The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

O4 แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัด 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanniga.tong, 2022-05-18 00:59:36

O4 แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัด 65

O4 แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัด 65

แผนปฏิบตั ิการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม
จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ ปี ๒๕๖5

ส่วนที่ ๑ บทสรปุ ผูบ้ รหิ าร

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 ของสานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนา
ภาคอุตสาหกรรมและยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
อนั นาไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมและสร้างรายได้ให้กับประชาชนโดยคานึงถึงความ
สอดคล้องเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี นโยบายของรัฐบาล นโยบายกระทรวงอุตสาหกรรม แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้สอดคล้องกับบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไป
ตลอดจนการพิจารณาและวิเคราะห์บริบทท่ีเก่ียวข้อง (SWOT Analysis) การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและ
ภายนอก จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคในมิติต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อแนวโน้มอุตสาหกรรมของจังหวัด
ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ซ่ึงถือเป็นหัวใจสาคัญในการให้บริการ และจากการวิเคราะห์ดังกล่าว
จงึ นาไปสู่การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ตัวชวี้ ัด และแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม
ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจาปี ๒๕๖5 สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยมุ่งเน้น
การพัฒนานโยบาย การผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติ การกากับดูแลและส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อการพัฒนา
อุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน ยึดหลักธรรมาภบิ าลในการดาเนินงานควบค่กู ับการกากับดูแลส่ิงแวดลอ้ มตามภารกิจ
ของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์อย่างย่ังยืน อย่างไรก็ตามปัจจัยสาคัญในการพัฒนาที่
ขาดไม่ได้คือการพัฒนาองค์กรและบุคคลากรของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ให้ทันต่อการ
เปลีย่ นแปลงและเพิ่มประสทิ ธภิ าพการใหบ้ ริการอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยมขี อบเขต ดงั น้ี

วสิ ยั ทัศน์
“ยกระดับอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้ได้มาตรฐาน พัฒนาด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ธรรมาภิบาล
สิง่ แวดลอ้ มเพ่ือชุมชนสมั พันธ์”

พันธกิจ
๑. บูรณาการทุกภาคส่วนเพ่ือดาเนินตามยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมให้สัมฤทธ์ิผล

รวมทัง้ ติดตามและประเมนิ ผลอยา่ งต่อเน่อื ง
๒. ส่งเสรมิ พฒั นาอตุ สาหกรรมในจังหวัดใหเ้ ปน็ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์
๓. กากับดูแลสถานประกอบการอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้มีการพัฒนาอย่างสมดุลและ

ยง่ั ยืนเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
๔. สร้างมาตรฐานดา้ นสุขลักษณะสว่ นบคุ คลเพื่อความปลอดภัยในสถานประกอบการ

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๑

ส่วนที่ ๒ ความสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐

๒.๑ ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ ๑)

๑) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

(๑) เปา้ หมาย ประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแข่งขันสงู ขึน้

(๒) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ อตุ สาหกรรมและการบรกิ ารแห่งอนาคต

(๓) การบรรลุเป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ชาติ
แผนการสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพของอตุ สาหกรรมในภูมิภาค เพ่ือให้เกดิ การ

ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สามารถตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาล
ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รวมทั้งสามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการท่ีแท้จริงของผู้ประกอบการและประชาชน ในการรับมือกับการแข่งขันทางการค้า และการลงทุน ท่ีมี
ความรุนแรงมากข้ึนในภาวการณ์ท่ีประเทศไทยไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกกระทบจากมาตรการด้านสังคม
และสง่ิ แวดล้อมอย่างไมเ่ ป็นธรรม จากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคต่าง ๆ การพัฒนาภาคการผลิตและ
บรกิ าร บนฐานของการพฒั นานวตั กรรมและมคี วามเปน็ มิตรต่อสิง่ แวดลอ้ มมีรายละเอียด ดังน้ี

๑. การใช้ดิจิทัลและการค้าท่ีเข้มข้น เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมและขยายกิจกรรมการ
ผลติ และบรกิ าร โดยมุ่งสู่ความเป็นเลศิ ในระดับโลกและในระดับภูมิภาคในอุตสาหกรรมหลายสาขา และในภาค
บริการท่ีหลากหลายตามรูปแบบการดาเนินชีวิตและการดาเนินธุรกิจที่เปล่ียนไป รวมทั้งเป็นแหล่งอาหาร
คุณภาพ สะอาดและปลอดภยั ของโลก

๒. การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ
ยกระดับผลิตภาพแรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สู่สากล และพัฒนาวิสาหกิจ
ชุมชนและสถาบันเกษตรกร การดาเนินตามแผนดังกล่าวจะสอดคล้องกับนโยบายการปรับโครงสร้าง
ท า ง เศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม ข อ ง รั ฐ บ า ล ใ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ข อ ง
ภาคอุตสาหกรรมรวมท้ังส่งเสริมให้ผู้พัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ ทั้งในกระบวนการผลิต
และการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของผู้บริโภค และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ตลอดจนส่งเสรมิ ให้มีการสรา้ งตราสนิ ค้า

๒) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

(๑) เป้าหมาย ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจเติบโตอย่างมี
เสถียรภาพและยงั่ ยืน

(๒) ประเด็นยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า (เกษตรกรอัตลักษณ์พ้ืนถิ่น

เกษตรแปรรูป)

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าท่ี ๒

(๓) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
ประเทศไทย ๔.๐ กาลังปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value-Based

Economy” หรือ “เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานหลักคิดคือ เปล่ียนจากการผลิตสินค้า
“โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การ
ขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยีความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รักษา
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้างความเช่ือม่ัน การส่งเสริมการค้าและการลงทุนท่ีอยู่บนการแข่งขันท่ี
เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนการพัฒนาประเทศสู่ความเป็นชาติการค้า เพื่อให้ได้ประโยชน์จาก
ห่วงโซ่มูลค่าในภูมิภาค และเป็นการยกระดับไปสู่ส่วนบนของห่วงโซ่มูลค่ามากขึ้นด้วยเหตุน้ีจึงต้องเปลี่ยน
วิธีการสาคัญ คอื

๑. เปล่ียนจากเกษตรแบบด้ังเดิมในปัจจุบันไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการ
บริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรต้องม่ันคงข้ึนและเป็นเกษตรกรแบบเป็น
ผู้ประกอบการ ท้ังนี้เพ่ือให้เกิดผลจริงจะต้องมีการพัฒนาวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยพัฒนา ต่อยอดในกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยเฉพาะ
กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยี ชีวภาพ

๒. การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ บนฐานของการพัฒนานวัตกรรมและ
มีความเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยมีการใช้ดิจิทัลและการค้าที่เข้มข้น เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรม
การผลติ และบริการ โดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศในระดับโลกและในระดับภูมิภาคในอุตสาหกรรมหลายสาขา และใน
ภาคบริการที่หลากหลายตามรูปแบบการดาเนินชีวิตและการดาเนินธุรกิจท่ีเปล่ียนไป รวมทั้งเป็นแหล่งอาหาร
คุณภาพ สะอาดและปลอดภยั ของโลก

เพ่ือให้เกิดการพัฒนาประเทศภายใต้โมเดล “ประเทศไทย 4.0” เพื่อให้
ประเทศไทยหลดุ พน้ จากประเทศกาลงั พฒั นากลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างแท้จรงิ

๒.๒ แผนระดบั ท่ี ๒

๒.๒.๑ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น อตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต

๑) เปา้ หมายระดับประเด็นของแผนแม่บทฯ

• เป้าหมายที่ ๑ ผลิตภาพการผลติ ของภาคอตุ สาหกรรมและภาคบริการเพิ่มขน้ึ

• การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ อัตราการขยายตัวของผลิตภาพ
การผลติ ภาคอตุ สาหกรรมร้อยละ ๒.๕

การสร้างอุตสาหกรรมและการบริการแห่งอนาคต โดยการส่งเสริมและ
พัฒนาอุตสาหกรรม และพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
วิสาหกิจชุมชน และผู้ให้บริการธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มีสมรรถนะและขีดความสามารถในการประกอบการท่ีดี
มีความย่ังยืนและมีขีดความสามารถในการแข่งขันสู่สากล โดยมีแนวทางการพัฒนาท่ีให้ความสาคัญกับการ
พัฒนากลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคตท่ีสามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมได้ทั้งในภาคเกษตร อุตสาหกรรมท่องเท่ียว
การบรกิ าร การขบั เคล่ือนด้วยอุตสาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าท่ี ๓

การพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ให้มีบทบาทต่อเศรษฐกิจเพ่ิมข้ึน
โดยการส่งเสริมผู้ประกอบการแบบครบวงจร ตั้งแต่การเสริมสร้างความรู้และทักษะในการดาเนินธุรกิจให้แก่
ผู้ประกอบการใหม่ การบ่มเพาะโดยผ่านศูนย์บ่มเพาะต่าง ๆ การเสริมสร้างความเข้มแข็งและผลิตภาพให้กับ
SMEs โดยการพัฒนาองค์ความรู้และการให้คาปรึกษาแนะนาในด้านการพัฒนามาตรฐานต่าง ๆ การนา
เทคโนโลยี นวัตกรรม และ Digital และ IT การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสินค้า เพ่ิมช่องทาง
แกล่ ูกคา้ และเพ่มิ มลู คา่ ใหก้ บั สินค้าและบริการ

การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การบริการ
และผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมโดยการเกษตรสร้างมูลค่า การยกระดับอุตสาหกรรมเกษตร และ
เกษตรแปรรูปตลอดทั้งโซ่อุปทาน การยกระดับมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพ่ิมและผลิต
ภาพท่ีสูงขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม นาไปสู่การทดสอบความต้องการทางการตลาด และต่อยอด
งานวจิ ยั สู่เชงิ พาณชิ ย์

๒) แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ

• แนวทางการพฒั นา อตุ สาหกรรมและบรกิ ารดจิ ิทลั ข้อมลู และ
ปญั ญาประดิษฐ์

• เปา้ หมายของแผนย่อย
๑. สถานประกอบการมีการเปล่ยี นแปลงในการนาระบบอัตโนมตั ิและ

หุ่นยนต์ อเิ ล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อินเตอร์เน็ตในทุกส่งิ และเทคโนโลยีใหมๆ่ ในอนาคต ตามระดบั ความพร้อม
ของผปู้ ระกอบการทั้งดา้ นเกษตรอตุ สาหกรรม และบรกิ าร

๒. บุคลากรท้งั ทางด้านผ้ใู ช้ ผผู้ ลติ และผู้ใหบ้ รกิ ารในภาคส่วนตา่ ง ๆ
ได้รับการพฒั นาให้มีทักษะและความเชย่ี วชาญดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ข้อมลู และปัญญาประดษิ ฐ์

• การบรรลุเปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ
๑. การยกระดับความสามารถ และพัฒนาบุคลากรท้ังทางด้านผู้ใช้

ผู้ผลิต และผู้ให้บริการในภาคส่วนต่าง ๆ ให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และ
ปัญญาประดิษฐ์ การช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
ให้เรียนรู้ทักษะใหม่และการปรับตัวเข้ากับการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีได้โดยการจัดการฝึกอบรมให้ความรู้
ด้านดิจิทัลในการประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งทางด้าน Software และ Hardware ให้กับผู้ผลิต
ผ้ใู หบ้ รกิ ารในภาคส่วนต่าง ๆ

๒. การสร้างความตระหนักรู้และสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยี
ดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ซ่ึงครอบคลุมถึงระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง และเทคโนโลยีใหม่ๆ ในอนาคต ตามระดับความพร้อมของผู้ประกอบการท้ังด้านเกษตร
อุตสาหกรรม และบริการ เพ่ือเป็นการยกระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ และเป็นการ
สร้างตลาดของอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ โดยการจัดฝึกอบรมและ
ให้คาปรึกษาแนะนาในสถานประกอบการ โดยท่ีปรึกษาและผู้เช่ียวชาญตามสาขาต่าง ๆ ในการปรับเปลี่ยน
เทคโนโลยที ่ใี ช้ในการผลิตและการบรกิ าร

๓. การส่งเสริมให้มีการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล
และปัญญาประดิษฐ์ทั้งในประเทศ และจากต่างประเทศ และสนับสนุนการสร้างคลัสเตอร์ ของอุตสาหกรรม
และบริการเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาป ระดิษฐ์ รวมถึงสนับสนุนให้มีกลไกเพื่อผลักดัน
การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมและบริการดจิ ิทัล และปัญญาประดิษฐ์ท้ังระบบแบบครบวงจรโดยการให้ข้อมูลของ
สถาบนั การเงินในการใหส้ ินเชอื่ การลงทุน และการพฒั นาสถานประกอบการในดา้ นดงั กลา่ ว

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๔

3) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ

• แนวทางการพฒั นา การพัฒนาระบบนเิ วศอุตสาหกรรมและบริการแห่ง
อนาคต

• เป้าหมายของแผนย่อย
๑. เกิดการเช่ือมโยงต้ังแต่ต้นน้าถึงปลายน้าในภาคอุตสาหกรรมเกษตร

และเกษตรแปรรูป โดยมเี ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่สนับสนุนภาคอตุ สาหกรรม
๒. การพัฒนาพื้นท่ีเมือง ชนบท พื้นท่ีเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม

เชงิ นิเวศใหม้ กี ารจัดการมลพิษท่ีมผี ลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน และคา่ มาตรฐานสากล

• การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ
๑. การผลิตและพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรม และบริการโดยการ

เชื่อมโยงภาคการศึกษากับภาคอุตสาหกรรมและบริการให้ตอบสนองความต้องการของแต่ละสาขาข อง
อุตสาหกรรมและบริการสนับสนุนการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตของอุตสาหกรรมและบริการตลอดห่วงโซ่มูลค่า
โดยมีการเช่ือมโยงตั้งแต่ต้นน้าถึงปลายน้าโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมและ
จดั ให้มีแผนพัฒนาแรงงานในทุกระดบั แรงงานฝีมือ ผ้เู ช่ียวชาญ และผู้ประกอบการตลอดจนส่งเสริมการนาเข้า
บุคลากรทีข่ าดแคลนจากตา่ งประเทศทม่ี ีทักษะในอุตสาหกรรมใหม่

๒. พัฒนาอุตสาหกรรม และบริการที่เก่ียวข้อง วิสาหกิจชุมชน และ
ชุมชนท้องถิ่นตลอดจนพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมในพื้นที่ที่เหมาะสมโดยการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนในการเฝ้าระวังและดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม มีการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบนิเวศที่เป็น
มาตรฐานโดยใช้เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์และเคร่ืองมือทางการคลังที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบ
โดยผู้ใชป้ ระโยชน์หรอื ตอ่ ผ้ทู าความเสียหายต่อทรัพยากร ส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์ท่เี ปน็ มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม

๒.๒.๒ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านเศรษฐกจิ

๑) เรื่อง/ประเดน็ การปฏริ ปู การเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขัน

๒) ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
- ศึกษาข้อมูลสถานประกอบการ ๓ ประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่
อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ และ
อุตสาหกรรมอาหาร
- ดาเนินการคดั เลอื กกลุ่มเปา้ หมายสถานประกอบการทัง้ ๓ ประเภทอตุ สาหกรรม
- การดาเนินการเขา้ สารวจความต้องการในการพัฒนาของสถานประกอบการ
- สรปุ ข้อมูลความตอ้ งการพัฒนาสถานประกอบการ
- คดั เลือกทมี ผ้เู ชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษาจับคูส่ ถานประกอบการจัดทาแผนการดาเนนิ งาน
- ทีมที่ปรึกษาเข้าดาเนินการพัฒนาสถานประกอบการตามความต้องการ
- ติดตามผลการดาเนนิ การพัฒนาสถานประกอบการ
- สรุปผลการพัฒนาสถานประกอบการ

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๕

๓) กจิ กรรม
- การศึกษาข้อมูลสถานประกอบการในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จานวน ๓๐
สถานประกอบการ
- การคัดเลือกสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการจานวน ๑๐ สถาน
ประกอบการ
- การดาเนินการตดิ ตามผลการดาเนินงานโดยคณะกรรมการ
- การสรุปผลการดาเนนิ โครงการพัฒนาสถานประกอบการ

๔) เปา้ หมายกิจกรรม
สถานประกอบการในจังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ไดร้ บั การพัฒนา จานวน ๑๐ ราย

๒.๒.๓ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒

๑) วัตถุประสงค์ เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความ
ย่ังยืน สร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากขึ้น
สรา้ งความเข้มแขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานราก และสรา้ งความม่นั คงทางพลังงาน อาหาร และน้า

๒) เป้าหมายรวม ระบบเศรษฐกิจมคี วามเขม้ แขง็ และแข่งขันได้

๓) ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขันไดอ้ ยา่ งย่ังยืน

3.1 เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ที่ ๑ เศรษฐกิจขยายตัวอย่างมี
เสถียรภ าพ และย่ังยืน เป้าหมายท่ี ๑ เศรษฐกิจเติบโตได้
ตามศักยภาพ ประชาชนมคี วามเป็นอยแู่ ละคุณภาพชวี ิตทดี่ ีข้ึน

3.2 แนวทางการพัฒนาท่ี ๑. การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ของภาคการผลิตและบรกิ าร

3.3 แนวทางการพัฒนาท่ี ๒. สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางวิชาการ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
การเกษตรแบบมีส่วนร่วม

(๔) ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจและแขง่ ขนั ไดอ้ ย่างยงั่ ยนื

๔.๑ เป้าหมายระดับยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างความเขม้ แข็งให้เศรษฐกิจ
รายสาขา เป้าหมายท่ี ๕ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมีบทบาท
ต่อระบบเศรษฐกจิ เพ่ิมมากข้นึ

๔.๒ แนวทางการพัฒนาท่ี ๑. การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขันของภาคการผลติ และบริการ

๔.๓ แนวทางการพัฒนาท่ี ๒. วางรากฐานการพัฒนาอุตสาหกรรม
สาหรับอนาคต

๔.๔ แนวทางการพัฒนาท่ี ๓. วางแผนและพัฒนากาลังคนรองรับ
อุตสาหกรรมอนาคต

๔.๕ แนวทางการพัฒนาท่ี ๔. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและเทคโนโลยี
รองรับอุตสาหกรรมอนาคต

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๖

๒.๒.๔ นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความมั่นคงแหง่ ชาติ
๑) นโยบายความมัน่ คงแหง่ ชาติท่ี -
๒) แผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ รองรบั นโยบายท่ี -
๓) เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์ -
๔) ตัวช้วี ดั -
๕) กลยทุ ธ์ -

๒.๓ แผนระดบั ท่ี ๓ ท่เี กีย่ วข้อง

▪ แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕) ของกระทรวงอุตสาหกรรม
▪ แผนปฏบิ ัติราชการรายปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของกระทรวงอุตสาหกรรม
▪ แผนพฒั นาจงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
▪ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ –

๒๕๖๔ (ฉบับทบทวน)
▪ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 -

2580) โดย สานกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม
▪ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒ นาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตโดย

สานกั งานเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
▪ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร พ.ศ. 2562 – 2579

โดย สานักงานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
▪ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ด้ า น ก า ร พั ฒ น า เมื อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม เชิ ง นิ เว ศ โด ย

กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
▪ แผนปฏิบัติการด้านดิจิทัล ของกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2563 – 2565 โดย

สานกั งานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม

----------------------------------------------------------------

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๗

สว่ นท่ี ๓ สาระสาคญั ของแผนปฏบิ ตั ิการ ดา้ นการพฒั นาอตุ สาหกรรม จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ปี ๒๕65

พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ หมวด ๓
มาตรา ๙ ระบุวา่ “การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกจิ ของรัฐฯ ส่วนราชการก่อนจะดาเนนิ การ
ตามภารกิจใดต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้ล่วงหน้า โดยต้องมีรายละเอียดขั้นตอน ระยะเวลา และ
งบประมาณที่ต้องใช้ในการดาเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิของภารกิจ และ
ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของงาน” มาตรา ๑๖ ระบุวา่ “ให้สว่ นราชการจดั ทาแผนปฏิบตั ิราชการ โดยจดั ทาเปน็ แผน
สี่ปีซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนการบริหารแผ่นดินโดยระบุในแต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจาปโี ดยระบสุ าระสาคญั เก่ียวกับนโยบายการปฏิบตั ิราชการของสว่ นราชการ เป้าหมาย
และผลสัมฤทธิ์ของงานรวมท้ังประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรี
เพื่อใหค้ วามเห็นชอบ

สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนา
อุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี ๒๕๖5 เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายของแผนท้ัง 3 ระดับ และ
รองรับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตามบรบิ ทของจังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ที่กาหนด
ตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ของจังหวัดที่สอดคล้อง และสอดคล้องกับการกาหนดตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ของ
จังหวัดที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ รวมท้ังใช้ยึดถือปฏิบัติตามภารกิจ และเป้าหมายร่วมเพื่อให้สามารถ
บรรลผุ ลสัมฤทธิ์ตามนโยบายจังหวัด กระทรวงอตุ สาหกรรม และนโยบายรัฐบาลต่อไป

๓.๑ การประเมินสถานการณ์ ปัญหา และความจาเป็นของแผนปฏิบัติการ ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม
จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ปี ๒๕๖5

3.1.1 ข้อมลู สภาพท่ัวไปของจงั หวัด
1. ท่ตี ั้งและอาณาเขต
จังหวัดประจวบคีรีขนั ธเ์ ปน็ จงั หวดั หนึง่ ใน 25 จังหวัดภาคกลางของประเทศไทยอยู่ระหว่างเส้น

ร้งุ ท่ี 12 องศา 31 ลิปดาเหนอื เสน้ แวงที่ 99 องศา 9 ลิปดาตะวนั ออก กบั 100 องศา 1 ลปิ ดาตะวันออกอยู่ทาง
ทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร ประมาณ 325.3 กิโลเมตร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นจังหวัดขนาดกลาง มีพื้นท่ี
6,367.62 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,979,762.50 ไร่ ความยาวของจังหวัดจากทิศเหนือ
จดทิศใต้ประมาณ 212 กิโลเมตร ส่วนแคบท่ีสุดของประเทศและจังหวัดอยู่ในเขตตาบลคลองวาฬ อาเภอเมือง
ประจวบคีรีขันธ์ จากอ่าวไทยถึงแนวพรมแดนไทย-เมียนมา ประมาณ 12 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัด
ใกล้เคียงและสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมา ดังน้ี

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับอาเภอชะอา อาเภอท่ายาง อาเภอแกง่ กระจาน จังหวดั เพชรบรุ ี
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอปะทิว อาเภอทา่ แซะ จงั หวดั ชุมพร
ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ทะเลอ่าวไทย ความยาวชายฝงั่ ทะเลประมาณ 224.8 กโิ ลเมตร
ทิศตะวันตก ติดต่อสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมา โดยมีเทอื กเขาตะนาวศรีเปน็ พรหมแดนทางธรรมชาติ

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๘

2. ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะโดยท่ัวไปของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทิศตะวันตกเป็นเทือกเขาตะนาวศรีซึ่งกั้น
พรมแดนระหว่างไทยกับเมียนมาลาดเอียงลงสู่ทะเลอ่าวไทยด้านตะวันออก และมีเทือกเขาและภูเขาอยู่ทั่วไป
ทัง้ บริเวณตอนกลางและบรเิ วณชายฝ่ังทะเลของจังหวัด เทือกเขาที่สาคัญ ได้แก่ เทือกเขาสามร้อยยอด ความสูงโดย
เฉล่ียของเทือกเขาด้านตะวันตกประมาณ 750 เมตร เหนือระดับน้าทะเลสูงสุด 1,215 เมตร และต่าสุด 306
เมตร ส่วนความสูงจากระดับน้าทะเลแถบชายฝ่ังตะวันออกโดยเฉล่ียประมาณ 1 – 5 เมตร จากความลาดชันสูง
ก่อให้เกิดลาห้วยหลายสายไหลลงสู่คลองและแม่น้า ได้แก่ แม่น้าปราณบุรี แม่น้ากุย บุรี คลองบางสะพาน
คลองบางนางรม และคลองกรดู และในทะเลอ่าวไทยใกลช้ ายฝ่งั มีเกาะรวม 21 เกาะ (กรมแผนทท่ี หาร)

3. ลกั ษณะภูมิอากาศ
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์อยู่ในเขตมรสุมร้อนช้ืน มี 3 ฤดูกาล ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ กลางเดือน
กุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่ กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ฤดูหนาว
เริม่ ตง้ั แต่ กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ อากาศโดยทั่วไปไม่ร้อนไมห่ นาวจนเกนิ ไป ความชื้นเฉล่ียอยู่ใน
เกณฑ์ค่อนข้างสูงเน่ืองจากอยู่ใกล้ทะเล ในปี 2562 มีปริมาณน้าฝน 855.6 มิลิเมตร/ปี ปริมาณฝนสูงสุด 125.9
มิลลิเมตร/วัน จานวนวนั ที่ฝนตก 95 วนั อุณหภูมเิ ฉลีย่ 27.8 องศาเซลเซยี ส (เฉลยี่ ตา่ สุด 21.8 องศาเซลเซยี ส เฉลีย่ สูงสุด
35.8 องศาเซลเซียส) ความชน้ื สัมพัทธเ์ ฉลย่ี 78.0 % (เฉล่ียตา่ สดุ 50.1 % เฉล่ยี สงู สุด 95.2 %)

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าท่ี ๙

4. การปกครอง/ประชากร
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ แบ่งการปกครองออกเป็น 8 อาเภอ 48 ตาบล 435 หมู่บ้าน
มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 61 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล 16 แห่ง
(เทศบาลเมอื ง 2 แหง่ และเทศบาลตาบล 14 แหง่ ) และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล 44 แหง่
ประชากร ณ ส้ินเดือนพฤษภาคม 2563 มีจานวน ประชากรรวม 553,695 คน แยกเป็นชาย
274,669 คน คิดเปน็ 49.60 % เพศหญิง 279,026 คน คิดเปน็ 50.40 % อาเภอที่มีประชากรเรียงตามลาดับจากมาก
ไปน้อย คือ อาเภอหัวหิน จานวน 121,676 คน รองลงมา คือ อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จานวน 91,586 คน อาเภอ
ปราณบุรี จานวน 78,755 คน อาเภอบางสะพาน จานวน 77,235 คน อาเภอสามร้อยยอด จานวน 50,516 คน อาเภอ
ทับสะแก จานวน 49,982 คน อาเภอกุยบุรี จานวน 43,779 คน และ อาเภอบางสะพานนอ้ ย จานวน 40,166 คน

5. ลักษณะทางสังคม
5.1 การศึกษา

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีสถานศึกษาจาแนกตามสังกัด ท้ังหมด 427 แห่ง แยกเป็นสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) 228 แห่ง สานักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(สช.) 36 แห่ง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 6 แห่ง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
1 แห่ง โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) 21 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
(ศพด.) 126 แหง่ สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) 1 แหง่ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ (สตช.) 8 แหง่

5.2 การสาธารณสุข
สถานบรกิ ารสาธารณสุขภาครัฐและเอกชน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ รวมทั้งสนิ้ 95 แหง่ แยกเปน็ สถาน
บริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย โรงพยาบาลท่ัวไป (ระดับ S) จานวน 2 แห่ง (โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์
และโรงพยาบาลหัวหิน) โรงพยาบาลชุมชนขนาด 150 เตียง (ระดับ M2) จานวน 1 แห่ง (โรงพยาบาลบางสะพาน)
โรงพยาบาลชุมชน 60 เตียง (ระดับ F2) จานวน 3 แห่ง (โรงพยาบาลปราณบุรี สามร้อยยอด และทับสะแก)
โรงพยาลบาลชุมชน 30 เตียง (ระดับ F2) จานวน 2 แห่ง (โรงพยาบาลกุยบุรี และบางสะพานน้อย) โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล จานวน 81 แห่ง ครอบคลุมทุกตาบล และศูนย์สุขภาพชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 3 แห่ง คือ
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม 2 แห่ง (โรงพยาบาลค่ายธนะรัชต์และโรงพยาบาลกองบิน 5) โรงพยาบาลสังกัด
สานกั งานบรรเทาทกุ ข์ และประชานามยั พิทักษ์ (สถานีกาชาดหวั หนิ เฉลิมพระเกยี รติ) สถานบริการภาคเอกชน ประกอบด้วย
โรงพยาบาลเอกชน จานวน 2 แห่ง (โรงพยาบาลซานเปาโลหัวหินและโรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน) และคลินิกเอกชน จานวน
196 แห่ง (กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์, 22 มิถุนายน
2563) รวมจานวนเตยี งทั้งสนิ้ 1,407 เตียง (เตียงต่อประชากร = 1:934) ( ข้อมลู ณ 19 มกราคม 2563 )

5.3 ศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือศาสนาอิสลาม และศาสนาคริสต์ตามลาดับ
ผู้นับถือศาสนาพุทธ จานวน 545,426 คน คิดเป็น 98.50 % มีวัดจานวน 239 แห่ง เป็นสานักสงฆ์ 73 แห่ง
เป็นมหานิกาย 219 แห่ง ธรรมยุต 20 แห่ง มีวัดท่ีเป็นพระอารามหลวง 4 แห่ง วัดร้าง 1 แห่ง สานักปฏิบัติธรรม
26 แห่ง (มหานกิ าย 24 แห่ง ธรรมยตุ 2 แห่ง) โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา วัดธรรมมกิ ารามวรวิหาร
1 แห่ง จานวนพระภิกษุท้ังสองนิกาย 1,654 รูป มหานิกาย 1,560 รูป ธรรมยุต 94 รูป จานวนสามเณรทั้งสอง
นิกาย 97 รูป เป็นมหานิกาย 60 รปู ธรรมยุต 37 รูป ศาสนาอสิ ลาม 4,965 คน คิดเป็น 0.90 % มัสยดิ 13 แห่ง
ศาสนาครสิ ต์ 3,304 คน คิดเป็น 0.60 % โบสถ์ 35 แหง่

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๑๐

6. โครงสร้างพ้ืนฐาน
6.1 ไฟฟ้า

ในปี พ.ศ. 2563 (พฤษภาคม) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีจานวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ จานวน
225,702 ครัวเรือน จาแนกเป็นรายอาเภอ ดังนี้ อาเภอท่ีมีจานวนผู้ใช้ไฟฟ้ามากที่สุด คือ อาเภอหัวหิน มีจานวน
ผู้ใช้ไฟฟ้า 73,860 ครัวเรือน รองลงมาคือ อาเภอปราณบุรี 41,271 ครัวเรือน อาเภอบางสะพาน 41,195
ครัวเรือน อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ 35,623 ครัวเรือน อาเภอทับสะแก 19,326 ครัวเรือน และอาเภอกุยบุรี
14,427 ครัวเรือน

6.2 ประปา
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์อยู่ในเขตความรับผิดชอบของสานักงานประปา เขต 3 ราชบุรี
การประปาส่วนภูมิภาคท่ีให้บริการชุมชนในจังหวัดมี 4 แห่ง และเป็นบริการประปาของเทศบาลหัวหิน 1 แห่ง
มปี ริมาณการผลิตน้า รวม 57,255,164 ลูกบาศกเ์ มตร ประกอบด้วย
- การประปาประจวบคีรีขันธ์ แหล่งจ่ายน้าประปา 2 แห่ง คือ อ่างเกบ็ นา้ คลองบึง และอ่างเก็บ
น้ายางชุม ใช้แหลง่ น้าดบิ กาลงั การผลติ 600 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ช่วั โมง (5,184,000 ลบ.ม./ปี)
- การประปาปราณบุรี แหล่งจ่ายน้าประปา 4 แห่ง ใช้แหล่งน้าดิบ 2 แห่ง คือ เข่ือนปราณบุรี
และแม่นา้ ปราณบรุ กี าลังการผลิต 1,650 ลกู บาศกเ์ มตรต่อชัว่ โมง (14,256,000 ลบ.ม./ป)ี
- การประปากุยบุรี แหล่งจ่ายน้าประปา 1 แห่ง ใช้แหล่งน้าดิบจากแม่น้ากุยบุรี กาลังการผลิต
1,050 ลกู บาศกเ์ มตรต่อชว่ั โมง (6,702,564 ลบ.ม./ป)ี
- การประปาบางสะพาน แหล่งจ่ายน้าประปา 3 แห่ง ใช้แหล่งน้าดิบจากคลองบางสะพาน
คลองร่อนทอง อ่างเก็บน้าช่องลม และอ่างเก็บน้าช้างแรก กาลังการผลิต 450 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
(3,650,000 ลบ.ม./ป)ี
- การประปาเทศบาลเมืองหัวหินเป็นหน่วยงานในสังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน รับน้าดิบจาก 2 แหล่ง
คือปราณบุรีและเขื่อนแก่งกระจาน มีกาลังการผลิตรวม 3,420 ลูกบาศก์เมตรต่อช่ัวโมง (24,462,600 ลบ.ม./ปี)
จา่ ยนา้ ใหเ้ ทศบาลเมืองหวั หินและบรเิ วณใกลเ้ คียง

3.1.2 การวเิ คราะหส์ ภาวการณแ์ ละศกั ยภาพ
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) เศรษฐกิจจังหวัด

ประจวบคีรีขันธ์โดยรวม ปี 2561 พิจารณาจากผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ปี 2561 ณ ราคาประจาปี
มมี ูลคา่ เท่ากับ 93,381 ล้านบาท ลดลงจาก 94,029 ล้านบาท ในปีท่ีผ่านมาเท่ากบั 647.5 ล้านบาท อตั ราการ
ขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงทีใ่ นปี 2561 ขยายตัวรอ้ ยละ 3.5 เม่อื เทยี บกับปที ีผ่ ่านมา และผลติ ภัณฑจ์ ังหวัด
ตอ่ หัว (GPP Pre Capita) ค่าเฉล่ยี ต่อหวั ของประชากร ในปี 2561 เท่ากบั 191,306 บาท/คน/ปี ลดลงเมื่อเทียบ
กับปีท่ีผ่านมา คิดเป็นร้อยละ -0.7 โครงสร้างทางเศรษฐกิจหลัก พิจารณาจากตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ปี
2561 ณ ราคาประจาปี ประกอบด้วยสาขาการผลิตท่ีสาคัญ 5 สาขา ตามลาดับ คือ สาขาอุตสาหกรรม ซึ่งมี
สัดส่วนสูงท่ีสุดร้อยละ 24.1 รองลงมา ได้แก่ สาขาเกษตรกรรม ร้อยละ 19.2 สาขาท่ีพักแรมและบริการด้าน
อาหาร มีสัดส่วนร้อยละ 12.8 สาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ มีสัดส่วนร้อยละ 11.8 สาขากิจกรรมทางการเงิน
และการประกันภัย มสี ัดสว่ นรอ้ ยละ 5.0 และสาขาอนื่ ๆ มีสดั ส่วนรวมรอ้ ยละ 26.9

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๑๑

ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ปี 2560 ณ ราคาประจาปี

กิจกรรมการผลิต มูลค่าลา้ นบาท ร้อยละของ GPP
สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง
17,960 19.2

สาขาการทาเหมอื งแร่ และเหมอื งหนิ 761 0.8

สาขาอตุ สาหกรรม 22,548 24.1

สาขาไฟฟา้ ก๊าซ ไอน้า และระบบปรบั อากาศ 1,637 1.8

สาขาการจดั หาน้า การจัดการ และการบาบัดน้าเสีย ของเสีย และสงิ่ ปฏกิ ูล 287 0.3

สาขาก่อสร้าง 4,296 4.6

สาขาการขายสง่ และการขายปลีก การซ่อมยานยนตแ์ ละจักรยานยนต์ 11,062 11.8

สาขาการขนสง่ และสถานทีเ่ ก็บสนิ คา้ 3,385 3.6

สาขาท่พี ักแรม และบริการด้านอาหาร 11,999 12.8

สาขาข้อมลู ขา่ วสารและการสื่อสาร 948 1.0

สาขาทางการเงนิ และการประกนั ภัย 4,680 5.0

สาขากจิ กรรมอสังหาริมทรพั ย์ 3,168 3.4

สาขากจิ กรรมทางวิชาชพี วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 225 0.2

สาขากจิ กรรมการบริหารและการบรกิ ารสนับสนุน 1,170 1.2

สาขาการบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกนั สงั คมภาคบังคับ 3,500 3.7

สาขาการศึกษา 2,562 2.7

สาขากจิ กรรมด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 2,005 2.1

สาขาศิลปะ ความบนั เทิง และนนั ทนาการ 488 0.5

สาขากจิ กรรมบรกิ ารดา้ นอืน่ ๆ 702 0.8

ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด (Gross Provincial Products) 93,381

ผลิตภณั ฑจ์ ังหวัดเฉลี่ยต่อบุคคล (Per capita GPP, Baht) 191,306

จานวนประชากร (1,000 คน) 488

ทมี่ าของข้อมูล : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) สนง.คลังจังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ : รวบรวมและประมวลผล

การลงทุนภาคเอกชน ในปี 2563 (เดือนมกราคม – เมษายน) ขยายตัวร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบ
กับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยพิจารณาจากสินเช่ือเพ่ือการลงทุนในจังหวัด หดตัว ร้อยละ -0.7 เนื่องจาก
ผู้ประกอบการชะลอการลงทุนในหมวดยานยนต์เพอื่ การพาณิชย์ จากราคาน้ามันที่มแี นวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้
ด้านการลงทนุ ยงั คงซบเซา

ดา้ น ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
(มค. - เมย.)

การลงทุนภาคเอกชน 0.3 0.6 6.8 1.0

- ปรมิ าณสนิ เชื่อเพื่อการลงทนุ (%yoy) 0.3 0.7 6.9 0.6

- พน้ื ทข่ี ออนญุ าตกอ่ สร้างในเขตเทศบาล (%yoy) -21.2 29.9 -13.0 36.8
- จานวนรถยนต์เพื่อการพาณชิ ย์ (%yoy) 10.8 -20.0 4.7 -19.8

ที่มา : สานักงานคลังจังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๑๒

๓.๑.๓ ขอ้ มูลการวิเคราะหส์ ภาวะแวดล้อม และศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรม
- ทิศทางนโยบายการพัฒนาของจงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์
ตามแผนพัฒนาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนา

จังหวัดสู่การเป็น “เมืองท่องเท่ียวทรงคุณค่าระดับนานาชาติ เกษตรปลอดภัย ด่านสิงขรระเบียงเศรษฐกิจแห่ง
อนาคต สังคมผาสุกภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีตัวช้ีวัดความสาเร็จตามเป้าหมายการพัฒนา
จังหวัดเพ่ือสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การท่องเที่ยว เกษตร
อุตสาหกรรม และการค้าชายแดน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสร้างความม่ันคงทางสังคมให้ทั่วถึง
รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความมั่นคงบริเวณชายแดน และเพ่ืออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อมเพ่ือเปน็ ฐานการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื และมีประเดน็ การพัฒนาจงั หวัด ๕ ประเดน็ ดงั นี้

ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ เสริมสร้างความโดดเด่นด้านการท่องเท่ียวบนพื้นฐานเอกลักษณ์ของ
จงั หวัดสนู่ านาชาติ

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๒ เสริมสร้างนวัตกรรมกระบวนการผลิต การแปรรูป และการตลาดเป็น
สินค้าเกษตรคุณภาพสงู

ประเด็นการพัฒนาที่ ๓ ยกระดับศักยภาพด่านสิงขร สร้างการเติบโตการค้า การลงทุน การท่องเท่ียว
เชอื่ มตอ่ ประเทศตา่ ง ๆ ในภมู ิภาค

ประเด็นการพัฒนาที่ ๔ เสริมสร้างความมั่นคงและสังคมคุณภาพตามวิถีหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๕ ยกระดับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเพ่ือให้
เกดิ ความสมดลุ และยั่งยืน

- การวเิ คราะห์บรบิ ททเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัด
(๑) การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในองค์กร (Internal Factors) จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์
จดุ แข็ง (Strength: S)
S๑. มีแหล่งท่องเท่ียวและนันทนาการ หลากหลายประเภทและมีส่ิงอานวยความ

สะดวกรองรบั อตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี ว ได้เปน็ อยา่ งดี
S๒. เป็นแหลง่ ผลติ และแปรรปู สบั ปะรดและมะพรา้ วท่ีสาคญั ของประเทศและของโลก
S๓. เปน็ แหลง่ ปศสุ ตั ว์ทีส่ าคญั ของประเทศ
S๔. มีอตุ สาหกรรมเหล็กใหญท่ ่สี ดุ ของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
S๕. มจี ดุ ผอ่ นปรนทางการคา้ ชายแดน (ดา่ นสิงขร) ทม่ี ศี กั ยภาพ
S๖. การเปิดให้บริการเรือเฟอร์รี่ข้ามฟากระดับภูมิภาคตะวันออกจากเมืองพัทยาสู่

อาเภอหวั หิน
S๗ โครงการรถไฟทางคู่ท่ีเชอ่ื มโยงจงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ทัง้ ดา้ นเหนือและด้านใต้
S๘ มที ่าเรอื นา้ ลกึ พาณิชย์สากลรองรบั การขนส่งทางเรือ

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๑๓

จดุ ออ่ น (Weakness: W)
W๑. มีถนนเพชรเกษมเปน็ ถนนสายหลกั เพียงสายเดียว ขาดถนนสายรองท่เี ป็นคูข่ นาน
สาหรับเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์โครงข่ายคมนาคมเพื่อรองรับการขยายตัวของการค้า การลงทุน การท่องเท่ียว
ในอนาคต รวมทงั้ ปัญหาความแออัดของการสัญจร
W๒. จังหวัดมีพ้ืนที่ยาวมาก ทาให้เป็นอุปสรรคสาหรับตัดสินใจลงทุนและ
การดาเนนิ งานของโรงงานในพน้ื ที่ เนื่องจากอาจมตี ้นทนุ ดา้ นโลจสิ ติกส์สูง
W๓. แหล่งทอ่ งเที่ยวอนื่ ๆ ในจังหวัดท่ีมศี ักยภาพนอกเหนอื จากหวั หิน ยังไม่เป็นท่ีรู้จัก
อย่างแพรห่ ลายแกน่ กั ท่องเทย่ี ว การให้บริการในแหลง่ ท่องเท่ียวนอกจากหัวหินยงั ไมเ่ ปน็ มืออาชพี
W๔. ขาดความสามารถในการบริหารจัดการ การขบั เคล่อื นงาน และขาดการบูรณาการ
ระหว่างหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องท้งั ภาครัฐ องคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ภาคประชาชน ในเรือ่ งระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน
การพัฒนายกระดับสนิ ค้า OTOP

W๕. ประชาชนขาดการพัฒนาการเรียนรู้ และใช้ไอทีให้เป็นประโยชน์เนื่องจาก
ขาดการสง่ เสริมและให้บรกิ ารด้านระบบอนิ เตอรเ์ น็ตสาธารณะ

W๖. วัตถุดิบด้านการเกษตร เช่นสับปะรด ยางพารา และปาล์มน้ามัน มีปัญหาราคา
ผลผลติ ผันผวน เน่ืองจากปัญหาภัยธรรมชาติหรอื การเกิดโรคระบาดและแมลงศตั รพู ชื

W๗. ขาดการพัฒนาด้านระบบมาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเกษตรแปรรูป
เพอื่ ยกระดบั สินคา้ รองรบั การเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วคุณภาพตอบสนองการบริโภค

W๘. เกษตรบางส่วนยังไม่พร้อมเข้าสู่ระบบเกษตรปลอดภัยเนื่องจากปัญหาความ
เขา้ ใจและปญั หาดา้ นงบประมาณ

(๒) การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (External Factors) การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ

วฒั นธรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรม ส่ิงแวดลอ้ ม และผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี
โอกาส (Opportunity: O)
O๑. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเท่ียวชายฝ่ังทะเลอ่าวไทย Royal Coast และ
กาหนดเขตพนื้ ทีพ่ เิ ศษเพ่ือการทอ่ งเทย่ี วอย่างยง่ั ยนื ระหว่างเมอื งหวั หิน ชะอา และพืน้ ทเ่ี ชอื่ มโยง
O๒. อาหารและเคร่ืองดื่มเป็นอุตสาหกรรมท่ีขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันและ
อนาคต แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 กาหนดให้พัฒนาการเกษตรสูค่ วามเป็นเลศิ ด้านอาหาร
O๓. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 เนน้ การเชื่อมโยงท้ังภาค และ
ภูมภิ าคมกี ลไกการพัฒนาจงั หวดั และกลุ่มจงั หวดั ความรว่ มมือภมู ภิ าค อนภุ ูมภิ าค และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
O๔. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์
(MICE) ซึ่งการท่องเทยี่ วเชงิ ธุรกจิ ของกลมุ่ ไมซ์ ซ่งึ ใช้จ่ายมากกวา่ นักทอ่ งเที่ยวทว่ั ไปถงึ 3 เทา่
O๕. นโยบายด้านเกษตรปลอดภัยเป็นการช่วยสร้างโอกาสให้ผลผลิตทางการเกษตร
และเกษตรอตุ สาหกรรมของไทยให้มมี ลู ค่าเพ่มิ เปน็ ท่แี พร่หลายในตลาดโลกมากขน้ึ
O๖. หน่วยงานภาครัฐให้การส่งเสริมการปลูกพชื ในระบบปลอดภยั จึงเปน็ โอกาสในการ
สร้างมลู คา่ เพิม่
O๗. กรมส่งเสริมการเกษตรให้การส่งเสริมแก่เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการ
ปลกู พืชในระบบ GAP และเกษตรอินทรยี ์ จงึ เปน็ โอกาสในการสร้างมลู ค่าเพิ่ม

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๑๔

อุปสรรค (Threat: T)
T๑. ขาดศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาสนู่ วตั กรรมภาคอุตสาหกรรม
T๒. ภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุทกภัยและภยั แล้งท่ีเกดิ ข้ึนบ่อยครัง้ และ
มีความรนุ แรงมากข้นึ ส่งผลกระทบตอ่ ภาคการผลิตและวถิ ีการดารงชีวติ ของคนไทย
T๓. ค่านยิ มทางการศกึ ษาทีส่ ว่ นใหญม่ งุ่ เนน้ สู่ความต้องการของตลาดสากล
T๔. โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงเข้าสกู่ ารเปน็ สังคมสงู วัย
T๕. แรงงานในพน้ื ทบ่ี างสว่ นยงั ขาดทักษะฝมี อื แรงงาน
T๖. ปัญหาขยะฯ ท่มี แี นวโนม้ เพิ่มขึน้ และขาดการจดั การท่ีเหมาะสม

(๓) TOWS Matrix

ทศิ ทางเชิงรกุ (SO) ทศิ ทางเชิงแกไ้ ข (WO)

1. ขยายฐานการท่องเที่ยว การค้า เพื่อเป็นประตูสู่ 1. จัดทาโครงการด้านการบริหารจัดการโลจิสติกส์และ

ภาคใต้ และประเทศเมียนมา รวมถึงข้ามอ่าวไทยไป ขนส่ง โครงข่ายคมนาคมเพ่ือรองรับการขยายตัวของ

ภมู ิภาคตะวนั ออก และรองรับอตุ สาหกรรมไมซ์ (MICE) การค้า การลงทุน เช่น outsourcing, subcontract

2. เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น โดยการยกระดับ 2. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเท่ียว และงานแสดงต่าง ๆ

การท่องเที่ยว โดยใช้จุดแข็งโครงสร้างพื้ น ฐาน ให้มากข้ึนและต่อเนื่องเพื่อดึงดูดนักท่องเท่ียวรวมถึงการ

ทางด้านโลจิสตกิ ส์ และเรอื่ งทาเลทตี่ งั้ พั ฒ น าแห ล่งท่ องเที่ ยว และส ร้างความน่ าสน ใจ

3. พัฒนาสินค้าทางการเกษตร และเกษตรแปรรูปให้มี นอกเหนือจากอาเภอหวั หิน

คุณภาพและได้มาตรฐาน GAP และเกษตรอินทรีย์เป็น 3. เพิ่มมูลค่าและส่งเสริมสินค้ามาตรฐาน GAP และ

โอกาสในการสรา้ งมูลค่าเพิม่ และการสง่ ออก เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับสินค้ารองรับการเป็นแหล่ง

4. พัฒนาแหล่งผลิตและแปรรูป เช่นมะพร้าวและ ท่องเที่ยวคุณภาพตอบสนองการบรโิ ภค

สับปะรด ต้ังแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้าให้ได้รับ 4. ยกระดับของเกษตรกรและวิสาหกจิ ชุมชนทงั้ ผลิตภัณฑ์

รองมาตรฐานทงั้ หว่ งโซ่อปุ ทาน และบรรจุภัณฑ์ให้มีมาตรฐานโดยให้ความรู้ทางวิชาการ

อย่างเป็นระบบตอ่ เนอ่ื ง

ทิศทางเชงิ ปอ้ งกัน (ST) ทศิ ทางเชิงรับ (WT)

1. พัฒนาศักยภาพของประชากรในพ้ืนที่ให้เป็นแรงงาน 1. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและระบบมาตรฐานของ

ฝีมือท้ังด้านเกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมเหล็ก และงาน อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพื่อ

บริการเพ่ือก่อให้เกดิ การจา้ งงานในพน้ื ท่ี ยกระดับสินค้า และบริการในการรองรับการเป็นแหล่ง

2. สง่ เสริมและสนบั สนุนการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยี ท่องเที่ยวคุณภาพ ตอบสนองการบริโภคโดยพัฒนาความ

ที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาสินค้าด้านเกษตรแปรรูป เจริญในทุกพ้ืนท่ีให้เท่าเทยี มกนั สนับสนนุ ใช้ประโยชน์จาก

ให้มีมูลค่าเพ่มิ ขน้ึ ทุกหว่ งโซอ่ ปุ ทาน ไอที ซ่ึงจะช่วยลดต้นทุนการบริหารจัดการ และเวลาใน

3. ยกระดับพัฒนาระบบการศึกษาให้มีความเหมาะสม การเดนิ ทาง

และสอดคล้องกับความต้องการของจังหวัด รวมถึง 2. จดั ต้ังศนู ย์วิจยั และพฒั นานวัตกรรมภาคอตุ สาหกรรมเพื่อ
ศึกษาและเตรียมความพร้อมต่อโครงสร้างประชากร สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนาอย่าง
เปล่ียนแปลงเข้าสู่การเปน็ สงั คมสูงวยั
ครบวงจรอย่างจริงจังต่อเนอ่ื งและเข้าถึงไดง้ ่ายในทุกระดับชน้ั

3. จัดทาโครงการด้านการบริหารจัดการขยะอยา่ งถูกต้อง

ให้กับสถานประกอบการและชุมชนในท้องถ่ิน รวมถึง

ดาเนินมาตรการป้องกันและกาจัดขยะอย่างเข้มงวดเป็น

รปู ธรรม

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๑๕

(๔) ความคาดหวงั ของผู้รับบริการ
๑. การให้ความรู้กับเร่ืองอุตสาหกรรมสีเขียว กับสถานประกอบการเจ้าหน้าที่ภาครัฐ

ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากยังขาดความเข้าใจในรายละเอียด จึงมีความ
เสีย่ งในการปฏบิ ตั ิ อาจเป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาได้

๒. การบูรณาการ การท่องเท่ียว การเกษตร อุตสาหกรรม ให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือสร้าง
มูลค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกจิ ในจังหวัด

๓. การพัฒนาแรงงานมีทักษะในพื้นท่ีให้ตรงกับภาคอุตสาหกรรม โดยสร้างแรงจูงใจ
อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานไทยที่มีทักษะ เยาวชนไม่ให้ความสาคัญกับภาคการผลิต
โด ย ค ว ร มี ร ะ บ บ ก า ร ด า เนิ น ก า ร อ ย่ า ง เร่ ง ด่ ว น เนื่ อ ง จ า ก ปั จ จุ บั น ยั ง ต้ อ ง พ่ึ ง พ า แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว อ ย่ า ง ม า ก
ภาคอุตสาหกรรมต้องการการวางแผนล่วงหน้า กรณีการโยกย้ายถิ่นฐานกลับภูมิลาเนาของแรงงานต่างด้าว ซ่ึงอาจ
เกิดข้ึนได้ในอนาคต

๔. ปัญหาขยะ มลภาวะของจังหวัดที่เกิดจากการท่องเท่ียว การเกษตร และสถาน
ประกอบการในพื้นที่ ควรมีการให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการ และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาจัดการปัญหา
ดา้ นน้อี ยา่ งจริงจงั

๓.๒ สาระสาคัญของแผนปฏบิ ัติการด้านการพฒั นาอตุ สาหกรรม จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ปี ๒๕๖5

๓.๒.๑ วิสัยทัศน์
“ยกระดับอุตสาหกรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ให้ได้มาตรฐาน พัฒนาด้วยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ธรรมาภิบาล
สิ่งแวดล้อมเพอ่ื ชุมชนสมั พนั ธ์”

๓.๒.๒ พนั ธกจิ
๑. บูรณาการทุกภาคส่วนเพ่ือดาเนินตามยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมให้สัมฤทธ์ิผลรวมทั้ง
ติดตามและประเมินผลอย่างตอ่ เน่อื ง
๒. สง่ เสรมิ พัฒนาอตุ สาหกรรมของจังหวดั ให้เป็นอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์
๓. กากับดูแลสถานประกอบการอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ให้มีการพัฒนาอย่างสมดุลและย่ังยืนเป็น
มิตรกบั สิง่ แวดล้อม
๔. สร้างมาตรฐานด้านสุขลกั ษณะส่วนบุคคลเพือ่ ความปลอดภยั ในสถานประกอบการ

๓.๒.๓ แนวทางการพฒั นา เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วดั และค่าเป้าหมาย กลยทุ ธ์ โครงการ

1) แนวทางการพฒั นาดา้ นที่ 1 การเสริมสรา้ งศกั ยภาพของธรุ กจิ อตุ สาหกรรม

• เปา้ ประสงค์
เพ่อื ส่งเสริมสถานประกอบการให้มีศักยภาพในภาคอุตสาหกรรม เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจใน

อนาคต โดยการประยกุ ต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพ่อื พฒั นาผลติ ภัณฑ์ ให้สามารถแขง่ ขันในระดับ
สากลไดใ้ นอนาคต

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๑๖

• ตัวชว้ี ัด คา่ เปา้ หมาย

ตวั ชี้วัด หนว่ ยนบั ค่าเปา้ หมาย
2563 2564 2565
1. สถานประกอบการมกี ารพฒั นาผลิตภณั ฑโ์ ดยใช้นวัตกรรมใหม่ ราย
ร้อยละ 567
2. ร้อยละของจานวนสถานประกอบการท่ีได้รับการพัฒนามี 5 10 10
ผลิตภาพเพ่มิ ข้นึ ราย
5 10 10
3. จานวนสถานประกอบการไดร้ บั รองมาตรฐานเพิ่มข้ึน

• กลยทุ ธ์ / โครงการ

กลยทุ ธ์ โครงการ หนว่ ย : ลา้ นบาท
ปีงบประมาณ
กลยทุ ธท์ ่ี ๑ • โครงการส่งเสรมิ พฒั นาและสร้าง 2563 2564 2565
สนบั สนนุ สถาน มาตรฐานอุตสาหกรรมในจังหวัดใหเ้ ปน็ ที่ 111
ประกอบการให้ได้การ ยอมรับสรู่ ะดบั สากล
รบั รองมาตรฐานสากล 111
• โครงการพฒั นาสถานประกอบการใน 111
กลยทุ ธท์ ี่ ๒ การเพ่ิมผลผลติ และลดต้นทุน
สง่ เสริมใหส้ ถาน • โครงการสง่ เสรมิ นวตั กรรมอุตสาหกรรม 111
ประกอบการจัดทา เกษตรแปรรปู ดา้ นนวตั กรรม เพอ่ื สรา้ ง
โครงการเพิ่มผลผลิตและ มูลคา่ 111
ลดต้นทุน
• โครงการพัฒนาสถานประกอบการ จาก
กลยทุ ธท์ ่ี ๓ ระดบั ชมุ ชนไปสรู่ ะดบั SMEs
สง่ เสริมสถานประกอบการ • โครงการจบั คู่ทางธุรกจิ ในจงั หวัด
อุตสาหกรรมใหม้ ศี ักยภาพ ประจวบคีรีขันธ์
โดยใชว้ ทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม
เพอื่ พัฒนาผลิตภณั ฑ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๑๗

2) แนวทางการพัฒนาด้านที่ 2 การเสรมิ สร้างและพัฒนาอุตสาหกรรมใหเ้ ป็นมติ รกับสงั คม
และส่ิงแวดล้อม

• เป้าประสงค์
เพื่อส่งเสริมและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับภาคอุตสาหกรรม และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

ในการบริหารจดั การให้เปน็ มติ รกบั สังคมและสิ่งแวดล้อม นาไปสู่การพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน

• ตวั ช้วี ัด ค่าเป้าหมาย

ตวั ช้ีวัด หนว่ ยนับ ค่าเปา้ หมาย
ราย 2563 2564 2565
1. สถานประกอบการได้รับความรดู้ ้านการบริหาร 25 30 30
จัดการขยะ ราย
10 15 20
2. สถานประกอบการมีการจัดทาระบบมาตรฐาน
การจัดการส่ิงแวดล้อม หรือมาตรฐานท่ีเกีย่ วข้อง

• กลยทุ ธ์ / โครงการ

กลยทุ ธ์ โครงการ หนว่ ย : ล้านบาท
ปีงบประมาณ
กลยทุ ธท์ ี่ ๑ 2563 2564 2565
111
ส่งเสริมผู้ประกอบการให้มี • โครงการใหค้ วามรู้ผู้ประกอบการเพ่ือ
การพฒั นากระบวนการผลิต สรา้ งมาตรฐานและผลติ ภณั ฑ์ที่เป็นมิตร 111
และผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นมิตร กบั ชุมชนและสง่ิ แวดลอ้ ม
กับชุมชนและส่งิ แวดลอ้ ม • โครงการพฒั นารปู แบบและเอกลกั ษณ์ 111
111
ของผลติ ภณั ฑ์ เชื่อมโยงกับภูมปิ ญั ญา
111
ทอ้ งถน่ิ โดยการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ น

กระบวนการผลติ

กลยทุ ธ์ที่ ๒ • โครงการการจัดทามาตรฐานการจดั การ
สง่ เสริมใหส้ ถาน สิง่ แวดลอ้ ม
ประกอบการมีการจดั ทา
มาตรฐานการจัดการ • โครงการเสรมิ สรา้ งความรู้เกย่ี วกบั การ
สิ่งแวดล้อม จัดการขยะและของเสยี จากอุตสาหกรรม
ที่เกย่ี วเน่ืองในการผลติ ของสถาน
ประกอบการ

• โครงการเชือ่ มโยงการทอ่ งเทย่ี วเชงิ นิเวศ
กบั อตุ สาหกรรมในท้องถ่นิ

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๑๘

3) แนวทางการพัฒนาด้านท่ี 3 การพัฒนาสมรรถนะองค์กร เพือ่ ใหบ้ รกิ ารอย่างมคี ณุ ภาพ

• เป้าประสงค์
เพ่อื สง่ เสริมพัฒนาขอ้ มูล ระบบภายในองค์กรและความสามารถของบคุ ลากรในการ

ให้บริการแก่ผปู้ ระกอบการ และประชาชนอย่างมีประสิทธภิ าพและสามารถรองรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต

• ตวั ชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ค่าเปา้ หมาย
% 2563 2564 2565
ตวั ชว้ี ดั 85 85 85

- ผูร้ บั บริการมีความพึงพอใจในคุณภาพการใหบ้ ริการของ
หน่วยงาน (%)

• กลยุทธ์ / โครงการ

กลยุทธ์ โครงการ หนว่ ย : ลา้ นบาท
ปีงบประมาณ
กลยทุ ธ์ที่ ๑ • โครงการจัดต้ังศูนยร์ ะบบฐานข้อมลู 2563 2564 2565
ปรับปรุงกระบวนการ บริการเร่ืองของการลงทนุ การขอใช้ 654
ปฏิบัตงิ าน จัดหา บรกิ ารจากภาครัฐและเอกชน และแหล่ง
ทรัพยากรให้เหมาะสม ท่องเทย่ี วในจงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ 654
พฒั นาเครื่องมือและ • โครงการจัดตั้งสถาบันรับรองมาตรฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ สินค้าการเกษตรของจงั หวัด 433
ใหบ้ ริการอยา่ งมี ประจวบคีรีขนั ธ์
ประสิทธิภาพ 111
• โครงการศูนยร์ วบรวมและจัดจาหนา่ ย
กลยทุ ธ์ที่ ๒ สนิ ค้าอตุ สาหกรรม รองรับกจิ กรรม
สร้างภาพลักษณ์ การตลาดและการท่องเทยี่ ว
อตุ สาหกรรมให้เป็นที่
ยอมรบั ของชุมชนในการ • โครงการวางระบบโปรแกรมการจัดการ
ใหบ้ ริการอย่างมีคุณภาพ ทรัพยากรภายในองค์กร (ERP on cloud)
กลยุทธท์ ่ี ๓
สร้างกระบวนการรวบรวม
ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม
ของจงั หวดั
ประจวบคีรีขนั ธ์ เพ่ือ
เผยแพรส่ ่สู ากล

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๑๙

สว่ นที่ 4 ภาคผนวก
4.1 โครงการแบบยอ่ (1 ชุด : ๑ โครงการ)

๑. โครงการพฒั นานวัตกรรมในการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ มะพร้าว และสบั ปะรดให้ไดม้ าตรฐานสสู่ ากล

๑. ชอื่ โครงการ โครงการพฒั นานวัตกรรมในการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ มะพร้าว และ
๒. ความสาคญั ของโครงการ หลกั การและ สบั ปะรดให้ได้มาตรฐานส่สู ากล
เหตุผล
นวัตกรรมเกษตร คือองคป์ ระกอบสำคัญในกำรพัฒนำอตุ สำหกรรม
๓. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ กำรเกษตรและหว่ งโซ่อุปทำน โดยกำรแบบบรู ณำกำรวถิ เี กษตรเข้ำ
กับควำมก้ำวหนำ้ ทำงเทคโนโลยี และคำนึงถงึ ผลกระทบด้ำน
สิง่ แวดล้อม ทำให้กำรเกษตรสำมำรถขยำยตัวไดก้ ว้ำงข้นึ กำรนำ
นวตั กรรม ทำงกำรเกษตร มำใช้เป็นกลไกของกำรพฒั นำ
เศรษฐกจิ เพรำะเลง็ เห็นวำ่ กำรใช้เทคโนโลยีจะมีสว่ นสำคัญตอ่
กำรพัฒนำชนบทและลดควำมเหล่ือมล้ำทำงสงั คม เป็นเครื่องมือ
สำคัญที่จะชว่ ยใหก้ ำรทำเกษตรกรรมเกิดกำรเปลี่ยนแปลงและ
กลำยเป็นอตุ สำหกรรมทีย่ ่ังยืน

ดังนั้นกำรสง่ เสรมิ และสนับสนนุ อุตสำหกรรมพฒั นำนวัตกรรม
ในกำรแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ มะพรำ้ ว และสับปะรดของไทยไปสสู่ ำกล
และตอบรบั นโยบำยภำครัฐในดำ้ นทต่ี อ้ งกำรสร้ำงควำมสำมำรถใน
กำรแขง่ ขนั ของประเทศ โดยกำรบูรณำกำรวสิ ำหกิจขนำดกลำง
และขนำดย่อมใหไ้ ด้รบั กำรยกระดบั ศักยภำพเพอื่ เพม่ิ ขดี
ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั เพือ่ ให้มสี ัดสว่ นผลติ ภณั ฑ์มวลรวม
ภำยในประเทศของวิสำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดย่อมต่อ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศเพิ่มข้ึน แนวทำงในกำรยกระดบั
คณุ ภำพผลติ ภณั ฑท์ ่ีมะพร้ำว และสับปะรดในพืน้ ท่ีคือกำรกำหนด
มำตรฐำน ควบคมุ คุณภำพ และพฒั นำผลิตภณั ฑ์ทไี่ ด้มำตรฐำนเป็น
ทย่ี อมรบั ในระดับสำกลเพื่อสนับสนนุ กำรขยำยโอกำสส่เู ส้นทำง
ธุรกิจและเพ่ิมกำรสง่ ออก รวมถึงจำเป็นต้องสรำ้ งแบรนดพ์ รอ้ ม
จัดทำตรำสัญลักษณ์และแผนประชำสัมพนั ธ์มำตรฐำนของผลติ ภณั ฑ์

1. ยกระดบั การพฒั นานวัตกรรมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ มะพร้าว
และสับปะรด ของสถานประกอบการและวสิ าหกจิ ชมุ ชนในจังหวดั
ประจวบคีรขี ันธใ์ หไ้ ดม้ าตรฐานสากลและเป็นท่ียอมรับในการ
ส่งออก
2. วิจัยและพัฒนา นวัตกรรมด้วยการกำหนดมำตรฐำน ควบคุม
คุณภำพ และพัฒนำผลิตภัณฑ์ที่ได้มำตรฐำนเป็นท่ียอมรับในระดับ
สำกล
3. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และฉลากสร้างแบรนด์ จัดทาตรา
สัญลักษณ์ และแผนการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ
คดั เลือก

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๒๐

๔. ผลผลติ และผลลพั ธ์ของโครงการ 1. พัฒนานวัตกรรมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ มะพร้าว และ
สับปะรดของสถานประกอบการและวิสาหกิจชุมชนในจังหวัด
๕. ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จของโครงการ ประจวบครี ขี นั ธ์
2. การปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบมะพร้าวและสับปะรดในการผลิต
๖. ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นาจงั หวดั / ผลิตภัณฑ์ภัณฑ์ท่ีมีนัวตกรรมในการเข้าสู่การจัดทามาตรฐานของ
กลุ่มจงั หวดั ผลิตภณั ฑ์
๗. ระยะเวลา 3. สร้างแบรนด์ที่เป็นตัวบ่งช้ีถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์มะพร้าว
๘. กจิ กรรมท่สี าคัญ และสับปะรดพร้อมทั้งตราสัญลักษณ์ภายใต้มาตรฐานคุณภาพ
ผลิตภณั ฑจ์ งั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

1. มีการนานวัตกรรมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะพร้าว และ
สับปะรดที่มีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้มาก
ขน้ึ และมแี นวโนม้ ในการปรับปรงุ คุณภาพผลิตภณั ฑ์ให้ได้มาตรฐาน
2. ผู้ประกอบการตั้งแต่ระดับต้นน้า กลางน้า มีการปรับปรุง
คุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์มะพร้าวและสับปะรดในการผลิต
ผลิตภัณฑภ์ ัณฑ์ทีม่ นี วั ตกรรมในการเขา้ สกู่ ารจดั ทามาตรฐาน
3. ได้แบรนด์ ตราสัญลักษณ์ มะพร้าวและสับปะรดและแผน
ประชาสมั พนั ธผ์ ลิตภัณฑ์ทมี่ กี ารนานวัตกรรมมาใชใ้ นการแปรรปู

เสริมสรา้ งนวตั กรรมกระบวนการผลติ การแปรรปู และการตลาด
เปน็ สนิ คา้ เกษตรคณุ ภาพสงู

1 ตลุ าคม 2564 – 30 กันยายน 2565
1. สารวจสถานประกอบการและกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่ีแปรรูป
ผลิตภัณฑ์มะพร้าว และสับปะรดที่มีคุณภาพ และคัดเลือกเพื่อเข้า
รว่ มการพฒั นานวตั กรรมให้เกิดการยอมรับและสู่การสง่ ออก
2. การดาเนินการเตรียมความพร้อมสถานประกอบการและกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนทผี่ ่านการคัดเลอื กเพ่ือเขา้ รว่ มโครงการ
3. การดาเนินการพัฒนานวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ มะพร้าว
และสับปะรดท่ีมีคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้
มาตรฐาน
4. การจัดซื้อครภุ ณั ฑใ์ นงานวจิ ัย พฒั นา นวัตกรรม ตรวจวิเคราะห์
คุณภาพผลิตภัณฑจ์ ากการพัฒนา
5. สร้างแบรนด์ จัดทาตราสัญลักษณ์ และแผนการประชาสัมพันธ์
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ก า ร น า น วั ต ก ร ร ม ม า ใช้ ใน ก า ร แ ป ร รู ป จั ง ห วั ด
ประจวบครี ขี ันธ์
6. การพัฒนาการตรวจสอบผลิตภัณฑ์นวัตกรรมที่ผ่านการ
คดั เลอื ก
7. จัดหาวัสดุเพื่อการทดสอบผลิตภัณฑ์นวัตกรรมที่ผ่านการ
คดั เลอื กเพ่ือเปน็ มาตรฐานส่กู ารสง่ ออก

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๒๑

๙. งบประมาณ 8. จัดกิจกรรมสรุปผลการดาเนินงานพัฒนานวัตกรรมในการแปร
๑๐. ผรู้ บั ผดิ ชอบ รูปผลิตภัณฑ์มะพร้าว และสับปะรดและการคัดเลือกผลิตภัณฑ์
ดีเดน่ ระดบั จังหวดั ผลิตภัณฑ์ละ 3 ด้านๆ ละ 1 รายรวม 6 ราย
9. จัดกิจกรรมแสดงผลงานการพัฒนานวัตกรรมในการแปรรูป
ผลิตภัณฑม์ ะพรา้ ว และสับปะรดระดบั จงั หวัดจานวน 2 วนั
10. การประชุมสรปุ ผลการดาเนนิ โครงการ

9,500,000 บาท

สานักงานอตุ สาหกรรมจังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าท่ี ๒๒

๒. โครงการส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์

๑. ช่ือโครงการ โครงการสง่ เสริมการท่องเทย่ี วเชงิ สร้างสรรค์ จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์
๒. ความสาคัญของโครงการ หลกั การและ
เหตผุ ล กำรท่องเที่ยวเชิงสร้ำงสรรค์ (Creative Tourism) เป็นรูปแบบกำร
ทอ่ งเท่ยี วท่ีเปดิ โอกำสให้นักท่องเท่ียวหรือผูม้ ำเยือนได้พฒั นำหรือ
๓. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ไดใ้ ชศ้ ักยภำพหรือควำมสำมำรถด้ำนแนวคิดสร้ำงสรรคข์ อง
นักท่องเทีย่ วเองเข้ำไปมีสว่ นร่วมในวิถีทำงและประสบกำรณ์เรียนรู้
๔. ผลผลิต และผลลัพธข์ องโครงการ กับผู้คนในพ้ืนที่ ซึง่ เป็นส่งิ ท่ีทำกันอยูเ่ ป็นประจำของผู้คนในแหลง่
ท่องเทยี่ วนัน้ ๆ โดยทีน่ ักท่องเทยี่ วอำสำเข้ำไปทำหรือเขำ้ ไปมสี ว่ น
ร่วมดว้ ย
กำรท่องเที่ยวเชงิ สร้ำงสรรค์ (Creative Tourism) นบั วนั จะถูก
นำมำสร้ำงกระแสให้มีบทบำทในกำรสร้ำงรำยไดท้ ำงเศรษฐกจิ
ใหก้ บั ประเทศทวั่ โลกมำกย่ิงข้ึน และในประเทศไทยไดน้ ำมำ
กำหนดเปน็ นโยบำยของรฐั บำล ซงึ่ กลำ่ วถึงเศรษฐกิจเชิงสร้ำงสรรค์
ที่มจี ดุ ประสงค์จะสร้ำงมลู ค่ำจำกสง่ิ ท่มี ีอยู่และมุ่งเน้นในกำรสร้ำง
คณุ คำ่ มรดกทำงวฒั นธรรมและวิถชี ีวิตทนี่ ักท่องเทยี่ วสำมำรถมี
ส่วนร่วมและสร้ำงประสบกำรณใ์ หม่ท่ีไดร้ บั จำกกำรเดนิ ทำง
ท่องเทยี่ วในแหลง่ ตำ่ ง ๆ ผำ่ นรปู แบบกำรบริหำรจัดกำรท่องเทีย่ ว
โดยชุมชน
1. เพื่อกำรท่องเท่ียวทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทำงกำรพฒั นำชมุ ชนที่
เก่ยี วข้องให้เกิดควำมย่ังยืนในกำรดำเนนิ ชีวิตของชมุ ชนโดยกำรจัด
กิจกรรมกำรท่องเทีย่ วอย่ำงกลมกลืน
2. เพ่อื ใหเ้ กดิ กจิ กรรมทีม่ ีควำมสัมพนั ธก์ ับประวัติศำสตร์ วฒั นธรรม
ตลอดจนวถิ ชี ีวิตชมุ ชนในเชงิ กำรเรยี นรู้ กำรทดลอง เพื่อให้ไดม้ ำซงึ่
ประสบกำรณจ์ ำกสงิ่ ที่มีอย่แู ละเป็นจริงในชมุ ชนนนั้ ๆ
3. เพ่อื ใหเ้ กิดกำรทอ่ งเทีย่ วเชิงสรำ้ งสรรค์เป็นกำรทอ่ งเท่ียวทีเ่ นน้ กำร
เรียนรใู้ นเรือ่ งศลิ ปะ วฒั นธรรม เอกลักษณ์ทอ้ งถน่ิ หรอื สถำนท่ีโดยผำ่ น
ประสบกำรณ์ตรงในกำรมสี ว่ นรว่ มกับเจ้ำของวัฒนธรรมนนั้ ๆ

1. แหล่งท่องเท่ียวได้รับกำรพัฒนำและจัดทำมำตรฐำนให้
สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำชุมชนท่ีเกี่ยวข้องให้เกิดควำม
ยั่งยืนในกำรดำเนินชีวิตของชุมชนโดยกำรจัดกิจ กรรมกำร
ท่องเทยี่ วอย่ำงกลมกลืน
2. มีกำรจัดทำคู่มือมำตรฐำนกำรท่องเที่ยวเชิงสร้ำงสรรค์
(Creative Tourism) ของแต่ละพ้ืนที่รวมถึงมีกำรประชำสัมพันธ์
แล ะจั ด ท ำเอ ก ส ำรพ ร้อ ม สื่ อ ใน ก ำรป ระช ำสั ม พั น ธ์แ น ะ น ำ ก ำ ร
ทอ่ งเท่ียวเชงิ สร้ำงสรรค์ (Creative Tourism) ของแต่ละพ้ืนที่
3. แหลง่ ท่องเทยี่ วท่เี ขำ้ ร่วมโครงกำรมกี ิจกรรมทีม่ คี วำมสมั พันธก์ ับ
ประวัติศำสตร์ วฒั นธรรม ตลอดจนวถิ ชี ีวติ ชมุ ชนในเชิงกำรเรียนรู้ กำร
ทดลอง เพอ่ื ให้ไดม้ ำซ่ึงประสบกำรณจ์ ำกส่ิงท่ีมีอยู่และเปน็ จรงิ ในชุมชน
นนั้ ๆ

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๒๓

๕. ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จของโครงการ 1. เกิดแหล่งท่องเทีย่ วที่สอดคลอ้ งกบั แนวทำงกำรพัฒนำชมุ ชนท่ี
เก่ียวข้องให้เกิดควำมยั่งยนื ในกำรดำเนินชวี ติ ของชุมชนโดยกำรจดั
กิจกรรมกำรทอ่ งเทย่ี วอย่ำงกลมกลนื
2. มกี จิ กรรมทีม่ ีควำมสมั พนั ธก์ บั ประวัติศำสตร์ วฒั นธรรม ตลอดจนวถิ ี
ชวี ติ ชุมชนในเชิงกำรเรียนรู้ กำรทดลอง เพ่อื ให้ได้มำซงึ่ ประสบกำรณ์
จำกสิง่ ทม่ี อี ย่แู ละเปน็ จริงในชุมชนนนั้ ๆ
3. เกดิ กำรทอ่ งเท่ยี วเชงิ สรำ้ งสรรคเ์ ป็นกำรท่องเท่ียวทเ่ี นน้ กำรเรียนรใู้ น
เร่อื งศิลปะ วฒั นธรรม เอกลักษณท์ อ้ งถิน่ หรอื สถำนทโ่ี ดยผำ่ น
ประสบกำรณ์ตรงในกำรมสี ว่ นรว่ มกับเจำ้ ของวฒั นธรรมน้นั ๆ

๖. ความเชอื่ มโยงกับแผนพัฒนาจงั หวดั / เสรมิ สรา้ งความโดดเด่นดา้ นการท่องเท่ียวบนพน้ื ฐานเอกลักษณ์

กลุ่มจงั หวดั ของจังหวดั สูน่ านาชาติ

๗. ระยะเวลา 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565
๘. กิจกรรมท่ีสาคญั
1. สำรวจแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว สินคำ้ หรอื บริกำรกำรท่องเท่ยี วรวมถงึ
ผู้ประกอบกำร และชุมชนในจังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์และคดั เลือก
เพอื่ เขำ้ รว่ มโครงกำร
2. กำรดำเนินกำรสมั ภำษณ์เชิงลกึ (In-depth interview) จำกผูท้ ี่
เกยี่ วข้องกับกำรท่องเทย่ี วในพ้ืนท่ีที่คัดเลอื กได้แก่ผปู้ ระกอบกำร
ธรุ กจิ ท่องเทย่ี ว คนพื้นท่ีในชุมชน นักวชิ ำกำรหน่วยงำนภำครฐั โดย
ใช้วิธีสำมเส้ำ
3. ศึกษำเอกสำรที่เกยี่ วข้องไดแ้ ก่เอกสำรและงำนวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั
กำรท่องเทย่ี วเชงิ สร้ำงสรรค์ รวมถึงเอกสำรอนื่ ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับกำร
พัฒนำแหลง่ ท่องเทยี่ วเพื่อวเิ ครำะหเ์ อกสำร (Document
analysis) หลังจำกนนั้ นำข้อมูลที่ได้มำวเิ ครำะหต์ ำมแนวทำงกำรวจิ ัย
เชิงคณุ ภำพด้วยวิธีกำรพรรณนำวิเครำะห์และนำเสนอผลกำรวิจยั และ
ขอ้ เสนอแนะ
4. ดำเนินกำรพัฒนำและจัดทำมำตรฐำน กำรท่องเท่ียวเชิง
สรำ้ งสรรค์ (Creative Tourism) ณ พ้นื ทีท่ ี่ทำกำรคดั เลือก
5. ติดตามผลกำรพัฒนำและจัดทำมำตรฐำนกำรท่องเที่ยวเชิง
สร้ำงสรรค์ (Creative Tourism) ณ พื้นทท่ี ่ีทำกำรคัดเลอื ก
6. คณะกรรมกำรและผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรท่องเท่ียวเชิงสร้ำงสรรค์
(Creative Tourism) ลงพ้ืนที่เพื่อประเมินและตรวจสอบผลกำร
จัดทำโครงกำร และใหค้ ำแนะนำเพม่ิ เติม
7. จัดทาคู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงสร้ำงสรรค์ (Creative
Tourism) ของแตล่ ะพนื้ ท่ี
8. ทาการประชาสัมพันธ์ และจัดทาเอกสารพร้อมส่ือในการ
ประชาสัมพันธ์แนะนากำรท่องเที่ยวเชิงสร้ำงสรรค์ (Creative
Tourism) ของแต่ละพ้ืนท่ี
9. การประชมุ สรุปผลการดาเนินโครงการ

๙. งบประมาณ 5,500,000 บาท

๑๐. ผ้รู บั ผิดชอบ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๒๔

๓. โครงกำรเพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพกำรผลติ ในภำคอุตสำหกรรมเพื่อทดแทนแรงงำนคนเข้ำสู่ industry 4.0

๑. ชือ่ โครงกำร โครงกำรเพ่ิมประสิทธภิ ำพกำรผลิตในภำคอตุ สำหกรรมเพ่ือ
๒. ควำมสำคัญของโครงกำร หลักกำรและ ทดแทนแรงงำนคนเข้ำสู่ industry 4.0
เหตผุ ล
กำรดำเนินธุรกิจในปัจจุบันต้องตอบสนองต่อควำมต้องกำรของ
๓. วตั ถุประสงค์ของโครงกำร ลกู ค้ำอย่ำงรวดเร็ว ประกอบกับกำรเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใน
ยุคดิจิทัล ส่งผลให้ธุรกิจต้องปรับตัวและก้ำวเข้ำสู่ยุคอุตสำหกรรม
4.0 (Industry 4.0) โดยกำรนำเทคโนโลยีดิจิทัล และระบบ
อนิ เตอร์เน็ตมำใช้ในกระบวนกำรทำงธุรกิจ และระบบกำรผลิต ทำ
ใหส้ ำมำรถส่อื สำรและแลกเปลยี่ นขอ้ มลู กนั ได้อยำ่ งอิสระ ทำใหเ้ กิด
ควำมรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ ซึ่งหลำยประเทศต่ำงตื่นตัวและ
ปรบั เข้ำสกู่ ำรพัฒนำอุตสำหกรรม 4.0 กนั แล้วรวมถึงประเทศไทยก็
ต้องปรับตัวเพ่ือยกระดับขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของ
ภำคอตุ สำหกรรมไทยในตลำดโลก

1. เพื่อให้ควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับอุตสำหกรรม 4.0 รวมถึง
แนวทำงกำรปรับตัวและกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใน
อตุ สำหกรรม 4.0
2. เพื่อให้เกิดแนวคิดในกำรพัฒนำธุรกิจและกำรผลิตของสถำน
ประกอบกำรไปสอู่ ุตสำหกรรม 4.0
3. เพ่ือเสริมสร้ำงศักยภำพของภำคอุตสำหกรรมในจังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์เพือ่ กำรเตรยี มพร้อมสอู่ ุตสำหกรรม 4.0

๔. ผลผลติ และผลลพั ธ์ของโครงกำร 1. สถำนประกอบกำรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับอุตสำหกรรม
๕. ตัวชว้ี ัดควำมสำเรจ็ ของโครงกำร 4.0 รวมถึงแนวทำงกำรปรับตัวและกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ดิจิทลั ในอตุ สำหกรรม 4.0

2. สถำนประกอบกำรเกิดแนวคดิ ในกำรพัฒนำธรุ กจิ และกำรผลิต
ของสถำนประกอบกำรไปสอู่ ตุ สำหกรรม 4.0
3. ส ถ ำน ป ระ ก อ บ ก ำรมี ก ำร เส ริม ส ร้ำงศั ก ย ภ ำพ ข อ ง
ภำคอุตสำหกรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เพื่อกำรเตรียมพร้อมสู่
อุตสำหกรรม 4.0

1. สถำนป ระกอบ กำรมี กำรป ระยุกต์ใช้เท คโนโลยีดิจิทั ล
อุตสำหกรรม 4.0 ในกำรดำเนนิ ธุรกิจ

2. สถำนประกอบกำรเกิดกำรพัฒนำธุรกิจและกำรผลิตสำมำรถ
เพม่ิ ผลผลติ ลดตน้ ทนุ หรอื เพิม่ ศักยภำพในกำรดำเนินธรุ กจิ ได้

๖. ควำมเชื่อมโยงกับแผนพฒั นำจังหวดั / เสรมิ สรา้ งนวตั กรรมกระบวนการผลิต การแปรรูป และการตลาด
กล่มุ จงั หวัด เปน็ สินค้าเกษตรคณุ ภาพสงู

๗. ระยะเวลำ 1 พฤศจิกำยน 2564 – 30 มิถุนำยน 2565

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๒๕

๘. กิจกรรมท่สี ำคญั 1. จดั สัมมนำชแี้ จงโครงกำรแก่ เจำ้ หนำ้ ที่ ผทู้ เ่ี ก่ยี วข้อง
ผู้ประกอบกำรวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม (SME)
๙. งบประมำณ วสิ ำหกจิ ชมุ ชนท่มี ีศกั ยภำพ และรบั สมัครผเู้ ข้ำร่วมโครงกำร
๑๐. ผู้รบั ผิดชอบ 2. จำ้ งเหมำบคุ คลภำยนอกในกำรฝกึ อบรมและใหค้ ำปรกึ ษำ
แนะนำ
3. ศึกษำดงู ำน Smart Factory ท่ปี ระสบควำมสำเร็จในกำร
ดำเนนิ ธุรกจิ แบบอุตสำหกรรม 4.0
4. ตดิ ตำมประเมินผลและรำยงำนผล
5. กำรประชุมสรปุ ผลกำรดำเนินโครงกำร

2,500,000 บำท

สำนักงำนอตุ สำหกรรมจงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าท่ี ๒๖

4.2 ความเชื่อมโยงแผนปฏิบัติราชการ อก. แผนปฏิบัติราชการ สปอ. และแผนปฏิบัติการ
ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565

แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 3 แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 3 ปี แผนพัฒนาจงั หวดั แผนปฏิบัติการ

ปี (พ.ศ. ๒๕63 - ๒565) (พ.ศ. ๒๕63 - ๒565) ของ ปี 2561 – 2565 ด้านการพัฒนา

ของ อก. สปอ. อตุ สาหกรรมจังหวัด

ประจวบคีรขี ันธ์ ปี 2565

วิสัยทัศน์ ปฏิรปู อตุ สาหกรรมสู่ 4.0 ภาคอุตสาหกรรมมผี ลติ ภาพ เมอื งทอ่ งเทย่ี วทรงคุณค่า ยกระดบั อตุ สาหกรรม
เพ่ิมมูลค่าเศรษฐกจิ ปัจจัยการผลิตรวมเพ่มิ ขนึ้ ระดบั นานาชาติ เกษตร เกษตรแปรรปู มะพรา้ ว
ร้อยละ 2.5 ภายในปี 2565 ปลอดภยั ดา่ นสิงขร และสบั ปะรด บูรณาการสู่
อตุ สาหกรรมของไทย ให้ ระเบียงเศรษฐกจิ แห่ง มาตรฐานสากล ต่อยอด
เติบโตไม่น้อยกว่าร้อยละ อนาคต สังคมผาสุกภายใต้ นวัตกรรม เทคโนโลยี ที่
4.6 ภายในปี 2565 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ เป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม

พอเพยี ง

ประเด็นการ ัพฒนา ประเ ็ดนการ ัพฒนา ประเ ็ดนการ ัพฒนา ประเด็นการ ัพฒนา ด้าน ี่ท 1 การเสรมิ สรา้ งศักยภาพ การผลักดันและบูรณาการ เสริมสร้างความโดดเด่น การเสริมสรา้ งศักยภาพ
ของภาคอตุ สาหกรรมให้ นโยบายและแผน ด้านการท่องเท่ยี วบน ของธรุ กจิ อุตสาหกรรม
ให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ พน้ื ฐานเอกลักษณ์ของ
เตบิ โตและเขม้ แข็ง จังหวัดส่นู านาชาติ

ด้านท่ี 2 การพฒั นาปจั จัยสนบั สนุน การเสรมิ สร้างศักยภาพของ เสริมสร้างนวตั กรรม การเสรมิ สร้างและพฒั นา
ใหเ้ ออื้ ต่อการลงทุน ธุรกิจอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต การแปร อตุ สาหกรรมใหเ้ ป็นมติ ร
และการพฒั นา กบั สงั คมและสิง่ แวดล้อม
อุตสาหกรรม รูป และการตลาดเปน็
สินคา้ เกษตรคุณภาพสงู

ยกระดับศักยภาพดา่ น

ด้านที่ 3 การส่งเสรมิ และพัฒนา การสง่ เสรมิ และพฒั นา สงิ ขร สรา้ งการเตบิ โต การพฒั นาสมรรถนะ
อตุ สาหกรรมใหเ้ ปน็ มิตร อุตสาหกรรมใหเ้ ป็นมติ รกบั
กบั สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม การคา้ การลงทุน การ องค์กร เพื่อใหบ้ รกิ ารอยา่ ง
สังคมและส่ิงแวดล้อม
ทอ่ งเทยี่ ว เชื่อมต่อประเทศ มคี ณุ ภาพ

ตา่ ง ๆ ในภูมภิ าค

ด้าน ี่ท 4 การพัฒนาสมรรถนะ การพฒั นาสมรรถนะองค์กร ยกระดับการบรหิ ารจดั การ
องค์กรเพื่อให้บริการอยา่ ง เพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ มเพื่อใหเ้ กิด
มีคุณภาพ ความสมดลุ และย่ังยืน

4.3 ขอ้ มลู สรุปผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ สอจ. ตามแผนพฒั นา
จังหวัด

ไม่มีผลการดาเนนิ งาน เนอ่ื งจากไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากจงั หวดั

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๒๗

4.4 ข้อมูลสรุปผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ สอจ. ตามแผน
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาอุตสาหกรรมจงั หวดั พ.ศ. 2563

1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสับปะรดด้วยนวัตกรรม จานวน 400,000 บาท ผลการ
เบิกจ่ายงบประมาณแบ่งเป็น ค่าจ้างที่ปรึกษา วงเงินตามสัญญาจ้างจานวน 395,000 บาท และค่าติดตาม
โครงการฯ จานวน 5,000 บาท รวมผลการเบิกจ่ายงบประมาณท้งั สนิ้ 399,950 บาท คงเหลือ 50 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 99.99 ของงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร โดยได้ดาเนินการจัดจ้างบริษัท เวิร์คพริ้นท์ จากัด เป็นท่ีปรึกษา
ดาเนินโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสบั ปะรดด้วยนวัตกรรม ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามสัญญาจ้างที่ปรึกษา สัญญา
เลขท่ี406/2563 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 วงเงินตามสัญญาจ้างจานวน 395,000 บาท (สามแสนเก้า
หมื่นห้าพันบาทถ้วน) ระยะเวลาดาเนินการ 120 วัน นับถัดจากวันลงนามสัญญาจ้าง (28 พฤษภาคม 2563 –
24 กันยายน 2563) ดาเนินการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม่จากสับปะรดพร้อมบรรจุภัณฑ์ต้นแบบ ให้กบั ผ้ปู ระกอบการที่
เข้าร่วมโครงการฯ จานวน 5 ราย/5 ผลติ ภัณฑ์ ผลการดาเนนิ การดังนี้

ลาดบั ท่ี ชอ่ื /ที่อยู่สถานประกอบการ ผลติ ภัณฑเ์ ดิม ผลติ ภณั ฑ์ทพ่ี ัฒนา
ขนมปงั ชสี เชค คุกกสี้ บั ปะรด
1 กลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรร่องแกว้ นา้ สับปะรด พุดดงิ้ สับปะรด

2 วสิ าหกิจชุมชนกล่มุ พฒั นาบทบาทสตรีบ้าน สบูส่ บั ปะรด มาสก์ชีทสบั ปะรด
หนองปุหลก
สบั ปะรดผลสด สบั ปะรดตดั แตง่
3 วสิ าหกิจชมุ ชนกลุม่ ตน้ กลา้ อาชพี แปรรูป พร้อมบรโิ ภค
เครอื่ งสาอางบา้ นรวมไทย ปลาทูอบสับปะรด น้าตม้ สม้ สบั ปะรด

4 กลุม่ เครือขา่ ยสับปะรดสยามโกลด์จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์

5 บรษิ ัท เพ่ิมทรัพย์บญุ ทวี จากัด

1. กลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกรร่องแก้ว ผลติ ภณั ฑ์ใหม่ บรรจุภัณฑ์ใหม่
ผลติ ภณั ฑ์เดมิ

2. วิสาหกิจชมุ ชนกลมุ่ พฒั นาบทบาทสตรีบา้ นหนองปุหลก

ผลิตภัณฑเ์ ดิม ผลิตภณั ฑใ์ หม่ บรรจุภณั ฑใ์ หม่

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าท่ี ๒๘

3. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มต้นกลา้ อาชีพแปรรูปเครื่องสาอางบ้านรวมไทย

ผลติ ภณั ฑ์เดมิ และบรรจภุ ัณฑเ์ ดมิ ผลติ ภณั ฑ์ใหม่และบรรจุภัณฑ์ใหม่

4. กลมุ่ เครือข่ายสับปะรดสยามโกลดจ์ งั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

ผลิตภณั ฑเ์ ดมิ และบรรจุภัณฑเ์ ดมิ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่และบรรจภุ ณั ฑ์ใหม่

5. บริษทั เพม่ิ ทรพั ยบ์ ุญทวี จากัด ผลิตภัณฑ์ใหม่และบรรจภุ ัณฑใ์ หม่
ผลิตภณั ฑ์เดมิ และบรรจภุ ัณฑ์เดิม

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๒๙

2. ด้วยสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับอนุมัติให้ดาเนินโครงการแปรรูป
มะพร้าวครบวงจรสู่สินค้ามูลค่าสูง (High Value) งบประมาณกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 รวมงบประมาณท้ังส้ิน 6,575,200 บาท (หกล้านห้าแสนเจ็ดหม่ืนห้าพันสองร้อยบาท
ถ้วน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะพร้าวให้เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยใช้นวัตกรรม
เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม และเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าสูง (High Value) ตรงกับความต้องการของตลาด ให้กับ
ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี หรือวสิ าหกิจชมุ ชนท่ีเป็นนิติบุคคล (ผู้ประกอบการเกีย่ วกับแปรรูปมะพรา้ ว) จานวน 50 ราย
ในพื้นทจี่ ังหวดั สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ โดยเป็นการรว่ มบูรณาการดาเนนิ โครงการ

โดยสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้คัดเลือกผู้ประกอบการเข้ากิจกรรม
พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์มะพร้าวด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสู่สินค้ามูลค่าสูง (High Value) จานวน 3 ราย และ
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการมะพร้าวเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบมาตรฐานสากล จานวน 10
กจิ การ โดยมรี ายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

กจิ กรรมพฒั นาต่อยอดผลิตภัณฑ์มะพรา้ วด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยสี ู่สินคา้ มูลคา่ สูง (High Value) จานวน 3 ราย

ลาดับท่ี ชื่อสกุล- หนว่ ยงานทีอ่ ยู่/ นวัตกรรมใหม่

1 นางสาวอารมย์ สุจริตรกั ษ์ บริษัท แสงอรุณโคโคนัทออยล์ จากดั นา้ มนั สาหรับปรงุ อาหาร ลด

171/1 ม 3.ต.แสงอรุณ อ.ทบั สะแก กลน่ิ หนื ของมะพร้าว

จ.ประจวบฯ

2 นางพริ าวรรณ์ โยเอนเซ่น บรษิ ทั ทรอปิคอล นูทริชนั่ จากัด คุ้กก้ีทูเล่มะพร้าวโปรตนี สูง

568/1 ม.6 ถ.นิคมสรา้ งตนเอง ต.อ่าวนอ้ ย

อ.เมอื ง จ.ประจวบฯ

3 นายพีรยุทธ วิเทศ บริษทั โคโค่ 1965 จากดั ไอศกรมี กินแล้วได้สขุ ภาพ

368 ม.5 ต.ทบั ใต้ อ.หัวหนิ จ.ประจวบฯ

กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพัฒนาผปู้ ระกอบการมะพร้าวเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสรู่ ะบบมาตรฐานสากล จานวน 10 กิจการ

ลาดบั ช่ือสกุล- หนว่ ยงานทอี่ ยู่/ มาตรฐานที่
ท่ี ตอ้ งการ
1 นายปิยะณัฐ เกียงประสทิ ธ์ิ บรษิ ัท สยามฟรุ๊ตการเ์ ดน้ จากดั Fssc 2200
2 นางสาวจิฎากาญจน์ ย่งิ ยวดวราธรณ์ 22 ม.11 ต.หาดขาม อ.กุยบรุ ี จ.ประจวบฯ
ห้างหุ้นสว่ นจากัด ฟวิ สโ์ คโคนทั ดอทคอม GMP CODEX
3 นางเสาวรส สรุ ิยะฉันทนานนท์ 66/66 ม.5 ถ.เพชรเกษม ต.ทบั สะแก อ.ทับสะแก V.4
จ.ประจวบฯ
4 นางชุติมาศ ชูพินจิ สกลุ วงค์ บริษัท กะลาใส จากัด GMP CODEX
5 นายภูสิต องอาจ 10/1 ม.2 ถ.เพชรเกษม ต.แสงอรุณ อ.ทบั สะแก V.4
6 นางกาญจนา ศภุ านสุ นธิ์ จ.ประจวบฯ
บรษิ ัท พี.บี.โคโคนทั จากดั GMP CODEX
54/2 ถ.เพชรเกษม ต.ประจวบฯ อ.เมือง จ.ประจวบฯ V.4
หา้ งหุ้นสว่ นจากัด โคโค่ เวิร์คส์
64/2 ม.6 ต.กาเนดิ นพคุณ อ.บางสะพาน จ.ประจวบฯ GMP CODEX
หา้ งหุ้นสว่ นจากดั มะพรา้ วอินเตอร์ฟู้ด V.4
9/9 ม.9 ถ.เพชรเกษม ต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก
จ.ประจวบฯ GMP CODEX
V.5

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ที่ ๓๐

7 นางสาวพัชนี ชัยณรา บรษิ ทั โคโคบ่ ิวตีเ้ นเชอรลั โปรดักส์ จากัด GMP CODEX
46/3 ม.2 ถ.เพชรเกษม ต.คลองวาฬ อ.เมืองฯ V.4
8 นายเกรียงศักด์ิ นิยมไทย จ.ประจวบฯ
9 นางสาวฉันทนา แซ่ล้มิ GMP CODEX
10 นายพรี ะพงษ์ โตขลบิ บริษัท เยยี รบบั จากดั V.5
77 ม.7 ต.บอ่ นอก อ.เมืองฯ จ.ประจวบฯ
GMP CODEX
ห้างหุน้ ส่วนจากัด ทับสะแกโคโค่ V.4
130/13 ม.9 ต.ทบั สะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบฯ
GMP CODEX
บริษทั ไทยมะพรา้ วกะทิ จากัด V.5
105 ม.5 ต.แสงอรุณ อ.ทับสะแก จ.ประจวบฯ

ภาพประกอบลงพนื้ ที่ให้คาปรึกษาเชิงลึกกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผปู้ ระกอบการมะพรา้ วเพ่ือเตรียมความ
พรอ้ มเข้าส่รู ะบบมาตรฐานสากล โครงการแปรรูปมะพร้าวครบวงจรสู่สนิ ค้ามูลค่าสงู (High Value)

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๓๑

3. ด้วยสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ ดาเนินงานโครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของเกษตรอุตสาหกรรม และขับเคล่ือน
ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม เพ่ือพัฒนาวิสาหกิจสู่ตลาด 4.0 (OPOAI + Mini ITC) ภายใต้กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตาม
แนวประชารัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 งบประมาณจานวน 4,355,700 บาท (ส่ีลา้ นสามแสนห้าหม่ืนห้า
พันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของสถานประกอบการ
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อุตสาหกรรมกลุ่มที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการปรับปรงุกิจการ ให้สามารถ
แก้ไขปัญหา/เพิ่มประสิทธิภาพ/ลดต้นทุนการผลติ ได้อย่างยั่งยืนในด้านต่าง ๆ และพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์
ต้นแบบให้กับสถานประกอบการเกษตรอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
ผลิตภัณฑ์นาไปสู่การขยายช่องทางการตลาดแบบดิจิทัล จานวน 50 กิจการ ดาเนินการในพ้ืนที่ 12 จังหวัด
ประกอบด้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนนทบุรี สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานี สานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด
สมุทรสงคราม จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา และจงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หนา้ ท่ี ๓๒

4. โครงการยกระดับเศรษฐกิจฐานชุมชน (Local Economy) สานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ร่วมกับ Big Brother ได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กองการผลิตโรงไฟฟ้า
สรุ าษฎรธ์ านี (โรงไฟฟา้ พลังงานแสงอาทติ ย์ทบั สะแก) ดาเนนิ การ

- ส่งเสริมงานวิจัยกระบวนการผลิตกะลามะพร้าวอัดแผ่นสาเร็จรูป เพ่ือส่งเสริมอาชีพให้
ชุมชนตลอดจนสนับสนุนเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ พร้อมจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านนวัตกรรมเครื่องจักรในการผลิต
กะลามะพร้าวอัดแผ่น ให้แก่หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์บ้านทุ่งประดู่ ซึ่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
กองการผลิตโรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี (โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแก) ดาเนินงานร่วมกับมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ดาเนินการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดความรู้ในการข้ึนรูปวัสดุทดแทนไม้
จากกะลามะพร้าวแก่หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์บ้านทุ่งประดู่ ณ อาคารควบคุมกลางโรงไฟฟ้าพลังงาน
แสงอาทิตยท์ ับสะแก ตาบลนาหูกวาง อาเภอทับสะแก จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๓๓

ภาพกิจกรรมการประชุมสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการ
จดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการพฒั นาอตุ สาหกรรมจังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ปี 2565
วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ หอ้ งทองนพคุณ โรงแรมประจวบแกรนด์ อ.เมือง จ.ประจวบคีรขี ันธ์

**************************

แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2565 หน้าที่ ๓๔


Click to View FlipBook Version