The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุดประจำตัวผู้ป่วย IMC

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookaiptcu, 2021-09-01 10:48:54

สมุดประจำตัวผู้ป่วย IMC

สมุดประจำตัวผู้ป่วย IMC

Keywords: สมุดประจำตัวผู้ป่วย IMC

สมุดประจำตวั INTERMEDIATE
CARE
ผูป้ ่ วยระยะกงึ่ เฉียบพลนั

ชอ่ื ................................................................... 1
HN……………………………………..……………………
เบอรโ์ ทรศพั ท.์ .................................................

งานกายภาพบำบดั
โรงพยาบาลถลาง จังหวดั ภเู ก็ต

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง

ข้อมลู ผูป้ ่วย

ชื่อผู้ปว่ ย............................................................................. อายุ..................... ปี
เลขประจำตัวประชาชน......................................................................................
โรคประจำตัว......................................................................................................
วันทแี่ สดงอาการของโรค.............................วันแรกรับบริการ ...........................
วนิ ิจฉยั โรค  STROKE

 Traumatic Brain injury
 Spinal Cord Injury
ทอ่ี ยู่ บ้านเลขท.่ี ............ ซอย........................ ถนน.............................................
หมู.่ .............. ตำบล.......................... อำเภอ ถลาง จงั หวัด ภเู กต็
ผู้ดแู ลหลกั ................................................... ความสมั พันธ์กบั ผู้ป่วย...................

เปา้ หมายของผปู้ ่วย
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................

เป้าหมายของญาติ
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 2

ตารางนัดหมาย

วนั เดือนปีที่นดั รายการนัด ผนู้ ัด สถานที่นดั

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 3

แบบประเมินความสามารถในการประกอบกจิ วตั รประจำวนั ประเมินโดยแพทย,์ พยาบาล, นักกายภาพบำบัด

1.รบั ประทาน กจิ วตั รประจำวัน คะแนน _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_
อาหาร ไมส่ ามารถตักอาหารเขา้ ปากได้ 0
2.ลา้ งหนา้ หวี ตักอาหารเองได้ แตต่ อ้ งมีคนช่วย 1
ผม แปรงฟัน รบั ประทานอาหารไดเ้ อง 2
3.ลุกนง่ั จากท่ี ต้องการความชว่ ยเหลือ 0
นอนหรอื จาก ทำไดเ้ อง 1
เตียงไปยังเกา้ อี้
ต้องใชค้ นช่วยยกขึน้ 0
4.การใช้ห้องนำ้ ตอ้ งการความชว่ ยเหลืออย่างมาก 1
ต้องการความช่วยเหลอื บ้าง 2
5.การเคลอ่ื นท่ี ทำได้เอง 3
ภายในหอ้ งหรือ ชว่ ยตัวเองไม่ได้ 0
บ้าน ทำเองไดบ้ า้ ง 1
ทำได้เอง 2
6.การสวมใส่ เคล่อื นท่ีไปไหนไม่ได้ 0
เส้ือผา้ ใช้รถเขน็ เองได้ 1
เดนิ หรือเคลอื่ นทโ่ี ดยมีคนช่วย 2
7.การขน้ึ ลง เดนิ หรอื เคลือ่ นที่ได้เอง 3
บันได 1 ชนั้ ทำเองไมไ่ ด้ 0
ช่วยตวั เองได้ประมาณรอ้ ยละ 50 1
8.การอาบน้ำ ทำไดเ้ อง 2
ไมส่ ามารถทำได้ 0
9.การถ่าย ตอ้ งการคนชว่ ย 1
อุจจาระ ขึ้นลงได้เอง 2
ต้องมีคนชว่ ยหรอื ทำให้ 0
10.การปสั สาวะ อาบน้ำได้เอง 1
กลนั้ ไมไ่ ด้ หรือต้องสวนอจุ จาระ 0
กลั้นไมไ่ ดบ้ างคร้งั 1
กลั้นไดเ้ ป็นปกติ 2
กล้ันไมไ่ ด้/ใสส่ ายสวนปสั สาวะ 0
กล้นั ไมไ่ ดบ้ างครั้ง 1
กลน้ั ไดเ้ ปน็ ปกติ 2

รวมคะแนน

ผูป้ ระเมิน

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 4

_/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_ _/_/_

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 5

แบบบนั ทึกการใหบ้ ริการ บนั ทึกโดยแพทย์, พยาบาล, นกั กายภาพบำบัด, ผู้ตดิ ตามต่อเน่อื ง, อสม.

วัน เดือน ปี บนั ทกึ การให้บริการ/ความก้าวหนา้ การรกั ษา/ประเมนิ ผล ผู้ให้บริการ หมายเหตุ

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 6

แบบบนั ทึกการใหบ้ ริการ บนั ทึกโดยแพทย์, พยาบาล, นักกายภาพบำบดั , ผู้ตดิ ตามต่อเน่อื ง, อสม.

วัน เดือน ปี บนั ทกึ การให้บริการ/ความก้าวหนา้ การรกั ษา/ประเมนิ ผล ผู้ให้บริการ หมายเหตุ

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 7

แบบบนั ทึกการใหบ้ ริการ บนั ทึกโดยแพทย์, พยาบาล, นกั กายภาพบำบัด, ผู้ตดิ ตามต่อเน่อื ง, อสม.

วัน เดือน ปี บนั ทกึ การให้บริการ/ความก้าวหนา้ การรกั ษา/ประเมนิ ผล ผู้ให้บริการ หมายเหตุ

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 8

แบบบันทึกการใหบ้ ริการ บนั ทึกโดยแพทย์, พยาบาล, นกั กายภาพบำบัด, ผู้ตดิ ตามต่อเน่อื ง, อสม.

วัน เดือน ปี บนั ทกึ การให้บรกิ าร/ความก้าวหนา้ การรกั ษา/ประเมนิ ผล ผู้ให้บริการ หมายเหตุ

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 9

โรคอมั พฤกษ์-อมั พาต เป็นโรคทท่ี ำใหผ้ ปู้ ่วยเกิดความพิการแขนขาอ่อนแรง
ช่วยเหลือตนเองไดน้ อ้ ยลงหรอื ไม่ไดเ้ ลย

อัมพาต ➔ อาการออ่ นแรงแบบถาวร ไม่มกี ารฟ้ืนตัว
อัมพฤกษ์ อาจพบอาการเกร็งร่วมด้วย

➔ อาการออ่ นแรงช่ัวคราว มกี ารฟน้ื ตวั บางส่วน

อัมพาตครงึ่ ซีก
ผปู้ ว่ ยมอี าการอ่อนแรงของแขน

ขา ด้านใดดา้ นหนึง่ มสี าเหตุมาจากโรค
หลอดเลือดสมอง หรอื อุบัตเิ หตุทกี่ ระทบ
กระเทอื นสมอง

อัมพาตคร่งึ ท่อน/อัมพาตทัง้ ตัว
ผปู้ ว่ ยมีอาการอ่อนแรงของขาท้งั สองข้าง

(อัมพาตครึ่งท่อน) หรือมีอาการอ่อนแรงของ
แขนและขาทง้ั หมด (อมั พาตทัง้ ตวั ) มสี าเหตุมา
จากการบาดเจ็บของไขสันหลัง จากอุบัติเหตุ
เช่น ตกจากที่สูง ถูกยิง ถูกแทง อุบัติเหตุทาง
ถนน เป็นต้น หรือ เกิดจากรอยโรคที่เกิดในไข
สันหลัง เช่น การติดเชื้อในไขสันหลัง เนื้องอก
ในไขสันหลัง เปน็ ต้น

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 10

การดแู ลผปู้ ่วยในระยะอ่อนแรง

ปัญหาที่พบได้มากในระยะแรกคือ ผู้ป่วยอ่อนแรง ไม่สามารถขยับแขนขา
หรือช่วยเหลือตัวเองได้ จึงเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา เช่น เกิดการยึดติดของข้อ
กล้ามเนอื้ หดเกร็ง มีความตึงตัวของกล้ามเนอื้ ผิดปกติ แผลกดทบั เปน็ ตน้

ปญั หาเหลา่ น้ปี อ้ งกนั ได้ หากมีการดูแลตั้งแตเ่ รม่ิ ต้น

การปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อน

การจดั ท่านอน

การจัดทา่ ในการนอน มีจดุ ประสงคเ์ พื่อ
 ป้องกันแผลกดทบั
 ป้องกันขอ้ ตดิ
 กล้ามเน้ือและเอ็นหดตวั
 ปอ้ งกันการเกรง็ ตวั ของกล้ามเนือ้ ทีเ่ กดิ การเกร็งมากกวา่ ปกติ
 กระตุน้ ให้กล้ามเน้อื มีการฟื้นตัวไดเ้ ร็วข้ึน

วดิ ิโอการจัดท่า โดยคณะแพทยศาสตร์ 11
มหาวิทยาลัยขอนแกน่

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง

การจัดท่านอนหงาย

 นอนศีรษะสงู 0-30 องศา ศีรษะและลำตวั อยู่ในแนวตรง
 หมอนรองใต้หัวไหล่ข้างท่อี ่อนแรง แขนเหยียดสบายวางข้างลำตัว
 ข้อมอื ตรงควำ่ มือหรอื หงายมอื ก็ได้ น้ิวมือเหยียดออก
 ขาเหยียดตรง มีผา้ ขนหนูรองใต้เข่า ใหเ้ ข่างอเลก็ นอ้ ย
 ปลายเท้าควรใช้ผ้าขนหนูเล็กๆหรือถุงมือใส่น้ำรองด้านข้างของข้อเท้า

เพือ่ ใหเ้ ทา้ ต้ังตรง กนั แผลกดทบั ท่ตี าตุ่ม

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 12

การจดั ทา่ นอนตะแคงทับขา้ งทด่ี ี

 ศรี ษะโน้มไปทางด้านหน้าเล็กนอ้ ย
 แขนของผู้ป่วยข้างที่อ่อนแรง ควรมีหมอนรองใต้แขนตั้งแต่ต้นแขนจนถึง

ปลายแขน โดยแขนของผู้ป่วยย่ืนไปขา้ งหน้า
 ข้อศอกเหยยี ด ข้อมอื ตรง นิ้วมือเหยยี ดออก
 สะโพกและเข่าข้างที่อ่อนแรงมีหมอนรองตั้งแต่สะโพกถึงปลายเท้าจัดให้

ข้อสะโพกและเขา่ งอประมาณ 30 องศา ข้อเทา้ อยู่ในท่าปกติ

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 13

ทา่ นอนตะแคงทับขา้ งทีอ่ อ่ นแรง

 ศรี ษะโน้มไปทางดา้ นหน้าเล็กน้อย
 สะโพกและเข่าข้างดี มีหมอนรองตั้งแต่

สะโพกถงึ ปลายเท้า
 แขนข้างที่อ่อนแรงยื่นมาข้างหน้า ข้อศอก

ตรง หงายมือ
 ขาขา้ งทีอ่ อ่ นแรง เหยยี ดขา เข่างอเล็กนอ้ ย

ข้อเทา้ อยู่ในท่าปกติ

 ศีรษะและลำตัวอยู่ในแนวตรง ใช้หมอน ท่านัง่ บนเตยี ง
รองบริเวณหลัง
14
 แขนเหยียดสบายวางข้างลำตัว ใช้หมอน
รองแขน

 ข้อมอื ตรงคว่ำมอื หรอื หงายมอื กไ็ ด้ น้วิ มือ
เหยยี ดออก

 ขาเหยียดตรง มีผ้าขนหนูรองใต้เข่า ให้
เขา่ งอเลก็ นอ้ ย

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง

การเคลอ่ื นไหวข้อตอ่ โดยญาติ และผดู้ แู ล

ให้ญาติ หรือผู้ดูแลออกกำลังกายให้กับ

ผปู้ ่วยควรทำทา่ ละ 10-20 คร้งั โดยทำการเคลอ่ื นไหว

อย่างช้าๆ นิ่มนวล โดยทำการเคลื่อนไหวสุดช่วงการ

เคลื่อนไหวในแต่ละท่า สังเกตสีหน้า หรือสอบถาม

อาการปวดจากผู้ป่วย เพราะอาการปวดอาจทำให้

ผูป้ ว่ ยเกร็งต้านได้ วิดิโอการการเคล่อื นไหวข้อต่อโดย
ผู้ดแู ล โดยโรงพยาบาลนา่ น

ยกแขนข้ึน-ลง

กางแขน

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 15

หมนุ แขน งอ-เหยยี ดขอ้ ศอก

ควำ่ หงายมือ เหยยี ดนิว้ มอื

งอ-เหยยี ดขอ้ มือ

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 16

ยดื กล้ามเนือ้ น่อง
ยกขาตรง
กาง-หบุ ขา

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 17

งอเขา่ งอสะโพก
หมุนสะโพก
ยดื ลำตัว

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 18

การรักษาสขุ อนามยั ปากและฟนั

ในผู้ป่วยอัมพาตซึ่งมีภูมิต้านทานต่ำ

อยู่แล้ว หากทำความสะอาดช่องปากไม่ดี

อาจเป็นเหตุให้มีเชื้อแบคทีเรีย และมีเชื้อรา วดิ ิโอการดแู ลช่องปากและฟัน
โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
สะสม หากมีการสูดหรือสำลัก อาจเสี่ยงต่อ

การเกดิ ปอดติดเชอ้ื ได้

ข้นั ตอนการทำความสะอาดชอ่ งปาก

o ปรบั ให้ผู้ป่วยน่ัง 30-45 องศา กรณนี งั่ ไม่ไดใ้ ห้ผปู้ ว่ ยนอนตะแคงเพอื่ ปอ้ งกัน

การสำลัก และควรแจ้งผปู้ ่วยให้ทราบว่ากำลงั จะแปรงฟนั

o เชด็ ริมฝปี ากให้ชุ่มชื้น แลว้ ใชผ้ า้ สะอาดชุบนำ้ พันนวิ้ กวาดเศษอาหารที่

กระพ้งุ แก้มออก

o เอาแปรงสฟี นั จมุ่ น้ำใหเ้ ปยี ก แล้วบบี ยาสีฟันท่ีมีฟลอู อไรด์ใสแ่ ปรงสีฟัน

o เริ่มแปรง โดยขยบั แปรงสฟี นั ส้ันๆแปรงให้ทว่ั ทกุ ด้านทุกซ่ี เร่มิ แปรงจากด้าน

ในกอ่ นแล้วแปรงไล่มาด้านนอก

o ล้างแปรงใหส้ ะอาดแล้วแปรงลน้ิ โดยแปรงจากดา้ นในออกดา้ นนอก

o ใช้แปรงกระจุกเดยี วทำความสะอาดบริเวณคอฟันในฟันซเ่ี ด่ยี ว ฟนั ทต่ี ดิ

ช่องวา่ ง โดยวางแปรงใหป้ ลายขนแปรงติดขอบเหงือก ขยบั แปรงสน้ั ๆตาม

แนวคอฟนั ใหร้ อบซฟ่ี ัน

o ใชแ้ ปรงซอกฟันทำความสะอาดชอ่ งวา่ งระหวา่ งซ่ีฟัน โดยสอดแปรงเข้าไปใน

ซอกฟัน ให้ขนแปรงแนบกับตวั ฟันและชิดขอบเหงือก จากนน้ั ขยับเข้าออก

o ใช้ผา้ สะอาดชุบน้ำพันน้วิ เชด็ ฟองยาสฟี นั ออกให้หมด

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 19

การดูแลระบบหายใจ

ผปู้ ่วยอมั พาต เม่ือต้องนอนอย่บู นเตียงนานๆ จะทำใหก้ ารขยายตัวของทรวง
อกลดลง ปอดขยายได้ไม่เต็มที่ มีเสมหะคั่งค้าง การเปลี่ยนท่าทางช่วยป้องกันได้
หมนั่ เปลย่ี นทา่ ทางทุก 2 ช่วั โมง ฝึกการหายใจท่ีถกู ต้อง หากมีเสมหะค่งั ค้าง ใช้การ
เคาะปอด การสั่นสะเทือนปอด การไออย่างถูกวิธีเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยระบายเสมหะ
ออกมาได้

ข้นั ตอนการเคาะปอด
o ทำมือเป็นอุง้ เหมือนรูปถว้ ย เพื่อให้เกดิ อากาศภายในอุง้ มือ
o ควรมผี า้ รองบนผนังทรวงอกเพอื่ ปอ้ งกันการบาดเจบ็
o ใช้มอื ทั้ง 2 ข้าง เคาะเปน็ จงั หวะสลับกันเป็นจังหวะที่สม่ำเสมอ

อตั ราการเคาะประมาณ 3-7 ครั้ง/วินาที เสียงทเ่ี คาะควรเป็นเสียงทกี่ ังวาน
และโปร่ง
o ทิศทางในการเคาะ ควรเป็นวงกลมหรอื เคลอ่ื นไปมา
o ใช้เวลาเคาะติดต่อกนั นาน 2-5 นาที ต่อทา่
o เวลาทคี่ วรเคาะ คือ กอ่ นรับประทานอาหารหรอื หลังรับประทานอาหารแลว้
อย่างนอ้ ย 2 ชว่ั โมง

ลักษณะมือทใ่ี ชเ้ คาะปอด

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 20

ขอ้ ห้ามในการเคาะปอด
▪ มภี าวะเลอื ดออกงา่ ย หรอื กำลงั ไดร้ ับยาทมี่ ีความเสีย่ งเลอื ดออกง่าย
▪ มอี าการบาดเจ็บท่ีไขสนั หลงั เฉยี บพลัน
▪ ซีโ่ ครงหกั หรอื มภี าวะที่มีความเส่ียงกระดกู หักง่าย
▪ มบี าดแผลจากการปลกู ถ่ายผวิ หนงั (skin graft) หรอื แผลไฟไหม้
▪ มีการสดู สำลกั สงิ่ แปลกปลอมเขา้ ไป
▪ มีภาวะสัญญาณชพี ไมค่ งท่ี
▪ มีลมในช่องเยอ่ื หมุ้ ปอดทยี่ ังไมไ่ ด้รับการระบายออก

(untreated pneumothorax)
▪ มกี ารอักเสบเฉียบพลันของระบบทางเดนิ หายใจ

(acute inflammatory pulmonary process)
▪ มีการติดเชอื้ วัณโรค หรือฝีในปอด

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 21

การดูแลการขับถา่ ยปสั สาวะ

ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการถ่ายปัสสาวะ ไม่สามารถควบคุมการขับถ่าย ยังมี
ปัสสาวะคั่งคา้ งในกระเพาะปัสสาวะ เนื่องจากถ่ายออกไม่หมด จะทำให้เกิดการติด
เชอ้ื ในระบบทางเดนิ ปสั สาวะได้ง่ายข้นึ
การดูแล

o ควบคมุ การด่ืมนำ้ 2 ลติ รต่อวนั เพอื่ ระบายสง่ิ ท่ตี กคา้ ง และทำให้ปสั สาวะใส
ข้ึน

o ฝึกขมิบฝเี ย็บ โดยการเกร็งกล้ามเน้ือหนา้ ทอ้ งและรอบทวารหนกั 1-4 ครงั้
แล้วคลายออก ทำซ้ำประมาณ 10 – 20 ครั้ง วันละหลายๆ ครง้ั เพอื่ ชว่ ยให้
กล้ามเนอื้ แข็งแรง

o ใสผ่ า้ อ้อม เลอื กขนาดใหพ้ อเหมาะกับผู้ป่วย เปลี่ยนทุกครงั้ ท่ีปสั สาวะ และ
ทำความสะอาดบรเิ วณอวัยวะขบั ถ่าย เช็ดให้แหง้ เสมอ

o การใสส่ ายสวนปัสสาวะ ตอ้ งหมนั่ รักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะขับถา่ ย
อย่เู สมอ เพอ่ื ป้องกันการตดิ เช้ือ คอยดแู ลสายปัสสาวะไม่ใหอ้ ดุ ตันหรอื หกั งอ
เพ่อื ให้ปัสสาวะไหลได้สะดวก ตดิ เทปตรึงสายปสั สาวะ เก็บถุงปสั สาวะใหต้ ำ่
กวา่ กระเพาะปัสสาวะ เพ่อื ป้องกนั การไหลย้อนกลับ

วดิ โิ อการดแู ลผปู้ ่วยใสส่ ายสวนปัสสาวะ 22
โดย โรงพยาบาลปทมุ ธานี

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง

การดแู ลการขับถา่ ยอุจจาระ

ในผู้ป่วยอัมพาตพบปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ เนื่องจากไม่สามารถควบคุม
การขับถ่ายได้ ยังมีปัญหาท้องผูก อุจจาระคั่งค้างอยู่ในลำไส้ อุจจาระแข็ง ปัญหา
ดงั กลา่ วเปน็ ปัญหาที่สร้างความวิตกกังวลให้กับผ้ปู ว่ ยมาก

การดแู ล
o กนิ อาหารทีม่ กี ากใยมาก เชน่ ผกั ผลไม้
o ดื่มน้ำอย่างเพยี งพอ วนั ละ 6 - 8 แกว้ จะช่วยให้การขบั ถ่ายเป็นปกติ
o ออกกำลังกาย โดยฝกึ เกร็งกล้ามเน้อื หนา้ ท้องให้แขง็ แรง เพ่ือช่วยในการเบง่

ถา่ ย
o จัดห้องส้วมให้เหมาะกบั ผ้ปู ่วย มรี าวในการช่วยยดึ เกาะ เพ่อื ป้องกันอบุ ตั เิ หตุ
o ฝกึ ควบคมุ การถา่ ยอุจจาระให้เป็นเวลา
o ให้ยาระบายในตอนเช้า
o ใหผ้ ู้ดแู ลช่วยลว้ งอุจจาระในกรณที อี่ ุจจาระแขง็ เปน็ ก้อน

วิดิโอการฝกึ ขบั ถ่ายอุจจาระ 23
โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง

การดแู ลผปู้ ว่ ยในระยะฟืน้ ตัว

หลังผู้ป่วยกลุ่มโรคทางสมองผ่านช่วงวิกฤติ ระยะเวลาที่ได้ผลดีในการฟื้นฟู
สมองและร่างกาย (Golden Period) คือ ไม่เกิน 3 – 6 เดือนแรกหลังเกิดภาวะ
หลอดเลือดสมองตีบหรือแตก เพราะสมองสามารถฝึกและพัฒนาได้ดีที่สุดหาก
ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง สมองจะฟื้นตัวไวและสามารถแสดงศักยภาพที่
เหลืออยู่ได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามหากผ่าน 6 เดือนไปแล้ว แม้สมองจะมีอัตรา
การพัฒนาที่น้อยลง แต่ก็ยังสามารถพัฒนาต่อไปได้เรื่อย ๆ ถ้าได้รับการฝึกอย่าง
ตอ่ เนื่อง

สำหรับการฟื้นตัวของไขสันหลังหากได้รับการกระทบกระเทือนไม่มาก
หน้าท่ีของมันจงึ อาจจะฟ้ืน ได้บางสว่ น ถา้ มสี ภาพชำ้ บวม หน้าทข่ี องมนั อาจจะฟ้ืน
คืนไม่หมด ถ้ามีสภาพช้ำมากถึงขาด หน้าที่ก็อาจไม่กลับฟื้นมาอีกเลย ส่วนไขสัน
หลงั ทย่ี ังดนี น้ั ใชเ้ วลาต้งั แต่ 3 เดอื น ถึง 2 ปี ฉะนน้ั ไมส่ ามารถบอกไดว้ ่า ผู้ใดจะฟ้ืน
ตัวได้ขนาดไหน และใช้เวลาเท่าใด ฉะนั้นการรอคอยเป็นสิ่งสำคัญ แต่ให้คิดว่าเรา
ทำปจั จุบนั ให้ดีท่ีสดุ เป็นพอ

วดิ โิ อการออกกำลงั เพิม่ ความแข็งแรงด้วยตัวเอง วดิ ิโอการทำกิจกรรมบำบัด แขน-มอื
โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยโรงพยาบาลวชิระภเู กต็

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 24

การออกกำลังกายในผปู้ ่วยระยะฟ้ืนฟู

การออกกำลังกายในผู้ป่วยระยะฟื้นฟู เป็นการกระตุ้นให้ผู้ป่วยเกิดการ
เคลื่อนไหว กระตุ้นการรับความรู้สึกของข้อต่อ ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อ โดยให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ พยายามออกกำลังในด้านที่อ่อน
แรงใหไ้ ด้มากทส่ี ดุ เท่าทีท่ ำได้ โดยใช้ดา้ นปกติคอยช่วย หรือประคองไว้ ทำทา่ ละ
10-20 คร้ัง

***หากมีอาการหนา้ มืด เวียนศีรษะ มไี ข้ ใหง้ ดออกกำลังกายไปก่อน***

การออกกำลังกายของแขน กางแขน

ยกแขนขน้ึ -ลง

หมนุ แขน งอศอก

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 25

คว่ำ-หงายมือ

กระดกขอ้ มือขน้ึ -ลง งอ-เหยียดนว้ิ มือ

การออกกำลังกายของขา

งอสะโพก

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 26

งอเขา่ งอสะโพก กาง-หุบ ขา

กดเข่า ชันเขา่ ยกก้น
น่งั เตะขา กระดกข้อเทา้ ขนึ้ -ลง

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 27

การลุกขน้ึ น่ังจากเตยี ง

การลกุ ข้ึนนั่งจากเตยี งผู้ปว่ ยอมั พาตคร่งึ ซกี

 พลกิ ตะแคงตวั
 งอเข่า งอสะโพกให้พ้นขอบเตียง
 ใชแ้ ขนยันตวั ลุกข้นึ น่งั

การลุกขึน้ นงั่ จากเตียงในผูป้ ว่ ยอัมพาตคร่งึ ทอ่ น

 นอนหงาย แขนแนบข้างลำตวั
 งอศอกยนั ตัว ยกศรี ษะและไหล่ขึ้น คอ่ ยๆยกลำตัวให้ต้งั ตรง โดยการ

สลับลงน้ำหนักแขนแตล่ ะข้าง พร้อมกบั เล่ือนแขนขน้ึ จากนั้นเหยยี ด
ศอกตรง ใช้แขนทง้ั สองขา้ งชว่ ยยนั ลำตัว

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 28

การเคลอื่ นยา้ ยผปู้ ่วย

การเคลอ่ื นยา้ ยตัวผู้ป่วยอมั พาตครง่ึ ซกี

การเคลอื่ นย้ายตัวจากเตียงไปรถเข็น การเคล่ือนย้ายตัวจากเตียงไปรถเข็น
 ผ้ปู ่วยลุกนัง่ หอ้ ยขาข้างเตยี ง ให้

รถเข็นตัง้ อย่ทู างดา้ นแข็งแรงของ
ผู้ปว่ ย ลอ็ คลอ้ ให้เรยี บร้อย
 ผปู้ ่วยใชม้ ือข้างแขง็ แรงจบั ที่วาง
แขนของรถเขน็ จากนั้นโนม้ ตัวลกุ
ข้นึ ยนื หมนุ ลำตวั ลงนั่งบนรถเข็น

การเคลอื่ นย้ายตวั จากรถเขน็ ไปเตยี ง

 ใหร้ ถเขน็ ตั้งอยทู่ างดา้ นแขง็ แรงของ
ผู้ป่วย ลอ็ คลอ้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย

 ผูป้ ่วยใช้มอื ขา้ งแข็งแรงจับเตยี ง
จากน้นั โน้มตัวลุกข้ึนยืน หมนุ ลำตัว
ลงน่ังบนเตียง

การเคลอื่ นย้ายตวั จากรถเข็นไปเตียง

วิดิโอการฝึกผ้ปู ว่ ยอมั พาตครึง่ ซีกใหเ้ คลื่อนย้าย วิดิโอการเคลือ่ นย้ายตวั ผู้ปว่ ยครง่ึ ท่อน
โดยสาขากายภาพบำบัด ภาควชิ าเวชศาสตรฟ์ ื้นฟู โดยสาขากายภาพบำบดั ภาควชิ าเวชศาสตร์ฟื้นฟู

คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 29

การเคลือ่ นย้ายผปู้ ว่ ย

การเคลือ่ นยา้ ยตวั ผูป้ ว่ ยอัมพาตคร่ึงทอ่ นขึ้น-ลงจากเตยี งไปรถเข็น

วิธที ่ี 1
 จอดรถเข็นทำมุมกบั เตียงเล็กน้อย ลอ็ คล้อให้

เรยี บรอ้ ย

กรณีย้ายจากเตยี งไปยังรถเขน็
 ออกแรงเหยยี ดแขนยกดนั ตัวเลอื่ นจากเตยี งไป

ยงั รถเข็น
 จากน้ันใชแ้ ขนเกย่ี วขาทลี ะขา้ งลง วางบนทวี่ าง

เทา้ ของรถเขน็

กรณยี า้ ยจากรถเข็นไปยังเตียง วธิ ีที่ 1
 ออกแรงเหยียดแขนดนั ยกตวั เล่อื นจากรถเข็น

ไปยังเตยี ง
 จากนนั้ ใชแ้ ขนเก่ยี วขาทีละข้างขึ้นวางบนเตยี ง

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง 30

การเคลือ่ นยา้ ยผูป้ ว่ ย

การเคลอื่ นย้ายตวั ผู้ป่วยอมั พาตครึ่งท่อนขึน้ -ลงจากเตียงไปรถเขน็

วิธที ี่ 2
กรณียา้ ยจากเตยี งไปยังรถเข็น
 จอดรถเข็นบนหัวเตยี ง ล็อคล้อใหเ้ รยี บรอ้ ย
 ออกแรงเหยียดแขนดนั ยกตวั เลื่อนไปทางดา้ นหลังลงไปยังรถเขน็
 เลื่อนรถเข็นถอยหลัง จากนัน้ คอ่ ยๆใชแ้ ขนเกยี่ วขาทีละขา้ งลง วางบนท่ีวาง

เท้าของรถเขน็

กรณีย้ายจากเตียงไปยังรถเข็น
 ให้เลอื่ นรถเข็นเขา้ ใกลห้ วั เตียง จากน้นั ใชแ้ ขนเกยี่ วขาทลี ะขา้ งขึ้นวางบนเตยี ง
 เล่ือนรถเขน็ เขา้ ใกลเ้ ตียง
 ใช้แขนทั้งสองข้างยกตวั ออกแรงเหยียดแขนดันตัวเลื่อนไปทางดา้ นหน้าลงไป

ยงั เตยี ง

งานกายภาพบำบดั โรงพยาบาลถลาง 31

งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลถลาง
อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

เปดิ ใหบ้ รกิ าร จันทร์ -ศกุ ร์ เวลา 08.30 - 16.30 น.
โทร 076-311033 ตอ่ 237


Click to View FlipBook Version