The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายละเอียดวิชา ปี1เทอม1-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongnoot_sen, 2022-07-12 03:15:45

รายละเอียดวิชา

รายละเอียดวิชา ปี1เทอม1-2565

มหาวิทยาลัยวงษช วลิตกลุ มคอ. 3

รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยวงษช วลติ กลุ
วทิ ยาเขต /คณะ /ภาควชิ า คณะสถาปต ยกรรมศาสตร

หมวดที่ 1 ขอมูลโดยทวั่ ไป
1. รหัสและชื่อรายวชิ า

71612102 การนำเสนอแบบทางสถาปตยกรรม 1 (Architectural Presentation 1)
2. จำนวนหนวยกิต

2 หนวยกิต 2 (1-3-2)
3. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา

หลกั สูตรสถาปตยกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาสถาปต ยกรรมศาสตร
ประเภท หมวดวชิ า เฉพาะ กลุม รายวิชา พน้ื ฐาน
4. อาจารยผรู ับผดิ ชอบรายวิชาและอาจารยผสู อน
: อาจารยเปาลนิ เวชกามา Email: [email protected]
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปท เี่ รยี น
ภาคการศกึ ษาที่ 1 / ปการศกึ ษา 2565 / ช้ันปที่ 1
6. รายวิชาที่ตอ งเรยี นมากอ น (Pre-requisites) (ถา ม)ี
-
7. รายวชิ าที่ตอ งเรียนพรอ มกัน (Co-requisites) (ถา มี)
-
8. สถานทีเ่ รยี น วนั และเวลาเรียน
หอ งปฏิบตั กิ ารทางสถาปตยกรรม 3404 วันศุกร เวลา 13.00-17.00น.

9. วนั ทจ่ี ัดทำหรอื ปรับปรุงรายละเอยี ดของรายวชิ าครง้ั ลาสดุ
3 พฤษภาคม พ.ศ.2565

หมวดท่ี 2 จุดมงุ หมายและวตั ถปุ ระสงค
1. จดุ มงุ หมายของรายวิชา (Learning Objectives)

เพ่อื ใหนักศกึ ษาเขาใจหลกั พื้นฐานและเทคนคิ วิธีการเขยี นภาพดว ยมือ รูจกั วัสดุอุปกรณและวธิ กี ารใชงานในการเขียนภาพ
ศกึ ษาหลักการจดั องคประกอบภาพ หลักการเขยี นทัศนยี ภาพเบือ้ งตน (Perspective) ปฏบิ ตั ิการเขยี นภาพรปู ทรงเรขาคณติ
(Geometry Form) รปู ทรงตางๆในธรรมชาติ ปฏบิ ตั ิการเขยี นภาพและการนำเสนอแบบทางสถาปตยกรรมเบือ้ งตน

1.1 จุดมุง หมาย หรอื วัตถุประสงคของหมวดวชิ าเฉพาะวชิ าชพี (Behavioral Objectives)
ดา นทฤษฎี (Theory)
1) ผเู รยี นสามารถเขา ใจหลักการและเทคนคิ การเขียนภาพดว ยมือ
2) ผูเรยี นสามารถเขา ใจเกีย่ วกับวสั ดุ และวธิ ีการใชงานในการเขียนภาพดว ยมอื

3) ผูเรยี นสามารถทราบถงึ วิธีการในการจัดองคป ระกอบภาพของการนำเสนอแบบทางสถาปต ยกรรม
4) ผเู รยี นสามารถเขา ใจหลกั การในการเขียนทศั นยี ภาพเบ้ืองตน

5) ผเู รยี นสามารถเขา ใจหลกั การเขยี นรูปทรงเรขาคณติ รูปทรงตางๆในธรรมชาติ
ดา นปฏบิ ตั ิ (Practice)

1) ผูเ รยี นสามารถนำเสนอแบบทางสถาปตยกรรมเบือ้ งตน ไดอยางถูกตอง มีองคประกอบภาพทส่ี มบูรณ

2) ผูเรยี นสามารถนำเสนอแบบทัศนยี ภาพ 1 จุด ,2 จุด และรปู ทรงเรขาคณติ ไดอยางถกู ตองตามหลกั การ
3) ผเู รยี นสามารถวาดรูปทรงตางๆในธรรมชาติ เชน คน รถ ตน ไม ไดอ ยา งสวยงาม
4) ผูเ รียนสามารถเขา ใจหลักการเขียนภาพเงาตกทอดและเงาสะทอ นไดอยา งถกู ตอ ง

2. วตั ถปุ ระสงคในการพัฒนา /ปรบั ปรงุ รายวิชา
เพ่ือพฒั นาปรับปรุงใหมีความทันสมยั สอดคลองกบั สถานการณหรอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ การพฒั นาทางสงั คมและ

วฒั นธรรม ความตอ งการของวงการวชิ าชีพสถาปตยกรรม ระเบยี บและขอบังคบั ของสภาสถาปนิก พันธกจิ ของมหาวิทยาลัยวงษ
ชวลติ กุลและเปนไปตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2552

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1.คำอธิบายรายวิชา

เรียนรูหลักการพื้นฐานและเทคนิควิธีการเขียนภาพดวยมือ วัสดุอุปกรณและวิธีการใชงานในการเขียนภาพ หลักการจัด

องคประกอบภาพ ปฏิบัติการเขียนรูปทรงเรขาคณิต (Geometry Form) รูปทรงตางๆในธรรมชาติ หลักการเขียนทัศนียภาพ

(Perspective) ปฏิบัตกิ ารเขียนภาพ และการนำเสนอแบบทางสถาปตยกรรมเบ้อื งตน

2. จำนวนช่ัวโมงทใ่ี ช/ภาคการศกึ ษา (Hours / Semester)

หนว ยกิต บรรยาย สอนเสรมิ การฝก ปฏิบตั /ิ การศกึ ษาดว ยตนเอง
งานภาคสนาม/ฝก งาน

2 (1-3-2) 15 ช่ัวโมง สอนเสรมิ ตามความ การฝกปฏบิ ัติ 45 ชม./ภาค 30 ช่วั โมง
ตอ ภาคการศึกษา ตอ งการของ  งานภาคสนาม......ชม./ภาค ตอภาคการศกึ ษา
 การฝก งาน ........ชม./ภาค
นกั ศกึ ษาเฉพาะราย

หมวดที่ 4 การพฒั นาการเรยี นรูของนกั ศกึ ษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
(1) มีคณุ ธรรม จริยธรรม เสียสละ ซอ่ื สตั ยส ุจรติ
(2) เคารพและปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บขององคกรและสังคม
(3) มีวนิ ยั ตรงตอ เวลา

1.1 กลยทุ ธการสอนท่ใี ชพ ฒั นา
1) สอดแทรกเรือ่ งคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเสยี สละ ความซอื่ สัตยสุจริต ตลอดจนจรรยาบรรณทาง
วชิ าการและวิชาชพี ในกจิ กรรมการเรยี นการสอน
2) จดั กิจกรรมการทำงานเปน กลุมในกิจกรรมการเรียนการสอน
3) แจงกฎระเบยี บและขอ บงั คบั ตางๆ ของมหาวทิ ยาลัย และทำขอ ตกลงในการเรยี นใหนกั ศกึ ษารับทราบ
กอนการเรยี นโดยเฉพาะการเขาชนั้ เรยี น

2

1.2 กลยุทธก ารประเมนิ ผลกการเรียนรู
1) ประเมินจากความเสยี สละในการทำงานเปนกลมุ และความซ่อื สัตยส ุจรติ ในการทำกิจกรรมการเรยี น
การสอนและการสอบ
2) ประเมินจากความรับผดิ ชอบในหนาท่ีทีไ่ ดร ับมอบหมาย
3) ประเมินจากความสมำ่ เสมอในการเขาชนั้ เรียน การสงงาน และการมีสว นรวมกับกจิ กรรมในชัน้ เรียน

2. ความรู
(1) มีความรแู ละความเขา ใจหลักการและทฤษฎที ส่ี ำคัญในเน้ือหาสาขาวิชาชีพ
(2) มีความรใู นสาขาวิชาชพี ทเ่ี กี่ยวเนอื่ งและศาสตรอน่ื ๆทเ่ี กยี่ วของ

2.1 กลยทุ ธการสอนท่ใี ชพัฒนา
1) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในหลากหลายรปู แบบ โดยเนน หลักการและทฤษฎีทสี่ ำคญั ท้ังภาคทฤษฎี
และภาคปฏิบตั ิ เพื่อใหเ กิดความเชย่ี วชาญ
2) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบบรู ณาการใหเ ขากบั สถานการณปจ จุบนั และรายวชิ าท่ีเกยี่ วของ

2.2 กลยทุ ธก ารประเมนิ ผลกการเรยี นรู
1) ประเมินจากผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามวัตถปุ ระสงคก ารเรยี นรูของแตละรายวิชาท้ัง
ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ เชน การทดสอบยอย การสอบปลายภาค การนำเสนอราย หรอื ผลงาน
ภาคปฏิบตั ิ เปนตน

3. ทกั ษะทางปญญา
(1) มีทกั ษะเรอ่ื งมิตสิ มั พันธ สามารถเขา ใจทว่ี า งและรูปทรง และสุนทรยี ภาพ
(2) มที กั ษะในการคน ควา และจำแนกขอ มลู ท้งั จากเอกสาร หนังสือตำราและเทคโนโลยสี าสนเทศ
(3) มที กั ษะในการวเิ คราะหและสงั เคราะหขอ มูล ใชค วามรู แนวคดิ และทฤษฎีตา งๆมาแกไ ขปญหาในการ
ออกแบบสถาปตยกรรม
(4) มีทักษะการบรหิ ารจดั การ
(5) สามารถบูรณาการความรทู ห่ี ลากหลายเพอ่ื สรางนวัตกรรมอาคารและสง่ิ แวดลอ ม
3.1 กลยทุ ธการสอนทใี่ ชพฒั นา
1) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนบูรณาการกับสถานการณปจ จุบนั และรายวิชาทเี่ กย่ี วขอ ง
2) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพ่ือใหความรดู า นการบรหิ ารจดั การโดยผูประกอบการทม่ี ีความรูความ
เช่ียวชาญ
3) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทส่ี นนั สนุนใหม ีการบรู ณาการความรูขา มสาขาวิชาเพ่อื ใหเ กดิ ความคดิ
สรางสรรค
3.2 กลยทุ ธการประเมนิ ผลกการเรยี นรู
1) ประเมนิ จากผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามวัตถุประสงคการเรยี นรขู องแตละรายวิชาทง้ั
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เชน การทดสอบยอย การสอบปลายภาค การนำเสนอราย หรอื ผลงาน
ภาคปฏิบตั ิ เปนตน

4. ดา นทักษะความสมั พนั ธระหวางบุคคลและความรับผดิ ชอบ
(1) มีภาวะผนู ำ และเปนผตู ามทด่ี ี มีความสามารถในการทำงานเปน หมคู ณะ
(2) มคี วามรับผิดชอบในหนาทข่ี องตวั เอง

3

4.1 กลยุทธก ารสอนทใ่ี ชพัฒนา
1) จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนใหมกี ารทำงานเปนกลมุ การทำงานทตี่ องประสานงานกับผอู ื่น หรอื ตอ ง
คนควาหาขอ มลู จากการสัมภาษณบคุ คลอื่น หรือผมู ปี ระสบการณ
2) จัดใหมกี ารอภิปรายและเปลย่ี นความรูและความคดิ เหน็ ในกจิ กรรมการเรยี นการสอน เพ่อื เปดโอกาสให
นกั ศกึ ษานำเสนอแนวคิดของตนเอง และรับฟงความคดิ เห็นของผอู น่ื
3) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนภายนอกสถานที่

4.2 กลยุทธก ารประเมินผลกการเรียนรู
1) ประเมนิ จากพฤติกรรมและการแสดงออกของนกั ศึกษาในการนำเสนอรายงานและผลงานของการทำงาน

รวมกบั ผูอ ืน่ การแสดงความคิดเหน็ และการเขารว มกิจกรรมตางๆ
5. ทกั ษะการวิเคราะหเ ชงิ ตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) มีทักษะการสื่อสาร สามารถถายทอดความรแู ละนำเสนอผลงานใหผ อู ่ืนเขาใจได
(2) มีทกั ษะการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลขเพอื่ แกไขปญ หาทเี่ กี่ยวของในการปฏบิ ตั ิวชิ าชีพ
(3) สามารถประยกุ ตใชเทคโนโลยสารสนเทศในการปฏบิ ัติวชิ าชพี
5.1 กลยุทธการสอนทีใ่ ชพฒั นา

1) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหน กั ศกึ ษาไดฝ กทักษะการสอื่ สารและการเลือกใชเทคนคิ ในการสือ่ สาร
ประเภทตา งๆเพอ่ื การนำเสนอผลงาน

2) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหนกั ศกึ ษาไดฝ กทักษะการวิเคราะหเชิงตวั เลข
3) จดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหน กั ศกึ ษาไดฝ ท่ีเกี่ยวขอ งกทักษะการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
4)
5.2 กลยุทธก ารประเมินผลกการเรียนรู
1) ประเมินจากความสามารถในการนำเสนอผลงาน การสือ่ สาร การเลอื กใชเทคนคิ การส่ือสาร และ

เทคโนโลยที ี่เกี่ยวขอ ง
2) ประเมินจากความสามารถในการวเิ คราะหเ ชิงตวั เลขเพอ่ื แกไขปญหาตา งๆ
3) ประเมนิ จากเหตุผลในการเลอื กใชเ ทคนิคการส่อื สาร และเทคโนโลยีสารสรเทศทเ่ี ก่ียวของ

4

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล

1.แผนการสอน

สัปดาห หัวขอ/รายละเอยี ด จำนวน กจิ กรรมการเรียนการสอน อาจารย สอ่ื การเรยี นการ
ช่ัวโมง ผสู อน สอน
หลัก
1 1. ความสำคญั ของรายวชิ า และ 4 1. การอธิบายถึงความสำคญั ของ อ.เปาลนิ -เอกสาร
ประมวลรายวิชา
ความสมั พันธก ับวชิ าอื่นๆ รายวชิ า และความสมั พันธกบั วชิ าอื่นๆ อ.เปาลนิ -อปุ กรณที่ใชใน
การเรยี นและ
2. สงั เขปรายวิชา ลกั ษณะรายวิชา วิธีการ เชน ความสำคัญของการเรยี นวิชาการ การเขียนภาพ

เรียนการสอน การวดั ผลและการ นำเสนอแบบทางสถาปต ยกรรมกบั การ - Ms
PowerPoint
ประเมินผล หนงั สือตำรา และเอกสาร นำไปใช ประโยชนใ นการเรยี นและการ - เอกสาร
ตัวอยา งงาน
ประกอบการสอน วสั ดอุ ปุ กรณท ใ่ี ชในการ ประกอบวชิ าชพี - เอกสารใบงาน

เรยี นการสอน 2. ชแี้ จงรายละเอยี ดการเรียน ปฏทิ นิ

3. แนะนำอปุ กรณตา งๆทใ่ี ชใ นการเขียน การศึกษา วัสดุอุปกรณทใี่ ชในการเรยี น

ภาพดวยมือ การสอน และเปดโอกาสใหนกั ศึกษา

4. กิจกรรมเสรมิ รายวชิ า (แบบทดสอบ ซักถามและแสดงความคิดเหน็ ถงึ ความ

กอ นเรยี น) ตอ งการและความเหมาะสมในการเรียน

3. การจัดกจิ กรรมเสรมิ เน้อื หา เพอ่ื ให

นักศกึ ษาไดเ ตรียมความพรอมกอ นเรยี น

และกจิ กรรมที่มปี ฏิสมั พันธตอ กันใน

ระหวางเรยี น

2 1. หลักพื้นฐานในการเขียนภาพเบ้ืองตน 4 1. บรรยายทฤษฎีประกอบการใชสอ่ื การ

2. การเขียนเสน เบื้องตน เสน ตรง เสน โคง สอน ภาพน่ิง ภาพเคลอ่ื นไหว วัสดแุ ละ

เสน หยัก ฯลฯ อปุ กรณก ารเรยี น และตวั อยางการเขียน

ปฏบิ ตั ิการในหอ งเรยี น เสนในงานสถาปตยกรรม

- ปฏิบัตกิ ารเขยี นเสน เบอื้ งตนภายใน 2. สาธติ ทดลองเขียน ประกอบเน้ือหา

หอ งเรยี น ทฤษฎีการเขียนเสนเบื้องตน

- มอบหมายงานเรือ่ งการผสมเสนเปน 3. มอบหมายงานเรือ่ งการเขยี นเสน

ภาพ เบ้อื งตน

4. มอบหมายงานเร่อื งการผสมเสน เปน

ภาพ เพือ่ การทดลองเขยี นและฝกฝน

ฝมือ

3 1. การเขียนรูปทรงเรขาคณิต เชน 4 1. ทบทวนเนื้อหา และทบทวนความรู อ.เปาลนิ - Ms

ลูกบาศก ทรงกลม กรวย ทรงกระบอก จากครง้ั ที่ผา นมา PowerPoint

ฯลฯ 2. บรรยายทฤษฎีประกอบการใชสอ่ื การ - เอกสาร

ปฏิบัติการในหอ งเรียน สอน ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว วสั ดแุ ละ ตัวอยางงาน

- ปฏิบัติการเขียนรูปทรงเรขาคณิต อปุ กรณก ารเรียน และตัวอยางการเขียน - เอกสารใบงาน

ตามแบบท่ีกำหนดให รูปทรงเรขาคณติ

3. สาธติ ทดลองเขยี น ประกอบเนือ้ หา

ทฤษฎกี ารเขียนรปู ทรงเรขาคณิต

4. ปฏิบตั กิ ารเขยี นรปู ทรงเรขาคณติ ใน

ชวี ติ ประจำวนั

5. มอบหมายงานเรื่องการเขียนรปู ทรง

เรขาคณิต เพอื่ การทดลองเขยี นและ

ฝกฝนฝมอื

4 1. หลกั การของแสงและเงา 4 1. ทบทวนเน้ือหา และทบทวนความรู อ.เปาลนิ -

2. ปฏิบตั กิ ารเขยี นรปู จากวตั ถสุ ิง่ ของ โดย จากครั้งทผี่ านมา ภาพเคล่ือนไหว

การใหแ สดงแสงและเงาตามความเปนจริง 2. บรรยายทฤษฎปี ระกอบการใชส อ่ื การ - เอกสาร

ปฏบิ ตั ิการในหอ งเรยี น สอน ภาพนงิ่ ภาพเคล่อื นไหว วสั ดุและ ตัวอยา งงาน

- ปฏิบตั กิ ารเขยี นรูปทรงที่แสดงแสง อปุ กรณก ารเรยี น และตัวอยางการเขยี น - เอกสารใบงาน

และเงา ตามแบบท่กี ำหนดให รูปทรงทมี่ แี สงและเงา

3. สาธติ ทดลองเขยี น ประกอบเน้อื หา

ทฤษฎกี ารเขียนภาพในบรรยากาศตางๆ

4. ปฏบิ ัติการเขยี นรปู ทรงท่ีแสดงแสง

และเงา

5. มอบหมายงานเรือ่ งการเขยี นรปู ทรงท่ี

แสดงแสงและเงา เพอื่ การทดลองเขยี น

และฝก ฝนฝม อื

5 ทดสอบระหวา งเรยี นความเขาใจ และ 4 สอบปฏบิ ัตกิ ารในหองเรยี น อ.เปาลนิ - เอกสารการ

ทักษะฝม อื สอบ

6

6 1. หลกั การเขยี นภาพคน ขนาด สดั สว น 4 1. ทบทวนเน้ือหา และทบทวนความรู อ.เปาลนิ - เอกสาร
มนุษยในอิรยิ าบถตางๆ เพือ่ ใชป ระกอบ
ทัศนียภาพในงานสถาปตยกรรม จากคร้งั ที่ผา นมา ตัวอยา งงาน
ปฏบิ ตั ิการในหอ งเรียน
- ปฏิบตั ิการเขยี นภาพคนในงาน 2. บรรยายทฤษฎปี ระกอบการใชส ่อื การ - เอกสารใบงาน
สถาปตยกรรม ตามแบบทก่ี ำหนดให
สอน ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหว วสั ดแุ ละ
7 1. หลักการเขียนภาพตน ไม เพื่อใชในการ
ตกแตงทัศนยี ภาพภายในและภายนอก อปุ กรณก ารเรยี น และตัวอยา งการเขยี น
ปฏบิ ตั กิ ารในหองเรยี น
- ปฏิบัตกิ ารเขียนภาพตน ไม แปลน ภาพคนในอิรยิ าบทตางๆ
ตน ไม ประกอบแบบและทศั นียภาพใน
สถาปตยกรรม ตามแบบที่กำหนดให 3. สาธติ ทดลองเขยี น ประกอบเนื้อหา

ทฤษฎกี ารเขียนภาพคนในงาน

สถาปตยกรรม

4. ปฏบิ ตั กิ ารเขยี นภาพคน

5. มอบหมายงานเรอื่ งการเขยี นภาพคน

ในอิริยาบทตางๆ

4 1. ทบทวนเนอ้ื หา และทบทวนความรู อ.เปาลนิ - เอกสาร

จากครัง้ ทีผ่ า นมา ตัวอยา งงาน

2. บรรยายทฤษฎีประกอบการใชสื่อการ - เอกสารใบงาน

สอน ภาพนงิ่ ภาพเคล่ือนไหว วัสดุและ - ฝก ปฏบิ ัตินอก

อุปกรณการเรียน และตวั อยา งการเขยี น สถานที่

ภาพตนไม เพ่ือใชใ นการตกแตง

ทัศนียภาพภายในและภายนอก

3. สาธิต ทดลองเขยี น ประกอบเน้ือหา

ทฤษฎีการเขียนภาพตน ไมใ นงาน

สถาปตยกรรม

4. ปฏิบตั ิการเขยี นภาพตน ไม แปลน

ตน ไม

5. มอบหมายงานเรอ่ื งการเขยี นภาพ

ตนไมในบรรยากาศตางๆ

7

8 1. หลักการเขียนภาพรถและยานพาหนะ 4 1. ทบทวนเน้ือหา และทบทวนความรู อ.เปาลิน - เอกสาร
เพอ่ื ใชใ นการตกแตงทศั นียภาพภายใน
และภายนอก จากครง้ั ทีผ่ า นมา ตัวอยา งงาน
ปฏิบัติการในหองเรียน
- ปฏบิ ัติการเขยี นภาพรถและยานพาหนะ 2. บรรยายทฤษฎีประกอบการใชส ่อื การ - เอกสารใบงาน
ประกอบแบบและทัศนยี ภาพใน
สถาปตยกรรม ตามแบบท่กี ำหนดให สอน ภาพนิง่ ภาพเคล่อื นไหว วัสดแุ ละ - ฝกปฏิบัตนิ อก

9 ปฏิบัติการในหอ งเรียน อุปกรณก ารเรยี น และตัวอยางการเขียน สถานที่
1. หลกั การจดั องคป ระกอบภาพ
2. การเขียนภาพลายเสน ในงาน ภาพรถและยานพาหนะ เพือ่ ใชในการ
สถาปตยกรรม คน รถ ตน ไม
ปฏบิ ัติการนอกหองเรียน ตกแตงทัศนียภาพภายในและภายนอก
1. ปฏิบตั ิการเขยี นภาพลายเสนในงาน
สถาปตยกรรม คน รถ ตน ไม ตาม 3. สาธิต ทดลองเขยี น ประกอบเนื้อหา
บรรยากาศตา งๆ
ทฤษฎกี ารเขียนภาพรถและยานพาหนะ

ในงานสถาปตยกรรม

4. ปฏิบตั กิ ารเขยี นภาพรถและ

ยานพาหนะ

5. มอบหมายงานเรื่องการเขียนภาพรถ

และยานพาหนะ ในบรรยากาศตา งๆ

4 1. บรรยายทฤษฎปี ระกอบการใชส่ือการ อ.เปาลิน - เอกสาร

สอน ภาพนิง่ ภาพเคลอ่ื นไหว วัสดุและ ตัวอยา งงาน

อปุ กรณก ารเรยี น และตัวอยา งหลกั การ - เอกสารใบงาน

จดั องคประกอบภาพ

3. สาธิต ทดลองเขียน ประกอบเน้ือหา

ทฤษฎีการเขียนภาพและการจดั

องคป ระกอบภาพ

4. ปฏิบัติการเขยี นภาพและฝกการจดั

องคป ระกอบภาพใหส มบรู ณ ท่ปี ระกอบ

ไปดวย คน รถ ตน ไม โดยใหเลอื ก

มุมมองที่นา สนใจ

5. มอบหมายงานเรื่องการเขียนภาพ

และฝกการจดั องคประกอบภาพ

8

10 1. หลักการและขนั้ ตอนการเขยี นแบบ 4 1. บรรยายทฤษฎปี ระกอบการใชส ือ่ การ อ.เปาลนิ -

ทัศนยี ภาพ 1 จดุ (One point สอน ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว วัสดุและ ภาพเคลอื่ นไหว

Perspective) มุมมองภายในและ อุปกรณการเรยี น และตวั อยางหลกั การ - เอกสาร

ภายนอกอาคาร เขยี นทัศนยี ภาพมมุ มองภายในและ ตัวอยางงาน

ปฏบิ ตั ิการในหองเรยี น และนอก ภายนอกอาคาร - เอกสารใบงาน

หอ งเรียน 2. สาธติ ทดลองเขยี น ประกอบเนอ้ื หา

- ปฏิบัติการเขียนแบบทศั นยี ภาพ 1 ทฤษฎีการเขียนทศั นียภาพทาง

จดุ (One point Perspective) สถาปตยกรรม

3. มอบหมายงาน เร่อื งการเขียนแบบ

ทศั นียภาพ 1 จุด (One point

Perspective) มุมมองจากภายในอาคาร

(Interior perspective)

11 ทดสอบความเขาใจ และทกั ษะฝม ือ 4 ปฏิบัตกิ าร นอกสถานที่ อ.เปาลิน - เอกสารใบงาน

ทัศนยี ภาพ 1 จุด

12 1. หลกั การและข้นั ตอนการเขยี นแบบ 4 1. บรรยายทฤษฎีประกอบการใชส ื่อการ อ.เปาลนิ -

ทัศนียภาพ 2 จดุ (Two point สอน ภาพน่งิ ภาพเคล่ือนไหว วสั ดแุ ละ ภาพเคล่อื นไหว

Perspective) มมุ มองภายนอกอาคาร อปุ กรณการเรยี น และตวั อยา งหลกั การ - เอกสาร

เขยี นทศั นียภาพมมุ มองภายนอกอาคาร ตวั อยา งงาน

2. สาธติ ทดลองเขียน ประกอบเน้อื หา

ทฤษฎกี ารเขียนทศั นยี ภาพทาง

สถาปตยกรรม

13 ปฏบิ ัตกิ ารในหองเรยี น และนอกหอ งเรียน 1. มอบหมายงาน เรอื่ งการเขียนแบบ - เอกสารใบงาน

- ปฏิบตั กิ ารเขยี นแบบทัศนียภาพ 2 ทศั นียภาพ 2 จุด (Two point

จุด (Two point Perspective) Perspective) มมุ มองจากภายนอก

อาคาร (Exterior perspective)

14 ทดสอบความเขาใจ และทักษะฝมอื 4 ปฏิบัติการ นอกสถานท่ี อ.เปาลิน

ทศั นยี ภาพ 2 จุด

15 1. หลกั การเขียนเงาตกทอดและเงา 4 1. บรรยายทฤษฎปี ระกอบการใชส่ือการ อ.เปาลนิ -

สะทอนนำ้ ฝก สังเกตและการเขียนเงาของ สอน ภาพนิง่ ภาพเคลอ่ื นไหว วสั ดุและ ภาพเคลอ่ื นไหว

อาคาร อปุ กรณก ารเรยี น และตัวอยา งหลกั การ - เอกสาร

ปฏบิ ัตกิ ารนอกหองเรียน เขียนภาพและเงา ตัวอยา งงาน

- ปฏิบตั ิการเขยี นภาพและเงา ตามแบบ 2. สาธิต ทดลองเขยี น ประกอบเนอ้ื หา - เอกสารใบงาน

ท่กี ำหนด ทฤษฎีการเขียน

3. มอบหมายงาน เรือ่ งการเขยี นเงาตก

ทอดและเงาสะทอ นนำ้

16 สอบปลายภาคเรียน 4 สอบปฏบิ ัตกิ ารในหองเรยี น อ.เปาลิน - เอกสารการ

ทดสอบความเขา ใจ และทกั ษะฝม อื สอบ

9

2. แผนการประเมินผลการเรยี นรู
รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู

กิจกรรมท่ี ผลการ วธิ กี ารประเมินผลการเรียนรู สปั ดาหท ่ี สดั สว นของการ
เรยี นรู ประเมิน ประเมินผล
1. ดา น
คุณธรรม º 1.1 1. ประเมนิ จากความเสยี สละในการทำงานเปน กลมุ 1-15 ความสมำ่ เสมอใน
จรยิ ธรรม º 1.2
• 1.3 และความซือ่ สตั ยส จุ ริตในการทำกจิ กรรมการเรียนการ การเขา เรียน 5%

สอนและการสอบ

2. ประเมนิ จากความรบั ผดิ ชอบในหนาที่ทไ่ี ดร ับ

มอบหมาย

3. ประเมินจากความสมำ่ เสมอในการเขาชน้ั เรยี น การ

สงงาน และการมสี ว นรว มกับกิจกรรมในชั้นเรยี น

4. ประเมินจากการเขา รวมกิจกรรมการเรยี นการสอน

กบั กิจกรรมการอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติและ

สง่ิ แวดลอ ม การบริการวชิ าการแกสงั คมและการทำนุ

บำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม

2. ดานความรู • 2.1 1. ประเมินผลจากการปฏิบตั ิงานดวยวิธกี ารท่ี 2-15 (ประเมนิ แบบทดสอบระหวาง
º 2.2
หลากหลายรูปแบบจนเกิดเชย่ี วชาญ และการเขาใจ จากผลงาน) เรียน 30%

หลกั การและทฤษฏีเปน สำคญั

3. ทกั ษะทาง • 3.1 1. ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม 2-15 (ประเมิน เก็บคะแนนจาก
ปญ ญา º 3.2
º 3.3 วัตถุประสงคก ารเรียนรขู องแตล ะรายวิชา ท้งั ภาคทฤษฎี จากผลงาน) ผลงาน 60%
º 3.4
และภาคปฏิบตั ิ เชน การสอบยอย การสอบปลายภาค 1-15 (การมสี วน

การนำเสนอรายงานหรือผลงานภาคปฏบิ ัติ รวมและทำ

กจิ กรรมในการ

เรยี น)

4. ความสัมพันธ º 4.1 1. ประเมินจากพฤตกิ รรมและการแสดงออกของ 1-15 (ความ การมสี วนรวมใน
ระหวา งบุคคล º 4.2
นกั ศกึ ษาในการนำเสนอผลงาน การทำงานรว มกบั ผอู ื่น รับผิดชอบตอ กิจกรรม 2.5%
และความ
รับผดิ ชอบ การแสดงความคดิ เหน็ และการมสี วนรวมในกจิ กรรม สว นรวม)

1-15 (การเขา

เรียน)

5. ทักษะการ º 5.1 1. ประเมนิ จากความสามารถในการนำเสนอผลงาน การ 2-15 การนำเสนอผลงาน
วิเคราะหเ ชงิ º 5.2
ตวั เลข การ • 5.3 ส่ือสาร การเลอื กใชเทคนิคการสือ่ สาร และการใช และการสือ่ สาร

ส่ือสารและการ เทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี กยี่ วขอ ง 2.5%
ใชเ ทคโนโลยี
2. ประเมินจากความสามารถในการวเิ คราะหเชงิ ตวั เลข

เพอื่ การแกไขปญหาตา งๆ

3. ประเมินจากเหตผุ ลในการเลอื กใชเทคนคิ วธิ ีการ

สอ่ื สาร และการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศทีเ่ กยี่ วของ

10

สดั สวนการคดิ คะแนน 100 %

1. ผลงานตลอดภาคการศึกษา 60 %
30 %
- แบบฝกหัด 12 ใบงาน
10 %
2. การสอบ

- เอกสารการสอบ 2 ครง้ั

- ทดสอบความเขาใจ ทกั ษะฝม อื และการตดั สินใจ

3. คะแนนจิตพิสยั

- ความตรงตอ เวลา - การเขาชน้ั เรียน

- การเขา รวมกจิ กรรม - การแสดงความคดิ เหน็

- การนำเสนอผลงาน

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอน

เอกสาร และหนังสอื ประกอบการสอน
- การ เรยโนลดส . พรเี ซนเทชัน่ เซน. พิมพค ร้งั ท่ี 1. กรุงเทพฯ, สำนกั พิมพขวญั ขาว’๙๔, 2553
- ชวลิต ดาบแกว . การเขียนภาพ Perspective (ทศั นวิทยา). กรุงเทพฯ, 2542.
- นภดล เนตรด.ี เทคนคิ การระบายสนี ำ้ ธรรมชาติ ทวิ ทัศน และดอกไม. กรงุ เทพฯ, วาดศิลป, 2553.

- โนรโิ ยชิ ฮาเซงาวา . สเกต็ ชอยา งไร ชนะใจลกู คา . กรุงเทพฯ, 2556.
- วัชรี วัชรสนิ ธ.ุ เทคนคิ การเขียนภาพลายเสน ในงานสถาปต ยกรรม. กรุงเทพฯ, 2550.
- สรุ วงศ หาทรพั ย. การเขียนทศั นยี ภาพ Perspective Training. กรุงเทพฯ, 2553.

- นธิ ิ สถาปตานนท. ลายเสน RENDERINGS IN INK AND PERSPECTIVE. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ หงจฬุ าลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั , 2532.
- บรรจงศักดิ์ พมิ พทอง. กลา วาด. สำนกั พมิ พแ หงจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2554.
- ARCHITECTURAL DRAWING /TOM PORTER.
- THE ART OF WATER COLOR /CHARLES LE CLAIR.
- SKETCHIG AND RENDERING FOR DESIGN PRESENTATION /JANET SHEN AN THEODORE D WALKER.
- PENCIL SKETCHING /THOMAS C.WANG.

หมวดที่ 7 การประเมินและปรบั ปรุงการดำเนนิ การของรายวิชา

1. กลยทุ ธก ารประเมนิ ประสิทธผิ ลของรายวิชาโดยนกั ศึกษา
- แบบประเมินผสู อนและแบบประเมนิ รายวิชา
- ขอเสนอแนะผานส่ือออนไลนร ะหวางผสู อนและผูเรียน
- ขอมลู จากการสนทนาและสอบถามระหวางผสู อนและผเู รยี น

2. กลยุทธก ารประเมินการสอน (วิธีการประเมนิ ทจ่ี ะไดขอมลู การสอน เชน จากผสู งั เกตการณ ทมี ผูส อน หรือผลการเรียนของ
นกั ศกึ ษา)

- การสงั เกตการสอนของผูส งั เกตการณ เชน คณาจารยภายในคณะวิชา
- การประเมนิ ผลจากการสงั เกตพฤติกรรมการเรียนและความเขา ใจของนกั ศึกษา
- ผลการเรยี นของนักศึกษา

11

3. การปรบั ปรงุ การสอน (กลไกและวิธีการปรบั ปรุงการสอน เชน คณะ/ภาควชิ ามีการกำหนดกลไกและวิธกี ารปรบั ปรงุ การ
สอน การประชุมเพือ่ พัฒนาการเรยี นการสอน)

- การประชมุ คณะวิชาและผสู อน เพื่อรวมกันหาแนวทาง หรอื วางแผนการปรับปรุงการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนกั ศกึ ษาในรายวชิ า (กระบวนการท่ีใชในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ อง
นกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรูข องรายวิชา เชน ทวนสอบจากคะแนนขอ สอบ หรอื งานที่มอบหมาย)

- การตั้งคณะกรรมการวิชาการในสาขาวชิ า ตรวจสอบการประเมนิ การเรยี นรูของนกั ศกึ ษา โดยตรวจสอบขอ สอบ ผลการให
คะแนน และวธิ ีการใหคะแนน
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสิทธิผลของรายวชิ า (กระบวนการในการนำขอมลู ท่ไี ดจากการ
ประเมินจากขอ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรบั ปรงุ คุณภาพ)

- การปรับปรุงวิธกี ารสอน และการใหคะแนนรายวชิ าในทกุ ๆปก ารศกึ ษา ตามขอ เสนอแนะ และผลการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั ศึกษาในรายวชิ า ตามขอ 4

12

13

มหาวิทยาลยั วงษชวลิตกุล มคอ.
3

รายละเอยี ดของรายวิชา
ช่ือสถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยวงษช วลติ กลุ
วิทยาเขต /คณะ /ภาควชิ า คณะสถาปต ยกรรมศาสตร

หมวดท่ี 1 ขอ มลู โดยทั่วไป
1. รหสั และชอ่ื รายวิชา

71611201 การออกแบบเบ้ืองตน (Basic Design)
2. จำนวนหนวยกิต

3 หนว ยกติ 3 (1-6-2)
3. หลกั สูตรและประเภทของรายวชิ า

หลกั สูตรสถาปตยกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาสถาปต ยกรรมศาสตร
ประเภท หมวดวชิ า เฉพาะ กลุมรายวิชา พ้นื ฐาน
4. อาจารยผรู บั ผิดชอบรายวชิ าและอาจารยผสู อน
อาจารยเ ปาลนิ เวชกามา Email: [email protected]
5. ภาคการศกึ ษา/ชัน้ ปท เี่ รยี น
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 / ปการศกึ ษา 2565 / ชั้นปท่ี 1
6. รายวิชาที่ตอ งเรยี นมากอน (Pre-requisites) (ถา มี)
-
7. รายวิชาท่ตี อ งเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถามี)
-
8. สถานทีเ่ รียน วนั และเวลาเรยี น
หองปฏิบัติการทางสถาปต ยกรรม 3404 วันจันทร เวลา 09.00-17.00 น.

9. วนั ที่จดั ทำหรือปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชาครัง้ ลาสดุ
3 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

หมวดท่ี 2 จดุ มงุ หมายและวัตถปุ ระสงค
1. จุดมงุ หมายของรายวิชา (Learning Objectives)

เพื่อใหน กั ศึกษาเหน็ ความสำคญั ของศลิ ปะและการออกแบบ มพี น้ื บานความรแู ละความเขาใจในศลิ ปะและการออกแบบ
เบื้องตน ซงึ่ ไดแก องคประกอบศลิ ป (Element of art) หลักการจดั องคป ระกอบศิลป (Principle of composition) ความ
งามหรอื สุนทรยี ภาพ (Aesthetic) เพอ่ื ใหส ามารถนำความรไู ปใชในการออกแบบผลงานสรางสรรคแ ละงานสถาปตยกรรมได
2. วตั ถุประสงคใ นการพฒั นา /ปรับปรุงรายวชิ า

เพื่อพัฒนาปรบั ปรุงใหมคี วามทันสมยั สอดคลองกับสถานการณห รือการพฒั นาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสงั คมและ
วัฒนธรรม ความตอ งการของวงการวิชาชีพสถาปตยกรรม ระเบียบและขอบังคบั ของสภาสถาปนิก พันธกิจของมหาวิทยาลยั
วงษช วลติ กุลและเปนไปตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2552

หมวดที่ 3 ลกั ษณะและการดำเนินการ

1.คำอธิบายรายวชิ า

เรียนรูองคประกอบศลิ ป (Element of art) และหลักการจดั องคประกอบศิลป (Principle of composition) ความงาม

หรอื สุนทรียภาพ (Aesthetic) การฝก ปฏบิ ัตกิ ารออกแบบทั้งแบบ 2มิติ และ 3 มติ ิ

2. จำนวนช่ัวโมงทใี่ ช/ภาคการศกึ ษา (Hours / Semester)

หนวยกิต บรรยาย สอนเสรมิ การฝก ปฏบิ ตั /ิ การศกึ ษาดวยตนเอง
งานภาคสนาม/ฝก งาน

3 (1-6-2) 15 ช่ัวโมง กำหนดเพิม่ เติมตาม การฝกปฏบิ ัติ 90 ชม./ภาค 30 ช่วั โมง
ตอ ภาคการศึกษา ความเหมาะสม  งานภาคสนาม......ชม./ภาค ตอภาคการศึกษา
 การฝกงาน ........ชม./ภาค

หมวดท่ี 4 การพัฒนาการเรยี นรูของนักศกึ ษา
1. คุณธรรม จรยิ ธรรม
(1) มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ ซือ่ สตั ยส ุจรติ
(2) เคารพและปฏิบตั ิตามกฎระเบียบขององคกรและสงั คม
(3) มีวินัย ตรงตอเวลา

1.1 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนา
1) สอดแทรกเร่ืองคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเสยี สละ ความซอ่ื สัตยสุจรติ ตลอดจนจรรยาบรรณทาง
วชิ าการและวิชาชพี ในกจิ กรรมการเรยี นการสอน
2) จัดกจิ กรรมการทำงานเปน กลุมในกิจกรรมการเรยี นการสอน
3) แจงกฎระเบยี บและขอบังคบั ตางๆ ของมหาวิทยาลยั และทำขอ ตกลงในการเรยี นใหนักศึกษา
รับทราบกอนการเรียนโดยเฉพาะการเขาช้ันเรยี น

1.2 กลยุทธการประเมนิ ผลกการเรียนรู
1) ประเมินจากความเสยี สละในการทำงานเปนกลมุ และความซอ่ื สัตยส ุจรติ ในการทำกจิ กรรมการเรยี น
การสอนและการสอบ
2) ประเมินจากความรับผดิ ชอบในหนาท่ีทไ่ี ดรบั มอบหมาย
3) ประเมนิ จากความสม่ำเสมอในการเขาชน้ั เรยี น การสง งาน และการมีสวนรว มกับกจิ กรรมในช้นั เรียน

2. ความรู
(1) มคี วามรแู ละความเขา ใจหลกั การและทฤษฎีทสี่ ำคญั ในเน้อื หาสาขาวิชาชพี
(2) มคี วามรใู นสาขาวิชาชพี ท่ีเกย่ี วเนื่องและศาสตรอื่นๆทเ่ี ก่ียวขอ ง

2.1 กลยทุ ธการสอนท่ใี ชพฒั นา
1) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในหลากหลายรปู แบบ โดยเนนหลักการและทฤษฎีทส่ี ำคญั ท้ัง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติ เพ่ือใหเ กดิ ความเชย่ี วชาญ
2) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบบรู ณาการใหเขากบั สถานการณปจ จบุ นั และรายวิชาท่เี ก่ียวของ

2.2 กลยุทธการประเมนิ ผลกการเรยี นรู
1) ประเมินจากผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามวัตถปุ ระสงคการเรยี นรขู องแตล ะรายวชิ าทัง้

2

ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ เชน การทดสอบยอย การสอบปลายภาค การนำเสนอราย หรอื ผลงาน
ภาคปฏบิ ตั ิ เปนตน

3. ทักษะทางปญ ญา
(1) มที กั ษะเรอ่ื งมติ สิ มั พันธ สามารถเขาใจทวี่ างและรปู ทรง และสุนทรยี ภาพ
(2) มีทักษะในการคน ควา และจำแนกขอมลู ทงั้ จากเอกสาร หนังสอื ตำราและเทคโนโลยีสาสนเทศ
(3) มที กั ษะในการวเิ คราะหแ ละสงั เคราะหข อมลู ใชความรู แนวคดิ และทฤษฎีตางๆมาแกไ ขปญ หาในการ
ออกแบบสถาปตยกรรม
(4) มีทักษะการบริหารจัดการ
(5) สามารถบูรณาการความรทู ่หี ลากหลายเพอ่ื สรา งนวตั กรรมอาคารและสิ่งแวดลอ ม
3.1 กลยุทธการสอนที่ใชพ ฒั นา
1) จดั กิจกรรมการเรียนการสอนบูรณาการกับสถานการณปจ จบุ นั และรายวชิ าที่เกยี่ วของ
2) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนเพื่อใหความรูดา นการบรหิ ารจดั การโดยผูประกอบการทมี่ คี วามรูความ
เชี่ยวชาญ
3) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนที่สนนั สนนุ ใหม กี ารบรู ณาการความรูขา มสาขาวชิ าเพอ่ื ใหเกิดความคดิ
สรางสรรค
3.2 กลยุทธการประเมนิ ผลกการเรยี นรู
1) ประเมินจากผลการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามวตั ถปุ ระสงคก ารเรยี นรูของแตล ะรายวชิ าท้งั
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ เชน การทดสอบยอย การสอบปลายภาค การนำเสนอราย หรือผลงาน
ภาคปฏิบตั ิ เปนตน

4. ดานทกั ษะความสมั พนั ธระหวา งบุคคลและความรับผดิ ชอบ
(1) มีภาวะผูนำ และเปน ผตู ามทด่ี ี มคี วามสามารถในการทำงานเปนหมคู ณะ
(2) มีความรับผิดชอบในหนาท่ีของตวั เอง
4.1 กลยุทธการสอนทใี่ ชพ ัฒนา
1) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหมกี ารทำงานเปนกลมุ การทำงานทีต่ อ งประสานงานกบั ผูอื่น หรอื
ตอ งคน ควาหาขอมูลจากการสมั ภาษณบุคคลอื่น หรอื ผูมีประสบการณ
2) จัดใหมกี ารอภปิ รายและเปลย่ี นความรูและความคดิ เห็นในกิจกรรมการเรยี นการสอน เพอ่ื เปด โอกาส
ใหน กั ศกึ ษานำเสนอแนวคิดของตนเอง และรับฟง ความคดิ เห็นของผอู ่ืน
3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภายนอกสถานที่
4.2 กลยุทธการประเมินผลกการเรียนรู
1) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนกั ศึกษาในการนำเสนอรายงานและผลงานของการ

ทำงานรว มกบั ผูอน่ื การแสดงความคิดเห็น และการเขา รว มกจิ กรรมตางๆ
5. ทักษะการวเิ คราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ

(1) มีทักษะการสอ่ื สาร สามารถถา ยทอดความรูและนำเสนอผลงานใหผ ูอืน่ เขา ใจได
(2) มที ักษะการวเิ คราะหเ ชงิ ตวั เลขเพอ่ื แกไขปญ หาทเี่ กี่ยวของในการปฏิบตั วิ ิชาชีพ
(3) สามารถประยกุ ตใชเ ทคโนโลยสารสนเทศในการปฏิบตั วิ ชิ าชพี
5.1 กลยุทธการสอนท่ใี ชพัฒนา

1) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหน กั ศกึ ษาไดฝ ก ทกั ษะการสอื่ สารและการเลอื กใชเทคนคิ ในการส่ือสาร

3

ประเภทตา งๆเพือ่ การนำเสนอผลงาน
2) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหนักศึกษาไดฝ กทกั ษะการวเิ คราะหเ ชงิ ตวั เลข

3) จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนใหน กั ศึกษาไดฝ ทีเ่ กี่ยวของกทักษะการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ
5.2 กลยุทธการประเมนิ ผลกการเรียนรู

1) ประเมินจากความสามารถในการนำเสนอผลงาน การสื่อสาร การเลอื กใชเ ทคนคิ การสื่อสาร และ

เทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวขอ ง
2) ประเมินจากความสามารถในการวิเคราะหเชงิ ตัวเลขเพ่อื แกไขปญหาตา งๆ
3) ประเมินจากเหตุผลในการเลือกใชเทคนคิ การสื่อสาร และเทคโนโลยสี ารสรเทศทเ่ี กย่ี วขอ ง

1.แผนการสอน หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล

สัปดาห หัวขอ/รายละเอียด จำนวน อาจารย สื่อการเรยี นการสอน
ชวั่ โมง กิจกรรมการเรยี นการสอน ผสู อน
หลัก -เอกสารประมวล
1. ความสำคัญของรายวิชา และ 7 1. การอธิบายถึงความสำคญั ของ รายวิชา
อ.เปาลิน -อปุ กรณท่ใี ชในการ
ความสัมพนั ธก บั วิชาอื่นๆ รายวิชา และความสมั พนั ธกบั วชิ า เรียน
2. สงั เขปรายวิชา ลกั ษณะรายวิชา อนื่ ๆ เชน ความสำคญั ของการ -เอกสารการสอบ
วธิ ีการเรียนการสอน การวดั ผลและ เรยี นวิชาการนำเสนอแบบทาง
การประเมินผล หนังสือตำรา และ สถาปตยกรรมกับการนำไปใช
เอกสารประกอบการสอน วสั ดุ ประโยชนใ นการเรยี นและการ
อุปกรณท ี่ใชในการเรยี นการสอน ประกอบวชิ าชพี
3. ทดสอบความรูพน้ื ฐาน ความสนใจ 2. ชแ้ี จงรายละเอียดการเรียน

1 และทักษะเฉพาะตนของนักศกึ ษา ปฏทิ นิ การศึกษา วัสดอุ ปุ กรณท ใี่ ช
ในการเรยี นการสอน และเปด
โอกาสใหน ักศกึ ษาซกั ถามและ
แสดงความคดิ เหน็ ถึงความ
ตองการและความเหมาะสมในการ
เรียน
3.กิจกรรมเสรมิ เนื้อหา เพอื่ ให
นักศึกษาไดเตรยี มความพรอ ม
กอนเรยี น และกจิ กรรมทีม่ ี
ปฏิสัมพันธต อกันในระหวางเรยี น

4

1. ศลิ ปะและการออกแบบ 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบสอ่ื การ อ.เปาลิน - Ms PowerPoint

- สนุ ทรยี ภาพและความงาม - การ สอน - เอกสารตวั อยา งงาน

ออกแบบ 2.สาธิต ทดลองออกแบบ - เอกสารใบงาน

- ความหมายและคำนิยามของศลิ ปะ ประกอบเนอ้ื หา

2 - ความสัมพนั ธร ะหวางทัศนศิลปแ ละ 3.จดั กิจกรรมเสรมิ เน้ือหา

การออกแบบ 4.ใหเ อกสารใบงาน สำหรับการ

2. การสรางสรรคข องมนษุ ย ออกแบบผลงาน และนักศึกษา

- การสรา งสรรค - แนวทางการ นำเสนองานในครง้ั ถดั ไป

สรา งสรรค

3. องคประกอบศลิ ป (Element of 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบส่ือการ อ.เปาลิน - Ms PowerPoint

Art) สวนประกอบพืน้ ฐานทัศนศลิ ป สอน - เอกสารตวั อยางงาน

- ความหมายและความสำคญั จุด เสน 2.สาธิต ทดลองออกแบบ - เอกสารใบงาน

3 ระนาบ รูปราง รูปทรง ประกอบเน้อื หา

3.ใหเ อกสารใบงาน สำหรับการ

ออกแบบผลงาน และนกั ศกึ ษา

นำเสนองานในครั้งถดั ไป

ปฏิบตั ิการกระบวนการออกแบบ 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบสอื่ การ อ.เปาลนิ - ภาพเคล่ือนไหว

(Design Process) สอน - เอกสารตวั อยา งงาน

การสรางสรรคผลงานออกแบบ 2.สาธิต ทดลองออกแบบ - โปรเจค 1

4 Experiment #1 ประกอบเน้อื หา
- สรา งสรรคง านออกแบบท่ีแสดง 3.ใหเอกสารใบงาน สำหรบั การ

ความสัมพนั ธร ะหวา ง รปู รา ง รูปทรง ออกแบบผลงาน และนักศกึ ษา

- แสดงแนวความคดิ จากทฤษฎีการ นำเสนองานในครั้งถดั ไป

ออกแบบพื้นฐาน

Final Experiment #1 7 1. นักศกึ ษาทำการทดลอง อ.เปาลิน - เอกสารการสอบ

- ทดสอบความรคู วามเขาใจ ออกแบบ พรอมนำเสนอผลงาน -นักศกึ ษานำเสนอ

5 2. กจิ กรรมในช้นั เรยี น วิเคราะห ผลงาน

งานออกแบบ

4. พ้ืนผวิ ลักษณะผิว 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบสอ่ื การ อ.เปาลนิ - เอกสารตัวอยางงาน
- ความหมายและความสำคญั สอน - เอกสารใบงาน

- ประเภท ชนิด การสมั ผัสพื้นผวิ 2.สาธิต ทดลองออกแบบ
6 - ตวั อยางผลลงาน อธิบายและ ประกอบเนื้อหา
3.ใหเอกสารใบงาน สำหรับการ
วเิ คราะหงานออกแบบ ออกแบบผลงาน และนกั ศึกษา

นำเสนองานในครงั้ ถดั ไป

5

5. สี - ความรูทั่วไปเก่ียวกบั สี และ 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบส่อื การ อ.เปาลนิ - Ms PowerPoint

ความเก่ยี วของกบั องคประกอบศิลป สอน - เอกสารตัวอยา งงาน

-ทฤษฎีสี การใชส ใี นงานออกแบบ 2.สาธิต ทดลองออกแบบ - เอกสารใบงาน

- การรับรแู ละการมองเห็น สแี ละ ประกอบเนอ้ื หา

7 ความรสู กึ 3.จดั กิจกรรมเสริมเนอื้ หา

6. โทน นำ้ หนกั เขม-ออน และแสง นักศึกษานำเสนอผลงาน

เงา

- ความหมายทางทศั นศลิ ป

- การรับรู และการใหคานำ้ หนัก

ปฏิบัตกิ ารกระบวนการออกแบบ 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบสอ่ื การ อ.เปาลนิ - เอกสารตัวอยา งงาน

(Design Process) สอน - โปรเจค 2

การสรางสรรคผลงานออกแบบ 2.สาธิต ทดลองออกแบบ

Experiment #2 ประกอบเนอ้ื หา

8 - สรางสรรคงานออกแบบที่แสดง 3.ใหเ อกสารใบงาน สำหรบั การ

ความสมั พนั ธร ะหวา ง สี พน้ื ผวิ แสง ออกแบบผลงาน และนกั ศึกษา

เงา และความรูส กึ นำเสนองานในครั้งถัดไป

- แสดงแนวความคดิ จากทฤษฎีการ

ออกแบบพืน้ ฐาน

Final Experiment #2 7 1. นักศกึ ษาทำการทดลอง อ.เปาลนิ - เอกสารการสอบ

9 - ทดสอบความรูค วามเขาใจ ออกแบบ พรอมนำเสนอผลงาน -นักศกึ ษานำเสนอ
2. กิจกรรมในช้นั เรยี น วิเคราะห ผลงาน

งานออกแบบ

7. หลักการทศั นศลิ ป และหลักการจดั 4 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบส่อื การ อ.เปาลิน - เอกสารตวั อยางงาน

องคป ระกอบศลิ ป สอน - โปรเจค 3

- ความหมาย ประเภท และหลักการ 2.สาธิต ทดลองออกแบบ

ออกแบบพ้ืนฐาน ภายใตห ลกั การ ประกอบเนอื้ หา

ทัศนศลิ ป 3.จัดกจิ กรรมเสรมิ เนื้อหา

- ความสมดลุ - ขนาด สัดสวน นกั ศึกษานำเสนอผลงาน

10 - ความกลมกลืน - เอกภาพ

Experiment #3

- สรางสรรคง านออกแบบท่ีแสดง

ความสัมพนั ธร ะหวาง สดั สวน สมดลุ

เอกภาพ

- แสดงแนวความคดิ จากทฤษฎีการ

ออกแบบพน้ื ฐาน

6

Final Experiment #3 7 1. นกั ศกึ ษาทำการทดลอง อ.เปาลิน - เอกสารการสอบ
10 - ทดสอบความรูความเขาใจ
ออกแบบ พรอ มนำเสนอผลงาน -นกั ศกึ ษานำเสนอ
หลกั การจดั องคป ระกอบศลิ ป (ตอ )
- การเปลย่ี นแปร - การเคลอ่ื นที่ 2. กิจกรรมในชน้ั เรียน วิเคราะห ผลงาน
- จังหวะ - การเนน จุดเดน
11 งานออกแบบ

ปฏบิ ัติการกระบวนการออกแบบ 4 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบสอ่ื การ - ภาพเคล่ือนไหว
(Design Process)
การสรางสรรคผลงานออกแบบ สอน - เอกสารตัวอยางงาน
Experiment #4
12 - สรา งสรรคง านออกแบบที่แสดง 2.สาธิต ทดลองออกแบบ - เอกสารใบงาน
ความสัมพันธร ะหวาง การเคลือ่ นที่
ความแตกตาง จงั หวะ การเนน ประกอบเนื้อหา
- แสดงแนวความคดิ จากทฤษฎีการ
ออกแบบพน้ื ฐาน 3.ใหเ อกสารใบงาน สำหรับการ
Final Experiment #4
- ทดสอบความรูค วามเขา ใจ ออกแบบผลงาน และนักศกึ ษา

13 - หลักการจัดองคประกอบศิลป (ตอ) นำเสนองานในครงั้ ถดั ไป
- ความแตกตาง - เปรียบเทียบ
- สรปุ เนอื้ หา ยกตัวอยาง และ 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบส่ือการ อ.เปาลนิ - เอกสารตวั อยา งงาน
วิเคราะหผ ลงงานออกแบบ
8. ท่ีวาง สอน - โปรเจค 4
- ความหมายของทว่ี าง - การ
2.สาธิต ทดลองออกแบบ
14 ออกแบบทีว่ า ง
- ยกตัวอยาง และวิเคราะหผ ลงงาน ประกอบเน้อื หา
ออกแบบ
3.ใหเ อกสารใบงาน สำหรบั การ

ออกแบบผลงาน และนักศึกษา

นำเสนองานในคร้ังถัดไป

3 1. นักศึกษาทำการทดลอง อ.เปาลนิ - เอกสารการสอบ

ออกแบบ พรอ มนำเสนอผลงาน -นักศกึ ษานำเสนอ

2. กิจกรรมในชน้ั เรียน วิเคราะห ผลงาน

งานออกแบบ

7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบส่อื การ อ.เปาลนิ - เอกสารตัวอยางงาน

สอน
2.สาธิต ทดลองออกแบบ
ประกอบเนอ้ื หา

7

ปฏบิ ัติการกระบวนการออกแบบ 7 1.บรรยายทฤษฎี ประกอบสือ่ การ อ.เปาลนิ - เอกสารตัวอยา งงาน
สอน - โปรเจค 5
(Design Process)
2.สาธิต ทดลองออกแบบ
การสรางสรรคผลงานออกแบบ ประกอบเนื้อหา
3.ใหเ อกสารใบงาน สำหรบั การ
15 Experiment #5
- สรา งสรรคงานออกแบบท่ีแสดงการ ออกแบบผลงาน และนกั ศกึ ษา
นำเสนองานในครั้งถัดไป
ออกแบบท่ีวา ง

- แสดงแนวความคดิ จากทฤษฎีการ

ออกแบบพ้นื ฐาน

Final Experiment #5 7 1. นกั ศกึ ษาทำการทดลอง อ.เปาลิน - เอกสารการสอบ

16 - ทดสอบความรคู วามเขาใจ ออกแบบ พรอ มนำเสนอผลงาน -นักศกึ ษานำเสนอ

2. กิจกรรมในช้ันเรยี น วิเคราะห ผลงาน

งานออกแบบ

17 นักศึกษารวมรวบผลงาน จดั ทำ สง งานนอกเวลา
portfolio

2. แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู

วิธีวัดและประเมินผล (Evaluation)

กิจกรรมท่ี ผลการเรียนรู วิธีการประเมิน ครง้ั ทป่ี ระเมนิ สัดสว นของการ
ประเมินผล
ผลการเรียนรู 2-15
(ทำการสอบภายในช่ัวโมง) การสอบ 20%
1.ดานทษฏี 1.3,2.1,2.2,3.1,3.2,3.3,3.4,5.1 1.ดา นทฤษฏี 20%ประเมิน

จากผลทดสอบ และ

ประเมินผลการเรียนรใู นดา น

ตางๆ

2.ดา นปฏิบตั ิ 2.ดา นปฏิบตั ิ 80%

2.1 ดาน 1.3,2.1,2.2,3.1,3.2,3.3,3.4,5.1 ดานวิชาการ ประเมนิ จาก 2-15 (ผลงาน) ดา นวิชาการ

วชิ าการ ผลงาน และจากการสงั เกตุ 1-15 (กิจกรรมในการเรียน - การสง งานและ

บันทกึ พฤติกรรมและการ การแสดงออก การมสี ว น ผลงาน 55%

แสดงออก รวม) - กิจกรรมในการ

เรยี น 5 คะแนน

2.2 ดา นสงั คม 1.1 ,1.2 ,1.3 ,5.1 ดานสังคม 1- 15 (ความรบั ผดิ ชอบตอ ดานสังคม
-ความรับผดิ ชอบตอสวนรวม
- การเขาเรียนและการตรงตอ สวนรวม อาทิ การเขา รว ม -ความรบั ผดิ ชอบ
เวลา
กจิ กรรม การทำงานรว มกัน ตอ สวนรวม 15%

การเสยี สละ ความเอือ้ เฟอ - การเขา เรียนและ

ตอผอู ืน่ ฯ) ความตรงตอ เวลา

1-15 (การเขาเรยี นและการ 10%

ตรงตอ เวลา)

8

สัดสว นการคดิ คะแนน 100 % 30 %
1. ผลงานตลอดภาคการศกึ ษา 6 ใบงาน
- การสง งาน และการนำเสนอผลงาน
2. การสอบ 60 %
- Experiment 5 project
3. คะแนนจิตพสิ ยั
10 %
- ความตรงตอเวลา
- การเขา รวมกจิ กรรม - การเขา ชัน้ เรยี น
- การแสดงความคดิ เห็น

หมวดท่ี 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
เอกสาร และหนงั สือประกอบการสอน
- ชลดู น่ิมเสมอ ; องคป ระกอบของศิลปะ, (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ ), 2539.
- ทพิ ยสุดา ปทุมานนท ; Composition & Space การจดั องคประกอบและท่ีวางในงงานออกแบบพื้นฐาน, (กรงุ เทพฯ : 49

กราฟฟค แอนด พับบลิเคชัน่ ส), 2535.
- นวลนอย บุญวงษ ; หลักการออกแบบ, (กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ), 2539.
- บัณฑิต จุลาสยั ; จุด เสน ระนาบ ในงานออกแบบสถาปตยกรรม 1 , (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแหง จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ),

2540.
- บัณฑติ จลุ าสยั ; จดุ เสน ระนาบ ในงานออกแบบสถาปต ยกรรม 2 , (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั ),

2541.
- เลอสม สถาปตานนท ; What is Design? การออกแบบคืออะไร? , (กรุงเทพฯ : 49กราฟฟค แอนด พับบลิเคชน่ั ส), 2537.
- ทวีเดช จิ๋วบาง ; เรยี นรทู ฤษฎีสี, (กรุงเทพฯ:โอเดยี นสโตร), 2547.
- ฉัตรชยั อรรถปกษ ; องคป ระกอบศลิ ปะ,( กรงุ เทพฯ:วทิ ยพัฒน),2550.
- คุม พงศห นบู รรจง ; กระบวนการออกแบบสถาปต ยกรรม. (กรุงเทพฯ: งานตำราและเอกสารการพมิ พ คณะครศุ าสตร

อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา คณุ ทหารลาดกระบงั ),2554.
- Ching, Francis D.K. ; Architecture: Form, Space & Order . New York, USA; Van Nostrand Reinhold Co.Ltd.
- La Seau, Paul ;Graphic Thinking for Architects & Designers . Litton Educational Publishing, Inc.

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรงุ การดำเนนิ การของรายวชิ า
1. กลยุทธการประเมินประสิทธผิ ลของรายวิชาโดยนกั ศึกษา

- แบบประเมินผสู อนและแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผา นส่อื ออนไลนร ะหวางผสู อนและผูเ รยี น
- ขอ มลู จากการสนทนาและสอบถามระหวางผสู อนและผูเ รียน
2. กลยุทธก ารประเมินการสอน (วธิ กี ารประเมินท่จี ะไดขอมูลการสอน เชน จากผสู ังเกตการณ ทีมผสู อน หรือผลการเรยี นของ
นักศกึ ษา)
- การสงั เกตการสอนของผูสังเกตการณ เชน คณาจารยภายในคณะวิชา
- การประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนและความเขาใจของนกั ศึกษา

9

- ผลการเรยี นของนกั ศกึ ษา
3. การปรบั ปรุงการสอน (กลไกและวิธีการปรบั ปรงุ การสอน เชน คณะ/ภาควชิ ามกี ารกำหนดกลไกและวธิ ีการปรบั ปรุงการ
สอน การประชุมเพื่อพฒั นาการเรยี นการสอน)

- การประชมุ คณะวิชาและผูส อน เพอ่ื รวมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนกั ศึกษาในรายวชิ า (กระบวนการท่ีใชในการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธขิ์ อง
นักศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรขู องรายวชิ า เชน ทวนสอบจากคะแนนขอสอบ หรืองานท่มี อบหมาย)

- การต้งั คณะกรรมการวชิ าการในสาขาวิชา ตรวจสอบการประเมนิ การเรยี นรูข องนักศึกษา โดยตรวจสอบขอ สอบ ผลการให
คะแนน และวธิ ีการใหค ะแนน
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสิทธผิ ลของรายวชิ า (กระบวนการในการนำขอมลู ทไ่ี ดจ ากการ
ประเมนิ จากขอ 1 และ 2 มาวางแผนเพือ่ ปรับปรงุ คุณภาพ)

- การปรับปรงุ วิธกี ารสอน และการใหค ะแนนรายวิชาในทุกๆปการศึกษา ตามขอเสนอแนะ และผลการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธ์ิของนกั ศกึ ษาในรายวชิ า ตามขอ 4

10

มคอ. 3

รายละเอยี ดของรายวชิ า

ช่ือสถาบันอุดมศึกษา มหาวทิ ยาลัยวงษช วลติ กุล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสถาปต ยกรรมศาสตร

หมวดท่ี 1 ขอมูลทว่ั ไป

1. รหัสวิชา (Course Number) และชือ่ รายวิชา (Course Title)

71613130 หลกั การกอสรางอาคารและการเขียนแบบสถาปตยกรรม

2. จำนวนหนว ยกติ (Course Credit)

3(1-6-2)

3. หลกั สูตรและประเภทของรายวชิ า

หลกั สูตรสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสถาปตยกรรมศาสตร

หมวดวิชา  ศกึ ษาทัว่ ไป

 เฉพาะ กลมุ วชิ า  หลักสาขา  พนื้ ฐาน  เทคโนโลยี

 สนบั สนุนสาขา  วิชาชพี -เลือก  เลอื กเสรี

4. อาจารยผ รู บั ผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูส อน (Instructor)

อาจารยนงนุช เสนคำ

5. ภาคการศกึ ษา (Semester) / ชั้นปท ี่เรียน / ปก ารศึกษา (Academic Year)

ภาคการศกึ ษาที่ 1 / ชั้นปท่ี 1

6. รายวชิ าท่ีตองเรียนมากอ น (Pre-requisite) (ถามี)

ไมมี

7. รายวชิ าที่ตองเรียนพรอมกนั (Co-requisite) (ถาม)ี

ไมม ี

8. สถานท่ีเรียน

หองปฏบิ ตั กิ ารดา นสถาปตยกรรมศาสตร หอง 3404 คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั วงษช วลิตกุล

9. วนั ทีจ่ ดั ทำหรอื ปรับปรงุ รายละเอยี ดของรายวิชาครั้งลาสุด (วันที่มีการปรับปรุงหลักสูตรในรายวิชาน้ี)

วนั ท่ี 20 พฤษภาคม เดือน พ.ศ. 2565

หมวดท่ี 2 จุดมุงหมายและวัตถปุ ระสงค

1.จดุ มุง หมายของรายวิชา (Learning Objectives)

เพ่ือใหเ ขา ใจหลกั การกอ สรา งสวนประกอบตา งๆของอาคารเบ้ืองตน และสามารถปฏบิ ตั ิการเขยี นแบบ
ทางสถาปต ยกรรมเบอื้ งตน เพ่ือใหเ กิดทกั ษะในการใชเคร่อื งมอื อปุ กรณ และวสั ดุตา งๆ ในการเขียนแบบ ฝก

การเขยี นแบบในลกั ษณะตา งๆ เชน ภาพฉาย 3 มิติ (Axonometric) รปู ไอโซเมตรกิ ทัศนยี ภาพ ผังพนื้ รปู ดาน
รปู ตดั เปนตน

1

มคอ. 3

2. วัตถปุ ระสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวชิ า
เพือ่ ใหม กี ารพฒั นาปรับปรงุ ใหม คี วามทันสมัย สอดคลองกบั สถานการณ หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ การพฒั นาทาง

สงั คมและวฒั นธรรม ความตองการของวงการวชิ าชีพสถาปตยกรรม ระเบยี บและขอ บงั คับของสภาสถาปนิก พนั ธกจิ ของ

มหาวิทยาลัยวงษชวลติ กุล และเปน ไปตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแหงชาติ 2552

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธบิ ายรายวชิ า (Course Description)

หลักการกอ สรางสวนประกอบตา งๆของอาคารเบือ้ งตน และปฏบิ ัตกิ ารเขยี นแบบทางสถาปตยกรรมเบ้ืองตน เพอ่ื ใหเ กดิ
ทกั ษะในการใชเ คร่อื งมือ อปุ กรณ และวัสดตุ างๆ ในการเขยี นแบบ ฝกการเขียนแบบในลักษณะตาง ๆ เชน ภาพฉาย 3 มิติ รปู
ไอโซเมตรกิ ทัศนยี ภาพ ผงั พืน้ รูปดาน รปู ตัด เปน ตน

2. จำนวนช่ัวโมงทใ่ี ช/ ภาคการศึกษา (Hours / Semester)

หนวยกติ บรรยาย จำนวนชว่ั โมง/ภาคการศกึ ษา สอนเสริม
ปฏบิ ตั ิ ศึกษาดวยตนเอง

3(1-6-2) 30 ชว่ั โมง 90 ชว่ั โมง/ภาค 60 ช่ัวโมง/ภาค ตามความตอ งการของ

การศกึ ษา การศกึ ษา นกั ศกึ ษาเฉพาะราย

3. จำนวนชั่วโมงตอสัปดาหทีอ่ าจารยจ ะใหคำปรึกษาและแนะนำทางวชิ าการแกนกั ศึกษาเปนรายบคุ คล

อาจารยนงนชุ เสนคำ หอ ง 3401 คณะสถาปต ยกรรมศาสตร ทุกวันพุธ เวลา 13.00-15.00 น.

โทรศพั ท 092-4026814 E-mail : [email protected]

หมวดท่ี 4 การพัฒนาผลการเรยี นรูของนกั ศึกษา

1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.2 กลยุทธก ารสอนที่ใชพฒั นา 1.3 กลยทุ ธการประเมินผลการเรยี นรู
1.1 ผลการเรยี นรู
1) สอดแทรกเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม ความเสยี สละ 1) ประเมินจากความเสียสละในการทำงาน
(o) (1) มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เสียสละ ความซื่อสัตยสุจริต ตลอดจนจรรยาบรรณทาง เปนกลุม และความซื่อสัตยสุจริตในการทำ
ซอ่ื สัตยส จุ ริต วชิ าการและวิชาชีพในกจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรยี นการสอน และการสอบ
(•) (2) เคารพและปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ 2) จัดกิจกรรมการทำงานเปนกลุมในกิจกรรมการ 2) ประเมินจากความรับผิดชอบในหนาที่ที่
ขององคก รและสงั คม เรยี นการสอน ไดรับมอบหมาย
(•) (3) มวี ินัย ตรงตอ เวลา 3) แจงกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ของ 3) ประเมินจากความสม่ำเสมอในการเขาชั้น
มหาวิทยาลัย และทำขอตกลงในการเรียนให เรียน การสงงาน และการมีสวนรวมกับ
2. ดา นความรู นักศึกษารับทราบกอนการเรียน โดยเฉพาะการเขา กจิ กรรมในชน้ั เรียน
2.1 ผลการเรยี นรู ชั้นเรียน

(•) (1) มคี วามรูแ ละความเขาใจหลกั การ 2.2 กลยทุ ธก ารสอนทใ่ี ชพ ัฒนา 2.3 กลยุทธก ารประเมินผลการเรยี นรู
และทฤษฎที ่ีสำคัญในเนอ้ื หาสาขาวชิ าชีพ
(o) (2) มคี วามรูใ นสาขาวชิ าชีพที่ 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหลากหลาย 1) ประเมินจากผลการจัดกิจกรรมการเรียน
เก่ยี วเนอื่ งและศาสตรอ่ืนๆทเ่ี กีย่ วของ รูปแบบ โดยเนนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญ ทั้ง การสอนตามวัตถปุ ระสงคการเรียนรูของแตละ
ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เพื่อใหเกิดความ รายวิชาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เชน
เชี่ยวชาญ การทดสอบยอย การสอบปลายภาคการ
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนบูรณาการกับ นำเสนอรายงาน หรือผลงานภาคปฏิบัติ เปน
สถานการณป จ จุบนั และรายวิชาทีเ่ ก่ยี วของ ตน

2

มคอ. 3

3. ทักษะทางปญ ญา

3.1 ผลการเรยี นรู 3.2 กลยุทธการสอนที่ใชพ ฒั นา 3.3 กลยทุ ธก ารประเมินผลการเรยี นรู

(o) (1) มที กั ษะในเรอ่ื งมิตสิ ัมพนั ธ สามารถ 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนบูรณาการกับ 1) ประเมินจากผลการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนตามวตั ถปุ ระสงคก ารเรียนรขู องแตละ
เขาใจที่วา งและรปู ทรง และสุนทรยี ภาพ สถานการณป จจุบนั และรายวิชาที่เกย่ี วขอ ง รายวิชาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เชน
การทดสอบยอย การสอบปลายภาคการ
(o) (2) มีทกั ษะในการคนควาและจำแนก 2) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพ่ือใหความรู นำเสนอรายงาน หรือผลงานภาคปฏิบัติ เปน
ตน
ขอมูลทง้ั จากเอกสาร หนังสอื ตำราและ ดานการบริหารจัดการโดยผูประกอบการที่มี
4.3 กลยทุ ธก ารประเมินผลการเรียนรู
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ความรคู วามเชีย่ วชาญ
1) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออก
(o) (3) มีทักษะในการวิเคราะหและสังเคราะห 2) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทส่ี นับสนุนให ของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานและ
ผลงานของการทำงานรวมกับผูอื่น การแสดง
ขอมลู ใชความรู แนวคดิ และทฤษฎีตางๆ มา มีการบูรณาการความรูขามสาขาวิชา เพื่อให ความคิดเหน็ และการเขารวมกิจกรรมตา งๆ

แกไ ขปญ หาในการออกแบบสถาปต ยกรรม เกดิ ความคิดสรา งสรรค 5.3 กลยทุ ธการประเมินผลการเรียนรู

(o) (4) มที กั ษะในการบรหิ ารจัดการ 1) ประเมินจากความสามารถในการนำเสนอ
ผลงาน การสื่อสาร การเลือกใชเทคนิคการ
(o) (5) สามารถบรู ณาการความรูที่หลากหลาย สือ่ สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศทีเ่ กีย่ วของ
2) ประเมินจากความสามารถในการวิเคราะห
เพ่อื สรางนวัตกรรมอาคารและสิง่ แวดลอม เชงิ ตวั เลขเพอื่ แกไ ขปญหาตางๆ
3) ประเมินจากเหตุผลในการเลือกใชเทคนิค
4. ดานทกั ษะความสมั พนั ธร ะหวางบุคคลและความรับผิดชอบ การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่
เก่ยี วขอ ง
4.1 ผลการเรียนรู 4.2 กลยทุ ธการสอนที่ใชพ ัฒนา

(•) (1) มภี าวะผูนำ และผตู ามทดี่ ี มี 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีการ
ความสามารถในการทำงานเปน หมคู ณะ ทำงานเปนกลุม การทำงานทีต่ องประสานงาน

(•) (2) มคี วามรับผิดชอบในหนา ท่ีของตนเอง กับผูอื่น หรือตองคนควาหาขอมูลจากการ
สัมภาษณบ ุคคลอน่ื หรือผูมีประสบการณ

2) จัดใหมีการอภิปรายแลกเปลีย่ นความรแู ละ

ความคดิ เห็นในกิจกรรมการเรยี นการสอน เพ่ือ

เปดโอกาสใหนักศึกษานำเสนอแนวคิดของ

ตนเอง และรับฟงความคิดเห็นของผอู ่ืน

3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภายนอก

สถานที่

5. ทักษะการวเิ คราะหเ ชิงตวั เลข การสือ่ สารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 ผลการเรยี นรู 5.2 กลยทุ ธก ารสอนท่ีใชพ ัฒนา

(o) (1) มที ักษะการสอ่ื สาร สามารถถา ยทอด 1) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหนักศึกษาได

ความรูและนำเสนอผลงานใหผอู ืน่ เขาใจได ฝก ทักษะการสอ่ื สารและการเลอื กใชเทคนิคใน

(•) (2) มที ักษะการวิเคราะหเชงิ ตวั เลขเพือ่ การสื่อสารประเภทตางๆ เพื่อการนำเสนอ
แกไ ขปญ หาท่เี กยี่ วขอ งในการปฏบิ ัติวิชาชีพ ผลงาน
2) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหนักศึกษาได
(o) (3) สามารถใชป ระยุกตใ ชเ ทคโนโลยี ฝก ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข
สารสนเทศในการปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี 3) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหน ักศึกษาได

ฝ  ก ท ั ก ษ ะ ก า ร ใ ช  เ ท ค โ น โ ล ย ี ส า ร ส น เ ท ศ ที่

เกี่ยวขอ ง

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1.แผนการสอน

3

มคอ. 3

สัปดาหที่ หวั ขอ/รายละเอียด จำนวน กิจกรรมการเรยี น ผูส อน
/ วนั ชว่ั โมง การสอน/ส่ือท่ใี ช อ.นงนุช
1
แ น ะ น ำ ว ั ต ถ ุ ป ร ะ ส ง ค  ร า ย ว ิ ช า 1/6 1. อธิบายเปาหมายของวิชา ความสำคัญของ อ.นงนุช
อ. 21 ม.ิ ย. 65 อ.นงนชุ
พฤ. 23 มิ.ย. 65 ความสำคัญของรายวิชา วิธีการเรียน การเรียนวิชาการเขียนแบบกับการนำไปใช อ.นงนชุ

2 การสอน การวัดผลและการประเมินผล ประโยชนในการเรียนและการประกอบวิชาชีพ

อ. 28 ม.ิ ย. 65 หนังสือตำราและเอกสารประกอบการ สถาปนิก
พฤ. 30 มิ.ย. 65
สอนและอธิบายถึงอุปกรณที่ใชในการ 2. การอธิบายโครงการสอน แผนการสอน
3
เรียนการสอนพรอมทัง้ ฝกใชอ ุปกรณ ปฏิทินการศึกษา วัสดุอุปกรณที่ใชในการเรียน
อ. 5 ก.ค. 65
พฤ. 7 ก.ค. 65 ปฏบิ ตั กิ ารในหอ งเรยี น การสอน และเปด โอกาสใหนกั ศึกษาซักถามและ

4 1. ฝกทักษะการใชเครื่องมือและ แสดงความคิดเห็น

อ. 12 ก.ค. 65 อปุ กรณในการเขยี นแบบ 3. ใหนักศึกษาปฏิบัติการใชเครื่องมือและ
พฤ. 14 ก.ค. 65
2. ฝกทักษะการคัดลายมือตัวอักษร อุปกรณใ นการเขียนแบบเบอ้ื งตน
(14 หยุดวนั เขาพรรษา)
สำหรับแบบกอ สราง 4. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนตวั อักษรซึ่งเปน

องคประกอบหนึง่ ในการเขียนแบบกอ สรา งเพือ่

ชวยในการสื่อสารกับบุคคลตางๆที่มีสวน

เกยี่ วขอ ง

หลักการเขียนแบบเบื้องตนและ 1/6 1. บรรยาย หลักการใชเสนในการเขียนแบบ

การศึกษาการเขียนแบบโดยใชอุปกรณ กอ สรา ง

เขียนแบบ 2. ใหนักศึกษาฝกฝนการเขียนลายเสนในแบบ

ปฏบิ ตั กิ ารในหองเรยี น กอสราง

1. ฝกทักษะการเขียนลายเสนในแบบ 3. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนแบบโดยใช

กอสราง อุปกรณเขียนแบบพรอมทั้งเขามาตราสวน

(Scale)

หลักการและขั้นตอนการเขียนภาพ 3 1/6 1. บรรยายทฤษฎี เรื่องการอานแบบและการ

มิติ แบบ ISOMETRIC PROJECTION เขยี นแบบเบ้ืองตน

(1) 2. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ

ปฏบิ ตั กิ ารในหองเรียน เ ข ี ย น ภ า พ 3 ม ิ ต ิ แ บ บ ISOMETRIC

1.ปฏิบัติการเขียนภาพวัตถุแบบ PROJECTION (ครง้ั ที่ 1)

ISOMETRIC PROJECTION 3. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพ 3 มิติ

รปู ทรงแบบ ISOMETRIC PROJECTION

หลักการและขั้นตอนการเขียนภาพ 3 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ

มิติ แบบISOMETRIC PROJECTION เ ข ี ย น ภ า พ 3 ม ิ ต ิ แ บ บ ISOMETRIC

(2) PROJECTION (ครง้ั ที่ 2)

ปฏบิ ัตกิ ารในหองเรยี น 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพ 3 มิติ

1.ปฏิบัติการเขียนภาพอาคารแบบ อาคารแบบ ISOMETRIC PROJECTION

ISOMETRIC PROJECTION

4

มคอ. 3

สัปดาหที่ หัวขอ /รายละเอียด จำนวน กิจกรรมการเรียน ผสู อน
/ วนั ชัว่ โมง การสอน/สอื่ ทีใ่ ช อ.นงนุช
5
หลักการและขั้นตอนการเขียนภาพ 3 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ อ.นงนุช
อ. 19 ก.ค. 65 อ.นงนุช
พฤ. 21 ก.ค. 65 มิติ แบบISOMETRIC PROJECTION เ ข ี ย น ภ า พ 3 ม ิ ต ิ แ บ บ ISOMETRIC
อ.นงนุช
6 (3) และทบทวนความรูทผ่ี า นมา PROJECTION (คร้งั ที่ 3)
อ.นงนุช
อ. 26 ก.ค. 65 ปฏิบตั ิการในหองเรียน 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพ 3 มิติ หอง อ.นงนุช
พฤ. 28 ก.ค. 65
1. ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร ส อ บ เ ข ี ย น ภ า พ ภายในอาคารแบบ ISOMETRIC PROJECTION
(28 หยุดวันเฉลมิ ฯ ร.10)
ISOMETRIC PROJECTION
7
หลักการและขน้ั ตอนการเขยี นภาพฉาย 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ
อ. 2 ส.ค. 65
พฤ. 4 ส.ค. 65 ORTHOGRAPHIC PROJECTION (1) เ ข ี ย น ภ า พ ฉ า ย ORTHOGRAPHIC

8 ปฏิบตั ิการในหองเรียน PROJECTION

อ. 9 ส.ค. 65 1.ปฏิบัติการการเขียนแบบภาพฉาย 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนแบบภาพฉาย
พฤ. 11 ส.ค. 65
วัตถุ วตั ถุ ดวยเครอ่ื งมอื เขียนแบบ
9
หลักการและขัน้ ตอนการเขียนภาพฉาย 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ
อ. 16 ส.ค. 65 ORTHOGRAPHIC PROJECTION และ เ ข ี ย น ภ า พ ฉ า ย ORTHOGRAPHIC
พฤ. 18 ส.ค. 65 OBLIQUE (2) PROJECTION และ OBLIQUE
ปฏิบัติการในหอ งเรียน 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนแบบภาพฉาย
10 1.ปฏิบัติการการเขียนแบบภาพฉาย เ ฟ อ ร  น ิ เ จ อ ร ท ั ้ ง แ บ บ ORTHOGRAPHIC
เฟอรนเิ จอร PROJECTION และ OBLIQUE ดวยเครื่องมือ
อ. 23 ส.ค. 65 เขยี นแบบ
พฤ. 25 ส.ค. 65 หลกั การและข้ันตอนการเขยี นภาพฉาย 1/6
ORTHOGRAPHIC PROJECTION ( 3 ) 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ
เ ข ี ย น ภ า พ ฉ า ย ORTHOGRAPHIC
ปฏบิ ัติการในหองเรยี น PROJECTION
1.ปฏิบัติการการเขียนแบบภาพฉาย 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนแบบภาพฉาย
หองภายในอาคารและอาคาร หองภายในอาคารและอาคาร ดวยเครื่องมือ
หลักการและข้ันตอนการเขยี นภาพฉาย 1/6 เขยี นแบบ
ORTHOGRAPHIC PROJECTION ( 4)
1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ
ปฏบิ ัติการในหองเรยี น เ ข ี ย น ภ า พ ฉ า ย ORTHOGRAPHIC
1. ปฏิบตั กิ ารสอบเขียนภาพฉาย PROJECTION
ก า ร เ ข ี ย น ภ า พ ท ั ศ น ี ย ภ า พ 1/6 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนแบบภาพฉาย
(Perspective) อาคารดวยเคร่ืองมอื เขียนแบบ
ปฏิบัติการในหองเรยี น
1. ปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ
เบอื้ งตน เขยี นภาพทศั นียภาพ (Perspective)
2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ
(Perspective)

5

มคอ. 3

สัปดาหท่ี หัวขอ/รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรียน ผสู อน
/ วนั ชว่ั โมง การสอน/สือ่ ทใี่ ช
11
การเขียนภาพทัศนียภาพภายใน 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ อ.นงนชุ
อ. 30 ส.ค. 65
พฤ. 1 ก.ย. 65 (Interior Perspective) (1) เขยี นภาพทัศนียภาพภายในแบบจุดมมุ มอง

12 ปฏิบตั กิ ารในหองเรยี น 1 จุด (Interior Perspective) (คร้งั ท่ี 1)

อ. 6 ก.ย. 65 1. เขียนภาพทัศนียภาพภายในแบบ 1 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ
พฤ. 8 ก.ย. 65
จุด ภายในแบบจุดมมุ มอง 1 จุด
13
(Interior Perspective)
อ. 13 ก.ย. 65
พฤ. 15 ก.ย. 65 การเขียนภาพทัศนียภาพภายใน 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ อ.นงนุช

14 (Interior Perspective) (2) เขยี นภาพทศั นียภาพภายในแบบจุดมุมมอง

อ. 20 ก.ย. 65 ปฏิบตั กิ ารในหอ งเรียน 2 จดุ (Interior Perspective) (ครง้ั ท่ี 2)
พฤ. 22 ก.ย. 65
1. ปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ
15
ภายในแบบจดุ มมุ มอง 2 จดุ ภายในแบบจุดมุมมอง 2 จดุ
อ. 27 ก.ย. 65
พฤ. 29 ก.ย. 65 (Interior Perspective)

การเขียนภาพทัศนียภาพภายนอก 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ อ.นงนุช

(Exterior Perspective) (1) เขียนภาพทศั นยี ภาพภายนอกแบบจดุ มมุ มอง

ปฏบิ ัติการในหอ งเรยี น 1 จดุ (Exterior Perspective) (ครงั้ ท่ี 1)

1. เขียนภาพทัศนียภาพภายนอกแบบ 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ

1 จดุ ภายในแบบจุดมมุ มอง 1 จุด

(Exterior Perspective)

การเขียนภาพทัศนียภาพภายนอก 1/6 1. บรรยายทฤษฎี หลักการและขั้นตอนการ อ.นงนุช

(Exterior Perspective) (2) เขยี นภาพทศั นยี ภาพภายนอกแบบจดุ มมุ มอง

ปฏิบัติการในหอ งเรียน 2 จุด (Exterior Perspective) (ครงั้ ท่ี 2)

1. ปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการเขียนภาพทัศนียภาพ

ภายนอกแบบจดุ มุมมอง 2 จดุ ภายในแบบจดุ มมุ มอง 2 จุด

(Exterior Perspective)

ทบทวนเนอ้ื หา 1/6 1. ทบทวนเนือ้ หา เพอ่ื ทบทวนความรทู ี่ผา นมา อ.นงนุช

ปฏบิ ตั ิการในหองเรยี น 2. ใหนักศึกษาปฏิบัติการสอบการเขียนแบบ

1.ปฏิบตั ิการสอบการเขียนแบบ สถาปต ยกรรม

(สอบปลายภาค 3 -18 ต.ค. 65)

* บรรยาย/ปฏิบตั ิ (กำหนดอาจมีการเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม)

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู
แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) ของหมวด

วชิ าเฉพาะ สาขาวิชาสถาปต ยกรรมศาสตร

ความรบั ผดิ ชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง

6

มคอ. 3

รายวิชา 1.คุณธรรม 2.ความรู 3. ทักษะทางปญญา 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ
จริยธรรม 12 12345 ความสมั พนั ธ วิเคราะหเชงิ
ตวั เลข การ
123 ระหวา ง ส่ือสารและการใช
บุคคลและ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ความ
รับผดิ ชอบ 123

12

71613101 หลักการกอสรางและการ           
เขียนแบบสถาปต ยกรรม

เกณฑการประเมนิ ผลการเรยี นรู

ผลการ กจิ กรรมการประเมิน กำหนดการประเมิน สัดสว นของการ
เรียนรู (สัปดาหท่ี) ประเมินผล
10%
การเขา ช้ันเรยี น ตลอดภาคการศึกษา
5%
จติ พิสัย ตลอดภาคการศึกษา
20%
การทดสอบเก็บคะแนน ตลอดภาคการศึกษา
65%
การทำชิ้นงานในชนั้ เรียน/การบาน ตลอดภาคการศึกษา

ผลการเรียนรูหลกั 1.2,1.3,2.1,4.1,4.2,5.2
ผลการเรียนรูรอง 1.1,2.2,3.1,3.2,3.3,3.4,3.5,5.1,5.3

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตำราหลัก (เอกสารและตำราหลกั ที่ใชใ นการเรียนการสอน)
- เฉลมิ รตั นทศั นีย. การเขยี นแบบสถาปต ยกรรม. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพแ หง จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั , 2534.
- เอกพงษ จุลเสนยี . หลักการเขียนแบบเบอื้ งตน. กรุงเทพฯ: สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบงั , 2537.
- ชวลิต ดาบแกว. การเขียนทศั นยี ภาพ. กรุงเทพฯ: สปิ ประภา, 2532.
- จรัญพัฒน ภูวนันท. การเขียนแบบสถาปตยกรรม. นครปฐม: โรงพิมพมหาวทิ ยาลัยศิลปากร, 2540.

- รตั นา พงษธา. เขยี นแบบชางกอสรา งภาคปฏบิ ัติ. กรุงเทพฯ: ทวีการพิมพ, 2532.

2. เอกสารและขอมูลสำคัญ (หนังสอื วารสาร รายงาน สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส เว็บไซต กฎระเบียบตางๆ ที่นกั ศกึ ษาจำเปนตอง
ศกึ ษาเพม่ิ เติม)
-

3. เอกสารและขอ มลู แนะนำ (หนังสือ วารสาร รายงาน สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส เว็บไซต กฎระเบยี บตางๆ ทีน่ กั ศึกษาควรศกึ ษา
เพ่มิ เติม)
-

หมวดท่ี 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยทุ ธก ารประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- แบบประเมนิ โดยทางมหาวิทยาลยั

- ขอ มูลจากการสนทนาและสอบถามระหวา งผูสอนและผูเรยี น

7

มคอ. 3
2. กลยทุ ธการประเมินการสอน (วิธกี ารประเมนิ ท่ีจะไดข อ มูลการสอน เชน จากผูสังเกตการณ ทมี ผูสอน หรือผลการเรียนของ
นกั ศึกษา)

- การสังเกตการสอนของผูสงั เกตการณ เชน คณาจารยภายในคณะวิชา
- การประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นและความเขาใจของนกั ศึกษาจากอาจารยผูสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน (กลไกและวธิ กี ารปรบั ปรุงการสอน เชน คณะ/ภาควิชามีการกำหนดกลไกและวธิ ีการปรับปรุงการ
สอน การประชุมเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน)
- การประชมุ คณะวิชาและผสู อน เพื่อรว มกันหาแนวทาง หรอื วางแผนการปรับปรุงการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนกั ศกึ ษาในรายวิชา (กระบวนการที่ใชในการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ของ
นกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรขู องรายวิชา เชน ทวนสอบจากคะแนนขอสอบ หรอื งานทมี่ อบหมาย)
- การตัง้ คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบการประเมนิ การเรยี นรูของนักศึกษา โดยตรวจสอบขอ สอบ ผล
การใหคะแนน และวธิ ีการใหคะแนน
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธผิ ลของรายวชิ า (กระบวนการในการนำขอ มูลที่ไดจ ากการประเมิน
จากขอ 1 และ 2 มาวางแผนเพอ่ื ปรับปรุงคุณภาพ)
- การปรบั ปรุงวธิ กี ารสอน และการใหค ะแนนรายวิชาในทกุ ๆปการศึกษา ตามขอ เสนอแนะ

8


Click to View FlipBook Version