ การประกอบการ และทรัพยากรมนุษย์ Department of Organization, Entrepreneurship and Human Resource Management (MOEH) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาบริหารการปฏิบัติการ Department of Operations Management (OM) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง Department of International Business, Logistics and Transport (IBLT) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ Department of Real Estate Business (RE) ภาค/สาขา Department รวม (TOTAL) ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญในรอบปีการศึกษา 2563 Accomplishments during the Academic Year 2020 ผลงานที่สร้างชื่อเสียงด้านบุคลากรดีเด่น สายวิชาการ และสายสนับสนุน คณะพาณิชย์ฯ Outstanding Work of Personnel in Academic Field and Supporting Field for Thammasat Business School ผลงานวิชาการของคณาจารย์ Academic Performance โครงการวิจัย Research Project 1 - - - - 1 - 1 3 16 1 - - 2 3 4 - 26 7 21 7 8 6 4 7 3 63 26 4 1 1 1 6 1 - 40 ต�ำราที่ได้รับ การตีพิมพ์เผยแพร่ Academic Publication ประเภทบทความ ทางวิชาการและบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ระดับนานาชาติ International Academic Publication ประเภทบทความ ทางวิชาการและบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ระดับชาติ National Academic Publication ภาควิชาการบัญชี Department of Accounting (AC) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารองค์การ การประกอบการ และทรัพยากรมนุษย์ Department of Organization, Entrepreneurship and Human Resource Management (MOEH) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาบริหารการปฏิบัติการ Department of Operations Management (OM) หน่วยเทคโนโลยีและสารสนเทศ Technology Information Division 1 - - 1 - 1 1 - - - 1 - ระดับมหาวิทยาลัย University Level ระดับคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี TBS Level ภาค/สาขา/หน่วยงาน Department ในรอบปีการศึกษา 2563 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ก้าวหน้าด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง ด้วยงานวิชาการ จ�ำแนก ดังนี้ During the academic year 2020, Thammasat Business School (TBS) continued to achieve steady academic progress, thanks to its academic works and accomplishments, which could be grouped by educational level, department and type of activities as follows: ระดับนานาชาติ International Level PAGE 38 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ผลงานที่สร้างชื่อเสียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี Outstanding Work of Undergraduate Students ภาควิชาการบัญชี Department of Accounting (AC) ภาควิชาการเงิน Department of Finance (FN) ภาควิชาการตลาด Department of Marketing (MK) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง Department of International Business, Logistics and Transport (IBLT) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ Department of Real Estate Business (RE) โครงการปริญญาตรีบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) The Bachelor’s degree in Business Administration (International Program) (BBA) - - 1 - - - 3 1 3 1 2 24 - - - - - 4 ระดับมหาวิทยาลัย University Level ระดับชาติ National Level ระดับนานาชาติ International Level ภาค/สาขา/หลักสูตร/โครงการ Department/Program ภาควิชาการเงิน Department of Finance (FN) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาบริหารการปฏิบัติการ Department of Operations Management (OM) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารองค์การ การประกอบการ และทรัพยากรมนุษย์ Department of Organization, Entrepreneurship and Human Resource Management (MOEH) หลักสูตรควบตรี-โท ทางการบัญชีและบริหารธุรกิจ Integrated Bachelor’s and Master’s Degree Program in Business and Accounting (IBMP) 1 1 1 1 จ�ำนวน Amount ภาค/สาขา/หลักสูตร Department การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี Social Responsibility Activity by Undergraduate Students ภาควิชาการบัญชี Department of Accounting (AC) ภาควิชาการเงิน Department of Finance (FN) ภาควิชาการตลาด Department of Marketing (MK) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Department of Management Information Systems (MIS) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาบริหารการปฏิบัติการ Department of Operations Management (OM) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารองค์การ การประกอบการ และทรัพยากรมนุษย์ Department of Organization, Entrepreneurship and Human Resource Management (MOEH) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง Department of International Business, Logistics and Transport (IBLT) ภาควิชาการบริหาร สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ Department of Real Estate Business (RE) โครงการปริญญาตรีบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) The Bachelor’s degree in Business Administration (International Program) (BBA) หลักสูตรควบตรี-โท ทางการบัญชีและบริหารธุรกิจ Integrated Bachelor’s and Master’s Degree Program in Business and Accounting (IBMP) 3 2 5 5 2 3 2 4 16 2 จ�ำนวน Amount ภาค/หลักสูตร/โครงการ Department/Program การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน และสันทนาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี Academic and Recreational Activity for Undergraduate Students PAGE39 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


วิทยานิพนธ์ Thesis การค้นคว้าอิสระ Independent study 10 482 จ�ำนวน Amount วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ Thesis/IS โครงการปริญญาโท สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Master of Science Program in Management Information Systems (MSMIS) โครงการปริญญาโทธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ Master of Science Program in Real Estate Business (MRE) โครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจ Master of Business Administration Program (MBA) โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Business Administration (International Program) (Ph.D.) โครงการปริญญาโททางการตลาด (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Science Program in Marketing (International Program) (MIM) 3 - - 2 - - 1 - - - - - 2 1 1 ระดับมหาวิทยาลัย University Level ระดับชาติ National Level ระดับนานาชาติ International Level โครงการ Program โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Business Administration (International Program) (Ph.D.) 1 2 ระดับนานาชาติ International Level ระดับชาติ National Level โครงการ Program ผลงานที่สร้างชื่อเสียงของนักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก Outstanding Work of Postgraduate students and Ph.D. Students ผลงานวิชาการนักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ประเภทวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ Academic Work of Postgraduate Students and Ph.D. Students in Thesis and Independent Study Category การน�ำเสนองานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาเอก Research Finding Presentation of Ph.D. Students PAGE 40 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563


ผลงานงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ของนักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก Research Publication of Postgraduate Students and Ph.D. Students โครงการปริญญาโททางการบัญชี Master of Accounting Program (MAP) โครงการปริญญาโททางการเงิน (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Science Program in Finance (International Program) (MIF) โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Business Administration (International Program) (Ph.D.) 1 2 4 1 3 - ระดับนานาชาติ International Level ระดับชาติ National Level โครงการ Program การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมของนักศึกษาระดับปริญญาโท Social Responsibility Activity by Postgraduate Students โครงการปริญญาโท สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Master of Science Program in Management Information Systems (MSMIS) โครงการปริญญาโทธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ Master of Science Program in Real Estate Business (MRE) 1 2 จ�ำนวน Amount โครงการ Program การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน และสันทนาการของนักศึกษาระดับปริญญาโท Academic and Recreational Activity for Postgraduate Students โครงการปริญญาโททางการบัญชี Master of Accounting Program (MAP) โครงการปริญญาโททางการเงิน หลักสูตรนานาชาติ Master of Science Program in Finance (International Program) (MIF) โครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ เน้นด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ Master of Business Administration Program (MBA-HRM) โครงการปริญญาโท สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Master of Science Program in Management Information Systems (MSMIS) โครงการปริญญาโทธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ Master of Science Program in Real Estate Business (MRE) โครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจ Master of Business Administration Program (MBA) โครงการปริญญาโทส�ำหรับผู้บริหาร Master of Business Administration Program in Global Business (XMBA) โครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสากล (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Business Administration Program in Global Business Management (International Program) (GEMBA) โครงการปริญญาโททางการตลาด (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Science Program in Marketing (International Program) (MIM) 6 3 1 5 11 8 5 2 4 จ�ำนวน Amount โครงการ Program PAGE41 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020


PAGE 44 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563 ประวัติความเป็นมา คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เดิมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเปิดสอนหลักสูตรการศึกษาเฉพาะวิชากฎหมาย เมื่อส�ำเร็จการศึกษาได้รับปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิตแล้วจึงแยก ออกไปศึกษาระดับปริญญาโทสาขาวิชาต่าง ๆ ในปี 2478 วิชาการบัญชีได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญ โดยเป็นวิชาหนึ่งในหลักสูตรปริญญาโททางเศรษฐศาสตร์และ มีหลวงด�ำริอิศรานุวรรตน์ เป็นผู้สอนในสมัยนั้นวิชาการบัญชียังไม่แพร่หลายยังมิได้มีการบันทึกบัญชีเป็นกิจจะลักษณะ ผู้มีความรู้ทางการบัญชีจริง ๆ มีน้อยมาก เพียง 3 - 4 คนเท่านั้น และหนึ่งในจ�ำนวนนั้นคือ หลวงด�ำริอิศรานุวรรตน์ ผู้มีบทบาทในการก่อตั้งและพัฒนาวิชาการบัญชี เป็นผู้ริเริ่มให้มีกฎหมายรับรองการจัดตั้ง สภาบัญชี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมวิชาชีพสอบบัญชี และเพื่อเป็นองค์กรให้รัฐบาลในการจัดด�ำเนินการทดสอบความช�ำนาญงานทางบัญชีเพื่อออกประกาศนียบัตรวิชาชีพ รับรองว่าผู้นั้นเป็นผู้ที่มีความรู้ทางการบัญชีดีพอที่จะเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตอิสระได้ แต่เนื่องจากรัฐบาลในสมัยนั้นพิจารณาเห็นว่ายังไม่สมควรที่จะจัดตั้งสภาบัญชี เนื่องจากผู้มีความรู้ทางบัญชีน้อยมาก จึงเห็นว่าควรจะส่งเสริมในการให้วิชาความรู้ ทางการบัญชีให้แพร่หลาย ดังนั้นหลวงด�ำริอิศรานุวรรตน์ จึงได้ขอให้รัฐบาลรับนโยบายอนุมัติให้มีการศึกษาวิชาการบัญชีที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง โดยระยะแรกได้ก่อตั้ง “แผนกวิชาการบัญชี” เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 จึงถือว่าคณะฯ ได้ใช้วันนี้เป็นวันสถาปนาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และได้มีการด�ำเนินการปรับปรุง หลักสูตรให้เทียบเท่ากับสถานการณ์ในปัจจุบัน ข้อมูลพื้นฐานคณะ ปี 2481 แผนกวิชาการบัญชี ได้เปิดสอนวิชาการบัญชีโดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร 1. หลักสูตร 3 ปี ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรทางการบัญชี ซึ่งเทียบเท่าระดับปริญญาตรี 2. หลักสูตร 5 ปี ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการบัญชี ซึ่งเทียบเท่าระดับปริญญาโท ปี 2492 หลังจากได้ด�ำเนินการสอนมา 10 ปี ได้ยกฐานะชื่อ “แผนกวิชาการบัญชี” เป็น “คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี” เพิ่มแผนกพาณิชยศาสตร์ หลักสูตรการศึกษา 4 ปี เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้วได้รับปริญญาตรีทางพาณิชยศาสตร์ ปี 2499 ยกเลิกการศึกษาแบบประกาศนียบัตรและจัดหลักสูตรการศึกษาใหม่เป็นแบบปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี ทั้งแผนกการบัญชีและพาณิชยศาสตร์ เปิดสอนระดับปริญญาโทภาคกลางวัน ปี 2505 แผนกพาณิชยศาสตร์ในระดับปริญญาตรีได้แบ่งออกเป็น 3 สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาการบริหารการเงินและการธนาคาร สาขาการตลาด และสาขาการบริหารทั่วไป ปี 2513 เปลี่ยนแปลงหลักสูตรระดับปริญญาตรีเป็นระบบหน่วยกิต เพื่อให้เป็นไปตามหลักสากล ปี 2515 ปรับปรุงโครงการปริญญาโทเป็นภาคค�่ำเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ ปริญญาโททางบริหารธุรกิจ (MBA) และปริญญาโททางการบัญชี (Ms in Accounting) ปี 2518 พัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรีของคณะฯ โดยแบ่งสาขาวิชาเอกเป็น 5 สาขาวิชา แผนกบัญชีมี 1 สาขาวิชา คือ สาขาการบัญชี แผนกพาณิชยศาสตร์ มี 4 สาขาวิชา คือ สาขาการเงิน สาขาการตลาด สาขาการบริหารบุคคล สาขาเทคนิคการบริหาร ปี 2521 เปิดหลักสูตรโครงการประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอบบัญชี ปี 2523 เปลี่ยนชื่อสาขาเทคนิคการบริหารเป็นสาขาบริหารอุตสาหการ ปี พ.ศ. เรื่อง


PAGE45 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020 ปี 2526 เปิดสาขาการพณิชยนาวีเพิ่มอีก 1 สาขาวิชาในแผนกพาณิชยศาสตร์ และหลักสูตรโครงการการตลาดภาคภาษาอังกฤษ (Master’s in Marketing English Language Certificate Programme: MIM) ซึ่งเป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ปี 2528 เปิดหลักสูตรโครงการปริญญาโทส�ำหรับผู้บริหาร ปี 2531 ปรับปรุงโครงการการตลาดภาคภาษาอังกฤษโดยเป็นหลักสูตรระดับปริญญาโททางการตลาด ซึ่งเป็นปริญญาโททางการตลาดแห่งแรก และแห่งเดียว ของประเทศไทยในขณะนั้น ปี 2533 ปรับปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตรบัญชีบัณฑิตและบริหารธุรกิจบัณฑิต เปลี่ยนชื่อปริญญาด้านพาณิชยศาสตรบัณฑิต (พณ.บ.) เป็นบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) และเปิดสาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เพิ่มอีก 1 สาขาวิชา เปลี่ยนแปลงวิธีการสอบคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี จากเดิมซึ่งเป็นการสอบคัดเลือกรวมเป็นแยกรับเข้าตามสายสอบโดยแบ่งออกเป็น 2 สาย คือ สายบัญชี และสายบริหารธุรกิจ ปี 2535 จัดตั้งโครงการปริญญาตรีบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) จัดตั้งโครงการร่วมผลิตบัณฑิตระดับปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ (The Joint Doctoral Program in Business Administration) โดยการลงนามความร่วมมือและประสานงานระหว่างสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดุษฎีบัณฑิตคนแรกของโครงการได้ส�ำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2539 ปี 2539 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการประเมินราคาทรัพย์สิน โครงการนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างกรมที่ดิน และคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลกและรัฐบาลออสเตรเลีย ต่อมาได้บรรจุหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรปริญญาโททางด้านการประเมินราคาทรัพย์สิน ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 โดยเริ่มเปิดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต ทางการประเมินราคาทรัพย์สิน เมื่อปีการศึกษา 2539 ปี 2540 ปรับปรุงหลักสูตร มีการปรับชื่อสาขาวิชา 2 สาขาวิชา และเพิ่มสาขาวิชา 1 สาขาวิชา รวมทั้งหมด 3 สาขาวิชา 1. สาขาวิชาการเงินและการธนาคารปรับเป็นสาขาวิชาการเงิน 2. สาขาวิชาบริหารอุตสาหการปรับเป็นสาขาวิชาบริหารอุตสาหการและปฏิบัติการ 3. สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2541 เปิดสอนปริญญาโททางวิชาชีพการบัญชี และปริญญาเอกทางการตลาดภาคภาษาอังกฤษ ปี 2543 เปิดสาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในระดับปริญญาตรี เปิดศูนย์ธรรมศาสตร์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และศูนย์บริหารธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม ปี 2544 เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโทธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2545 เปิดโครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจ เน้นการบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ ปี 2546 ปรับปรุงหลักสูตรโครงการปริญญาโททางการบัญชี โครงการปริญญาโททางวิชาชีพการบัญชี หลักสูตรนานาชาติ และโครงการปริญญาโททาง การบัญชี ส�ำหรับอาจารย์ผู้สอนวิชาบัญชีระดับอุดมศึกษา โดยปรับปรุงเป็นโครงการใหม่ชื่อว่า “โครงการปริญญาโททางการบัญชี” จัดการเรียนการสอน เป็น 2 ภาษา (Bilingual) และเปิดโครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ (สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ) หลักสูตรนานาชาติ ปี 2547 ปรับปรุงหลักสูตร มีการปรับชื่อสาขาวิชา 1 สาขาวิชา สาขาวิชาการบริหารการขนส่งระหว่างประเทศปรับเป็นสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง ปี พ.ศ. เรื่อง


PAGE 46 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563 ปี พ.ศ. เรื่อง ปี 2548 จัดตั้งศูนย์ให้ค�ำปรึกษา แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Business Competitiveness and Consulting Center) และศูนย์ทดสอบ ทักษะด้านการจัดการ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Scholarly Management Aptitude Requirement Test Center at Thammasat: SMART Center @ Thammasat) ปี 2549 เปิดหลักสูตรควบบัญชีบัณฑิตและมหาบัณฑิต (บูรณาการ) และหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต โดยจัดการเรียนการสอนชั้นปีที่ 1 - 5 ที่ท่าพระจันทร์ ปี 2551 คณะฯ ได้ปรับปรุงหลักสูตรปริญญาเอกทางการตลาด (Doctoral Program in Marketing) ซึ่งด�ำเนินการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ให้มีความ กว้างขวางครอบคลุมทางด้านการบริหารธุรกิจครบทุกแขนง เป็นหลักสูตรปริญญาเอกทางธุรกิจ (Doctoral Program in Business: DPB) ปี 2552 • ปรับปรุงหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ให้นักศึกษาสามารถเลือกจบ ด้วยวิชาเอกเดี่ยว (One major) หรือวิชาเอกเดี่ยวบวกวิชาโท (One major plus one minor) หรือวิชาเอกคู่ (Double major) ทั้งนี้ ไม่ว่านักศึกษาจะเลือกทางเลือกใดก็สามารถส�ำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลา 4 ปี การศึกษา นับเป็นหลักสูตรแรกในประเทศไทยที่เปิดโอกาสเส้นทางการศึกษาได้หลากหลาย • ปรับเปลี่ยนชื่อสาขาวิชา 1 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาบริหารอุตสาหกรรมและปฏิบัติการ เป็นสาขาบริหารการปฏิบัติการ ปี 2555 คณะฯ เป็นสถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจแห่งแรกในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาระดับโลก EQUIS (European Quality Improvement System) ซึ่งเป็นมาตรฐานคุณภาพทางการศึกษาด้านบริหารธุรกิจสูงสุดของ EFMD (European Foundation for Management Development) ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ปี 2556 • คณะฯ ปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรีทุกหลักสูตรเพื่อให้มีความทันสมัยมีความเป็นมาตรฐานโดยจัดท�ำในรูปแบบ มคอ.02 ประกอบด้วย หลักสูตรบัญชีบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตทั้งหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรภาษาอังกฤษ หลักสูตรควบบัญชีบัณฑิต (การบัญชีธุรกิจ แบบบูรณาการ) หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการธุรกิจแบบบูรณาการ) • ได้ปรับปรุงหลักสูตร Doctor of Business Administration (DBA) และ Doctoral Program in Business (DPB) เป็นหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ด้านบริหารธุรกิจ (Ph.D. in Business Administration) ปี 2557 • คณะฯ ได้รับการตอบรับให้เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานการศึกษา AACSB (The Association to Advance Collegiate School of Business) เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2557 ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปรับเปลี่ยนปฏิทินการศึกษาตามปฏิทิน ASEAN โดยเปิดภาคการศึกษาแรก ในเดือนสิงหาคม-ธันวาคม และภาคสองในเดือนมกราคม - พฤษภาคม ปี 2558 • คณะฯ ปรับปรุงหลักสูตรบัณฑิตและหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) โดยเพิ่มเงื่อนไขการศึกษาวิชาเอกคู่ (Double Major) เพื่อรองรับตลาดแรงงานที่มีความต้องการบัณฑิต ที่มีความรู้ความสามารถในหลาย ๆ ด้าน • ปรับปรุงหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรการตลาดมหาบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ • คณะฯ ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพ (Re - Accreditation) จาก EQUIS และได้รับการรับรองคุณภาพอย่างต่อเนื่องอีก 3 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2561


PAGE47 ANNUAL REPORT ACADEMIC YEAR 2020 ปี พ.ศ. เรื่อง ปี 2559 คณะฯ ได้รับเลือกจากสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาทางด้านธุรกิจ (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ให้เป็นหนึ่ง ในคณะบริหารธุรกิจชั้นน�ำของโลก ทั้งทางด้านวิชาการ ระบบการจัดการงานวิจัย และการพัฒนานวัตกรรม มาตรฐานการรับรองจาก AACSB เป็นการ รับรองที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากมีไม่ถึง 5% ของคณะบริหารธุรกิจทั่วโลกที่จะได้รับมาตรฐานนี้ การได้รับคัดเลือกจาก AACSB เป็นหนึ่ง ในความส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ธรรมศาสตร์ เพราะมีเพียง 4 มหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน ที่ได้รับคัดเลือกให้ผ่าน มาตรฐาน จากทั้ง AACSB และ EQUIS ในทุกระดับชั้นตั้งแต่ปริญญาตรี โท และเอก ปี 2560 เปิดหลักสูตรโครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสากล หลักสูตรนานาชาติ (GEMBA) ปี 2561 • คณะฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาระดับโลกจาก AMBA (Association of MBAs) องค์กรรับรองคุณภาพระดับสากล จากสหราชอาณาจักร สาหรับหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา (MBA) ท ํ าให้คณะฯ เป็นสถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ ที่บรรลุสถานะ 3 มงกุฎ (Triple Crown) ํ แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย โดยเป็นสถาบันการศึกษาที่ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาระดับนานาชาติอย่างครบถ้วนจาก 3 สถาบันหลัก ด้านการบริหารธุรกิจของโลกคือ AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business) จากสหรัฐอเมริกา EQUIS (EFMD Quality Improvement System) จากสหภาพยุโรป และ AMBA (Association of MBAs) จากสหราชอาณาจักร ด้วยเกณฑ์การประเมินที่แตกต่างกัน และมีกติกาที่เข้มงวดอย่างยิ่ง จากสถิติพบว่ามีมหาวิทยาลัยจํานวนน้อยกว่า 1% ของมหาวิทยาลัยในโลกนี้ที่ได้รับการรับรอง ซึ่งสถาบัน การศึกษาด้านบริหารธุรกิจจานวน 13,670 แห่งทั่วโลก มีเพียง 90 แห่งเท่านั้น ที่ผ่านการรับรองครบทั้ง 3 มาตรฐานดังกล่าว ํ • คณะฯ ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพ (Re - Accreditation) จาก EQUIS และได้รับการรับรองคุณภาพอย่างต่อเนื่องอีก 3 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2564 • ปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี จํานวน 6 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 3. หลักสูตรควบบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีธุรกิจแบบบูรณาการ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 4. หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจแบบบูรณาการ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 5. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 6. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) • ปรับปรุงหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จ�ำนวน 4 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 2. หลักสูตรควบวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีและการบริหารการเงิน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 3. หลักสูตรควบวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการตลาด (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) 4. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) ปี 2562 ปรับปรุงหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จ�ำนวน 3 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) ปี 2563 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ได้มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับการจัดอันดับ QS World University Rankings: Global MBA Rankings 2021 จากสถาบันการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก QS Quacquarelli Symonds limited ในด้าน Return on Investment อันดับ 1 ของเอเซีย


PAGE 48 รายงานประจำปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2563 หนวยบร�การว�ชาการ Academic Service Division IBMP เลขาภาค/สาขาว�ชา Secretary of Department/Major Ph.D. บัณฑิตศึกษา Graduate Studiesหนวยบัณฑิตศึกษา Graduate Studies Division CONC TCTC BBA MBA MRE MIM MSMIS MIF MAP GEMBA หนวยกิจการนักศึกษา และใหคำปร�กษาทางว�ชาชีพ Student Affairs and Career Counseling Division แทน สายบังคับบัญชา/สั่งการ Is the chain of command/command แทน สายงานที่ปร�กษาหร�อสายประสานงาน Is the advisor or coordination ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนบุคลากรในสังกัดนั้น ๆ ------ ( ) TBS Academy โครงสรางการบร�หารงานคณะพาณิชยฯ ประจำป 2563 Management Structure of Thammasat Business School 2020 รองคณบดี ฝายว�ชาการ Associate Dean for Academic รองคณบดี ฝายว�จัยและ ว�เทศสัมพันธ Associate Dean for Research and International Affairs ผูชวยคณบดี ฝายการนักศึกษา Assistant Dean for Education ผูชวยคณบดี ฝายว�ชาการ Assistant Dean for Academic ผูอำนวยการ โครงการ/หลักสูตร Director of Program งานบร�การว�ชาการและการนักศึกษา Academic and Students Service Department โครงการบร�การสังคม Social Service Center


Click to View FlipBook Version